เทศบาลต าบลบ้านหลวง มีหมู่บ้านในความรับผิดชอบ จ านวน 19 หมู่บ้าน • บ้านขุนยะ หมู่ที่ 5 • บ้านป่าแขม หมู่ที่ 6 • บ้านขุนกลาง หมู่ที่ 7 • บ้านผาหมอน หมู่ที่ 8 • บ้านเมืองอาง หมู่ที่ 9 • บ้านแม่หอย หมู่ที่ 10 • บ้านเมืองกลาง หมู่ที่ 11 • บ้านหัวเสือ หมู่ที่ 12 • บ้านน ้าลัด หมู่ที่ 13 • บ้านปะ หมู่ที่ 14 • บ้านแม่ปอน หมู่ที่ 15 • บ้านตาดมื่น หมู่ที่ 16 • บ้านอ่างกาน้อย หมู่ที่ 17 • บ้านแม่ยะน้อย หมู่ที่ 18 • บ้านห้วยเฮี๊ยะ หมู่ที่ 19 • บ้านน ้าตกแม่กลาง หมู่ที่ 20 • บ้านกู่ฮ่อสามัคคี หมู่ที่ 21 • บ้านหนองหล่ม หมู่ที่ 22 • บ้านใหม่ห้วยเฮี๊ยะ หมู่ที่ 23 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567
วารสารประจ าเดือน เทศบาลต าบลบ้านหลวง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567
สารบัญ 05 เทศบาลต าบลบ้านหลวง โครงสร้างส่วนราชการเทศบาลต าบลบ้านหลวง ท าเนียบคณะบริหาร ท าเนียบสภาเทศบาล หัวหน้าส่วนราชการ ประวัติความเป็นมา เทศบาลต าบลบ้านหลวง ภาพกิจกรรม ผลการด าเนินงาน คุณภาพชีวิตและสังคม ท่องเที่ยว ท้องถิ่น รายการรับ-จ่าย 06 07 08 09 10 12 24 28 32 11 สภาพทั่วไป เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567
ตามที่กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดตั้งองค์การบริหารส่วนต าบลบ้านหลวง ขึ้นเป็นเทศบาลต าบลบ้านหลวง ตั้งแต่วันที่ 27 พฤษภาคม 2552 โดยเป็นเทศบาล ขนาดเล็กได้ก าหนดโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายในและการจัดระบบงาน รองรับภารกิจตามอ านาจหน้าที่ความรับผิดชอบออกเป็น 5 ส่วน ได้แก่ ส านักปลัด กองคลัง กองช่าง กองการศึกษา และกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม มีกรอบ อัตราก าลังทั้งสิ้น 28 อัตรา โดยได้ก าหนดต าแหน่งในสายงานต่างๆจ านวนต าแหน่ง และระดับต าแหน่งให้มีความเหมาะสมกับภาระหน้าที่ความรับผิดชอบปริมาณงาน คุณภาพงาน และเพื่อให้สามารถแก้ปัญหาของเทศบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตามที่นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวงได้แถลงนโยบายการบริหารราชการของ เทศบาลต าบลบ้านหลวงต่อสภาเทศบาลต าบลบ้านหลวงซึ่งได้ก าหนดนโยบายในการ บริหารเทศบาลต าบลบ้านหลวงรวม 3 ด้าน ดังนี้ 1. นโยบายผู้บริหาร เรื่อง นโยบายคุณธรรมละความโปร่งใส 2. นโยบายด้านทรัพยากรบุคคล 3. นโยบายด้านการป้องกันทุจริต เทศบาลต าบลบ้านหลวง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567
โครงสร้างส่วนราชการ เทศบาลต าบลบ้านหลวง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567
คณ ะผู้บริหาร เทศบาลต าบลบ้านหลวง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567
สมาชิกสภา เทศบาลต าบลบ้านหลวง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567
เทศบาลต าบลบ้านหลวง นายยุทธนา ค ามงคล หัวหน้าส่วนราชการ เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567
ปร ะวัติความ เป็นมา “เทศบาลต าบลบ้านหลวง” วิสัยทัศน์ (V ISION) กินอิ่ม นอนอุ ่น ชุมฉำ ่นำ ้ท่ำ ท่องเท่ียวพัฒนำ ผืนป่ำเขียวขจี เศรษฐกิจดีแบบพอเพียง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนพฤษภาคม 2567 ภาพกิจกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์กรุณา ใจใส พร้อมคณะผู้นักวิจัยและผู้ประเมินภาคสนาม ในการประเมินเพื่อคัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ประเภทโดดเด่น ของเทศบาลต าบลบ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่พร้อมทั้งมีการน าเสนอข้อมูลนวัตกรรมโครงการ ร่วมรักษ์ ผืนป่า แก้ปัญหาที่ดิน อินทนนท์ครอบครัวเดียวกัน (InthanonSmart living) ณ เทศบาลต าบลบ้านหลวง โดยมีนายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์ (นายกเทศมนตรีต าบล บ้านหลวง) พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร, สมาชิกสภาเทศบาล,ข้าราชการ, ก านันต าบล บ้านหลวง, ผู้น าชุมชนต าบลบ้านหลวง พนักงานเจ้าหน้าที่เทศบาล เเละภาคี เครือข่ายของเทศบาลต าบลบ้านหลวงทุกท่านที่เกี่ยวข้องกับการรับการคัดเลือก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดีประเภททั่วไป ประจ าปี2567 ร่วมให้การต้อนรับคณะอนุกรรมการฯ ทั้งนี้ได้รับเกียรติจาก นายศักดิ์วิทยา ธฤติธนเกียรติ(ปลัดอ าเภอ หัวหน้ากลุ่มงานบริหารปกครอง รักษาราชการแทน นายอ าเภอจอมทอง) เข้าร่วมการตรวจประเมินคัดเลือกองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดีประเภทโดดเด่น เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567 ประเมินภาคสนาม ในการประเมินเพื่อคัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีการบริหารจัดการที่ดีประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ประเภทโดดเด่น
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนพฤษภาคม 2567 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567 นายยุทธนา ค ามงคล (ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม) พร้อมเจ้าหน้าที่กอง สาธารณสุขฯ ลงพื้นที่ติดตามเรื่องร้องเรียนจากปัญหากลิ่นเหม็นขี้ไก่ของชาวบ้าน หมู่ที่10 บ้านแม่หอย และ เรื่องน ้าซึมลงข้างบ้าน หมู่ที่14 บ้านปะ พร้อมด าเนินการให้ ค าแนะน าเบื้องต้น เทศบาลต าบลบ้านหลวง โดยงานพัฒนาชุมชน จัดกิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุ กุหลาบหลวง ในโครงการส่งเสริมกิจกรรมศูนย์พัฒนาและฟ้นื ฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และคนพิการ (กิจกรรมหลักโภชนาการและการใช้ยาในวัยผู้สูงอายุ) ณ วัดน ้าต้อง ม.10 บ้านเเม่หอย ต.บ้านหลวง โดยได้รับเกียรติจากเภสัชกร เเล ะ นัก โภชนาการ โรงพยาบาลจอมทอง ร่วมบรรยายให้ความรู้เเก่นักเรียนผู้สูงอายุ ติดตามเรื่องร้องเรียนจากปัญหากลิ่นเหม ็ นขี้ไก่และ เรื่องน ้าซึมลงข้างบ้าน
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนพฤษภาคม 2567 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567 กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม โดยนายยุทธนา ค ามงคล(ผู้อ านวยการกอง สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม) และเจ้าหน้าที่ควบคุมโรค ลงพื้นที่ออกพ่นสารเคมีเพื่อ ป้องกันโรคไข้เลือดออกก่อนเปิดเรียน ณ โรงเรียนบ้านเมืองอาง และศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กบ้านป่าแขม เทศบาลต าบลบ้านหลวง โดยนางสาวกัญฐ์ธมล ดวงวิโรจน์(รองปลัดเทศบาล) เเละเจ้าหน้าที่กองคลัง งานจัดเก็บรายได้ลงพื้นที่เก็บค่าภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง และค่าธรรมเนียมขยะ ณ บ้านผาหมอน หมู่ 8 ต.บ้านหลวง
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนพฤษภาคม 2567 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567 นายสมชาย ดวงเดช(ประธานสภาเทศบาลต าบลบ้านหลวง) เป็นประธานเปิดการ ประชุมสภาเทศบาลต าบลบ้านหลวง สมัยสามัญ สมัย 2 ครั้งที่1 ประจ าปี พ.ศ. 2567 โดยมีวาระพิจารณาในที่ประชุม ดังนี้ 1. แนะน าพนักงานเทศบาลโอน (ย้าย) มารับราชการ จ านวน1 ราย 2.. การอบรมและศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกลุ่มองค์กร 3. ร่วมพิธีอันเชิญน ้าศักดิ์สิทธิ์จากบ่อน ้าศักดิ์สิทธิ์ณ อ่างกาหลวง อุทยานแห่งชาติ ดอยอินทนนท์ อ าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ 4. การขออนุญาตใช้พื้นที่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ(ป่าจอมทอง) เพื่อใช้ประโยชน์ใน การเป็นพื้นที่ทิ้งขยะมูลฝอย 5. การประกวดเพื่อรับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประเภทโดดเด่น ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 6. การเข้าตรวจสอบการคลัง การเงิน การบัญชี และการพัสดุองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ประชุมสภาเทศบาลต าบลบ้านหลวง สมัยสามัญ สมัย 2 ครั้งที่1 ประจ าปี พ.ศ. 2567
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนพฤษภาคม 2567 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567 เทศบาลต าบลบ้านหลวง โดยนายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีต าบล บ้านหลวง) ประธานกองทุน / นายอภิสิทธิ์ยลละออ(ปลัดเทศบาล) กรรมการและ เลขานุการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะกรรมการกองทุน ร่วมประชุมคณะกรรมการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลต าบลบ้านหลวง ครั้งที่3 ประจ าปี 2567 พร้อม มอบป้ายรับรองมาตรฐาน สุขาภิบาลอาหาร สถานที่จ าหน่ายอาหาร (ป้ายSAN) ให้แก่ ร้านอาหารที่ผ่านมาตรฐาน ตามโครงการในแผนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าปีงบประมาณ 2567 ณ ห้องประชุมชั้น 2 เทศบาล ต าบลบ้านหลวง ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาล ต าบลบ้านหลวง ครั้งที่3 ประจ าปี 2567
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนพฤษภาคม 2567 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567 เทศบาลต าบลบ้านหลวง โดยนายยุทธนา ค ามงคล (ผอ.กองสาธารณสุขและ สิ่งแวดล้อม) / นางสาวพิมพ์ศา วสุสิริธันย์ (หน.ฝ่ายบริหารงานสาธารณสุข) พร้อม เจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขฯ และเจ้าหน้าที่กองช่าง ลงพื้นที่ติดตามเรื่องร้องเรียนกลิ่น ขี้ไก่หมู่ที่10 และ เรื่องน ้าซึม/ต้นไม้รุกล ้าเขตบ้าน หมู่ที่14 ต าบลบ้านหลวง เทศบาลต าบลบ้านหลวง โดยนายศรีหมื่น จอมนที(รองนายกเทศมนตรี) / นส.กัฐ์ธมล ดวงวิโรจน์(รองปลัดเทศบาล) พร้อมด้วยหน.ส านักปลัดเทศบาล / หน. ฝ่ายอ านวยการ / หน.ฝ่ายปกครอง เเละเจ้าหน้าที่เทศบาล ร่วมพิธีเจริญพุทธมนต์ อธิษฐานจิตบูรณะบ่อน ้าศักดิ์สิทธิ์อ่างกาดอยอินทนนท์ณ ที่ท าการยอดดอยอิน ทนนท์เพื่อบูรณะบ่อน ้าศักดิ์สิทธิ์เตรียมงานพระราชพิธีตักน ้าในเดือนกรกฎาคม 2567 พิธีเจริญพุทธมนต์อธิษฐานจิตบูรณะบ่อน ้าศักดิ์สิทธิ์อ่างกาดอยอินทนนท์
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนพฤษภาคม 2567 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567 เทศบาลต าบลบ้านหลวง น าโดยนายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีต าบล บ้านหลวง) คณะผู้บริหาร หัวหน้าส่วนราชการ ครู ข้าราชการเทศบาลต าบลบ้านหลวง ร่วมพิธีรับพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีณ ห้องประชุม ชั้น2 เทศบาลต าบลบ้านหลวง เทศบาลต าบลบ้านหลวง โดยงานพัฒนาชุมชน และกองสาธารณสุขเเละสิ่ง เเวดล้อม ร่วมประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับจังหวัด(พชอ.) ณ ห้อง ประชุมกุหลาบหลวง โรงพยาบาลจอมทอง โดยมีนายวรวิทย์ชัยสวัสดิ์(รอง ผวจ. เชียงใหม่) เป็นประธานในการประชุม พิ ธีรับพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนพฤษภาคม 2567 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567 เทศบาลต าบลบ้านหลวง จัดโครงการอบรมและศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ กลุ่มองค์กร โดยมีนายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) เป็น ประธานในการเปิดโครงการ ซึ่งรายละเอียดการการบรรยายให้ความรู้ได้เเก่ 1.ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดท าแผนและประสานแผนพัฒนาพื้นที่ในระดับ อ าเภอและต าบล พ.ศ. 2562 และ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดท า แผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่3) พ.ศ. 2561 2.หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3.การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล (หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี) 4.การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม โครงการอบรมและศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกลุ่มองค์กร
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนพฤษภาคม 2567 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567 เทศบาลต าบลบ้านหลวง โดยนายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีต าบล บ้านหลวง) มอบหมายให้ นางเกศร สุกัน(ผอ.กองคลัง) พร้อมด้วยพนักงานเจ้าหน้าที่ เทศบาลต าบลบ้านหลวง จัดกิจกรรมจิตอาสา "รวมพลังสร้างสัปปยะสู่วัด้วยวิถี 5ส (Big Cleaning Day)" ณ วัดน ้าต้อง ม.10 บ้านเเม่หอย เเละ วัดน ้าลัด ม.13 บ้าน น ้าลัด ตามโครงการวัด ประขา รัฐ สร้างสุข ทั่วประเทศ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระขนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรม วงศานวงศ์ ประจ าปี พ.ศ.2567 กิจกรรมจิตอาสา "รวมพลังสร้างสัปปยะสู่วัด้วยวิถี 5ส (Big Cleaning Day)"
ภาพกิจกรรม ผลการด าเนินงานกู้ชีพ- ป้องกันฯ เทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนพฤษภาคม 2567 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567 งานป้องกันเเละสาธารณภัย ทต.บ้านหลวง ได้รับแจ้งเหตุต้นไม้ใหญ่ล้มทับร้านค้า ชาวบ้านตรงตลาดปากาเกอญอบ้านสบแอบ เป็นเหตุให้ร้านค้าได้รับความเสียหาย เบื้องต้นทีมงานป้องกันฯได้เร่งด าเนินการลงพื้นที่เพื่อตรวจสอบและท าการ ช่วยเหลือพื้นที่ดังกล่าว เทศบาลต าบลบ้านหลวง ได้รับเเจ้งเหตุต้นไม้ล้มทับบ้านพักบาทหลวง บ้านแม่ ปอน หมู่ที่15 ต.บ้านหลวง หลังได้รับเเจ้งเหตุจึงได้มอบหมายให้เจ้าหน้าที่งาน ป้องกันเเละบรรเทาสาธารณภัย ทต.บ้านหลวง เข้าตัดไม้และเคลื่อนย้ายไม้ที่ทับ ถัด มา เมื่อเวลา 6.41 น. เทศบาลต าบลบ้านหลวง ได้รับเเจ้งผ่านช่องทางติดต่อ LINE Official เทศบาลต าบลบ้านหลวง เหตุต้นไม้ใหญ่ในวัดหักขวางถนน วัดโบสถ์หมู่ที่ 12 ต.บ้านหลวง หลังได้รับเเจ้งเหตุจึงได้ประสานงานให้เจ้าหน้าที่งานป้องกันเเละ บรรเทาสาธารณภัย ทต.บ้านหลวง เข้าตรวจสอบเเละช่วยเหลือตัดไม้และเคลื่อนย้าย ไม้ที่กักขวางถนน เหตุดังกล่าว
ผลการด าเนินงานกู้ชีพ- ป้องกันฯ เทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนพฤษภาคม 2567 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567 เทศบาลต าบลบ้านหลวง โดยงานกู้ชีพ-ป้องกันฯ ทต.บ้านหลวง ได้รับแจ้งมีเหตุ คนจมน ้าสูญหายหลังลงน ้าไปหาปลา ขณะฝนตกและมีน ้าทะลักล้นฝายกั้นน ้าบริเวณ ประตูระบายน ้า ท าให้ถูกกระแสน ้าพัดจมหายไป บริเวณหน้าฝายเหมืองหลวง ทราบชื่อผู้สูญหาย คือ นายวิทูรย์ศรีนุ อายุ 47 ปีอยู่บ้านเลขที่143 หมู่ 11 บ้านเมืองกลาง หลังรับแจ้งเหตุจึงได้ด าเนินการให้เจ้าหน้าที่กู้ชีพ-ป้องกันฯลงพื้นที่ เข้าตรวจสอบค้นหาผู้สูญหาย ร่วมกับ ชุดกู้ชีพอินทนนท์, ชุดตอบโต้ภัยพิบัติ , ปกครองอ าเภอจอมทอง ,ผู้น าชุมชนหลายหมู่บ้าน ชาวบ้านในระแวกใกล้เคียง รวมถึงชุดนักประดาน ้า, เทศบาลต าบลจอมทองที่สนับสนุนรถแมคโค เเละหน่วยงาน หลายๆหน่วยงาน ได้กระจายก าลังท าการค้นหาผู้สูญหายตามจุดต่างๆเป็นเวลา 2 วัน จนกระทั่งเมื่อเวลาประมาณ 14.36น.ของวันนี้ได้รับแจ้งว่าได้พบร่างของผู้สูญ หายห่างจากจุดหน้าฝายประมาณ 2กม. จึงได้ท าการแจ้งให้แพทย์เวร รพ.จอมทอง และ ร้อยเวร30 สภ.จอมทองทองทราบ เพื่อท าการชันสูตรศพในขั้นต่อไป
ผลการด าเนินงานกู้ชีพ- ป้องกันฯ เทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนพฤษภาคม 2567 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567 เทศบาลต าบลบ้านหลวง โดยงานกู้ชีพ-ป้องกันฯ ทต.บ้านหลววง ร่วมกับ หน่วย กู้ชีพอินทนนท์ รพ.สต. บ้านเมืองกลาง ช่วยงานฌาปนกิจศพของนายวิทูรย์ศรีนุ (คนจมน ้าสูญหายหลังลงน ้าไปหาปลา ฝายเหมืองหลวงบ้านเมืองกลาง) ณ ป่าช้า บ้านเมืองกลาง ซึ่งเทศบาลต าบลบ้านหลวง ขอไว้อาลัยและร่วมส่งดวงวิญญาณผู้ล่วงลับไปสู่ สุคติสัมปรายภพ ด้วยความอาลัยยิ่งจากคณะผู้บริหาร สมาชิกสภาเทศบาล หัวหน้า ส่วนราชการ และเจ้าหน้าที่เทศบาลต าบลบ้านหลวง
คุณภาพชีวิต และ สังคม
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567 ผลส ารวจปี 67 ‘ปั ญหาสิ่งแวดล ้ อม-มลภาวะ’ ครองแชมป์คนไทยกังวลสุด ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตอย่างมากถึง 74% การส ารวจนี้จัดท าต่อเนื่องทุกปีตั้งแต่ปี2562 โดยสอบถามประชาชนไทยเกี่ยวกับ "5 อันดับแรกของความกังวลต่อสาธารณะ" โดยผลการส ารวจล่าสุดในปี 2567 มี ผู้ตอบแบบสอบถาม จ านวน 1,000 คน ในเดือนเมษายน 2567 พบว่า สิ่งแวดล้อม ยังคงติดอันดับสิ่งที่คนไทยกังวลมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 30 ของผู้ตอบ แบบสอบถาม รองลงมาคือเรื่องของค่าครองชีพ คิดเป็นร้อยละ 28 ของผู้ตอบ แบบสอบถาม ซึ่งทั้งสองหัวข้อนี้ก็เป็นสิ่งที่คนไทยกังวลมากที่สุดจากการส ารวจในปี 2566 เช่นกัน โดยการส ารวจนี้อยู่ในบริบทที่เกี่ยวกับความกังวลหลักๆ ของ ประชาชนที่มีต่อประเทศ ซึ่งรวมถึงการทุจริตคอร์รัปชั่นของหน่วยงานรัฐ, งาน สาธารณสุข, การจราจร, อาชญากรรมและสภาพเศรษฐกิจโดยรวม จากผลส ารวจปี 2567 ชี้ให้เห็นว่าความกังวลของคนไทยด้านสิ่งแวดล้อมยังทวี ความรุนแรงขึ้น สูงถึงร้อยละ 74 และรู้สึกว่า สิ่งแวดล้อมส่งผลกระทบอย่างมากต่อ คุณภาพชีวิต ซึ่งเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 62 ในปี 2565 ยิ่งไปกว่านั้น ประชาชนร้อยละ 37 ยังมีความกังวลอีกว่า สภาพแวดล้อมจะเลวร้ายลงไปอีกในอีก 5 ปีข้างหน้า
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567 แม้จะมีความกังวล แต่กลับพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่ได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง ขณะที่พฤติกรรมที่ร่วมกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่ พบมากที่สุด คือ ไม่สนับสนุนการซื้อขาย/บริโภคสินค้าของป่า ของลักลอบหรือผิด กฎหมาย (ร้อยละ 37) รองลงมาคือ การลดการใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน (ร้อยละ 34) และ การใช้ถุงและบรรจุภัณฑ์ที่สามารถน ากลับมาใช้ซ ้า (ร้อยละ 33) ผลส ารวจยังชี้ให้เห็นว่า ประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่ได้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังในการรักษาสิ่งแวดล้อม ซึ่งยังมี ช่องว่างให้รณรงค์และส่งเสริมให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างยั่งยืนต่อไป มร.แกรนท์บาร์โทลี่ประธานเจ้าหน้าที่บริหารมารเ์ก็ตบัซซ กล่าวว่า ในบรรดาความ กังวลของประชาชนนั้น ปัญหาสิ่งแวดล้อม และค่าครองชีพที่สูงขึ้นยังคงเป็นความ กังวลหลักของประเทศไทย แม้ว่าปัญหาสิ่งแวดล้อมจะครองอันดับหนึ่ง แต่การ เลือกใช้สินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในชีวิตประจ าวันกลับเป็นเรื่องที่ท้า ทายมากขึ้น ดังนั้นจึงต้องพยายามสร้างการเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกเพื่อให้ประชาชนมี วิถีชีวิตที่ยั่งยืนมากขึ้น ผลการส ารวจยังเผยว่า ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมมีความส าคัญมากขึ้นส าหรับ ภาคธุรกิจ โดยจะเห็นว่ามีบริษัทหรือองค์กรที่ให้ความร่วมมือและให้การสนับสนุนด้าน สิ่งแวดล้อมจ านวนมากขึ้น โดยในปีนี้มีถึง 4 บริษัทที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นองค์กร ที่ให้การสนับสนุนและมีส่วนร่วมเชิงบวกต่อสิ่งแวดล้อมในระดับเกินกว่า 40% ได้แก่ ทรู, ปตท, ซัมซุง และเอไอเอส มร.แกรนท์กล่าวเพิ่มเติมว่า "ผลส ารวจชี้ให้เห็นว่า คนไทยมีความคิดเห็นที่ หลากหลายเกี่ยวกับผู้รับผิดชอบหลักในการแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ประชาชน คาดหวัง ให้รัฐบาลมีบทบาทส าคัญ แต่ในขณะเดียวกัน ประชาชนเองก็มีความ รับผิดชอบร่วมด้วยเช่นกัน โดยคาดหวังให้ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตเพื่อช่วยรักษา สิ่งแวดล้อม สิ่งที่ชัดเจนคือ คนไทยต้องการเห็นการเปลี่ยนแปลงและพร้อมที่จะเป็น ส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงนั้น" ผลการส ารวจยังระบุว่า ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่คนไทยกังวลมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ภาวะโลกร้อน (ร้อยล ะ 30) มลภาว ะทางอากาศ (ร้อยล ะ 27) และการ เปลี่ยนแปลงของอากาศ/อุณหภูมิ (ร้อยละ 22) ส าหรับสาเหตุของปัญหามลภาวะทาง อากาศ คนไทยมีความเห็นที่หลากหลาย โดยสาเหตุ5 อันดับแรก ได้แก่ ควันจากท่อไอ เสียในการใช้รถยนต์ (ร้อยละ 30) การเผาขยะหรือผลิตผลทางการเกษตร (ร้อยละ 26) การใช้บรรจุภัณฑ์ที่ท าจากโฟมหรือพลาสติก (ร้อยละ 23) สารเคมีที่ใช้ในการก่อสร้าง รวมถึงฝุ่น ควันต่างๆ (ร้อยละ 22) และการเผาไหม้เชื้อเพลิง จากถ่านหิน น ้ามัน หรือ ก๊าซธรรมชาติ (ร้อยละ 21)
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567 ผศ.ดร.ปร ะภาภ รณ์ ติวยานนท์ มงคลวนิช คณบดีวิทยาลัย โลกคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กล่าวว่าเป็นเรื่องที่น่ายินดีที่คนไทยตระหนักถึงภัยคุกคาม จากภาวะโลกร้อน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และมลภาวะต่อชีวิตที่พวกเรา ก าลังเผชิญมากขึ้น แม้ว่าต้องเผชิญกับความท้าทายอื่นๆ อีกมากมายก็ตาม งานวิจัย ส่วนใหญ่ของวิทยาลัยโลกคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จะมุ่งเน้นไปที่การท า ความเข้าใจ ความท้าทายต่างๆ ผ่านสาขาวิชาที่หลากหลายและมุ่งเน้นให้ความรู้และ ปลูกฝังจิตส านึกด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนให้กับนักศึกษา ซึ่งจะเป็นผู้น าใน อนาคตของประเทศไทย ให้พวกเขามีส่วนร่วมในการรณรงค์และผลักดันเรื่อง สิ่งแวดล้อม พร้อมขับเคลื่อนให้สังคมเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างยั่งยืน” ผศ.ดร.ประภาภรณ์กล่าวเพิ่มเติมว่า "ผลส ารวจชี้ให้เห็นว่า แม้จะมีความตระหนักสูง แต่ยังคงมีช่องว่างระหว่างความตระหนักกับการลงมือปฏิบัติซึ่งเป็นสิ่งที่เรา จ าเป็นต้องแก้ไข เราควรพิจารณาแนวทางปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม เพื่อส่งเสริมให้บุคคล และองค์กรต่างๆ เลือกทางเลือกที่ยั่งยืนได้อย่างต่อเนื่อง สิ่งส าคัญที่สุดคือ ทุกคนมี หน้าที่รับผิดชอบในการปกป้องสิ่งแวดล้อม ควบคู่ไปกับนโยบายของภาครัฐ ดังนั้น ไม่ สายเกินไปที่เราจะมีส่วนร่วมในการสร้างอนาคตที่ยั่งยืนได้เราทุกคนจะได้รับประโยชน์ ร่วมกัน ทั้งนี้ต่างฝ่ายควรท าหน้าที่ของตัวเองเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม"
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567 น ้ าตกผาดอกเส ี ้ ยว ท ี่เท ี่ยวเช ี ยงใหม่ตามรอย รักจัง น ้าตกสวย ส ุ ดโรแมนติก เชียงใหม่ เป็นจังหวัดใหญ่ของภาคเหนือ เต็มไปด้วยธรรมชาติอันหลากหลาย รวมถึง น ้าตกผาดอกเสี้ยว ที่เคยใช้เป็นฉากถ่ายท าภาพยนตร์สุดโรแมนติกเรื่อง รักจัง ในปี พ.ศ. 2549 จนได้สมยานามว่า น ้าตกรักจัง ไปเป็นที่เรียบร้อย ใครที่ยัง ไม่เคยไป ลองไปดูแล้วจะหลงรักในความสวยงาม และบรรยากาศแสนร่มเย็นของ น ้าตกแห่งนี้ น ้าตกผาดอกเสี้ยว เป็นน ้าตกขนาด 10 ชั้น ซ่อนตัวอยู่ในป่าบริเวณ บ้านแม่กลาง หลวง ในเขตของ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์หลังจากที่มีชื่อเสียงจาก ภาพยนตร์เรื่อง “รักจัง” ในปี พ.ศ. 2549 น ้าตกแห่งนี้ก็กลายเป็นสถานที่ ท่องเที่ยวยอดฮิตที่ใครๆ ก็อยากลองไปตามรอยกันดูแต่เนื่องจากถนนหนทางใน การเข้าไปถึงตัวน ้าตกในสมัยนั้นไม่ได้ดีมากนัก ทางอุทยานจึงพัฒนาเส้นทางศึกษา ธรรมชาติน ้าตกผาดอกเสี้ยวให้สะดวกและโดดเด่นขึ้นไปอีก เพื่อเปิดโอกาสให้นัก เดินทางทุกคนได้ไปชมธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ และสัมผัสวิถีชีวิตของชาวบ้าน ที่บ้านกลางหลวง กันมากขึ้น
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567 เพื่อที่จะเดินทางไปยัง น ้าตกผาดอกเสี้ยว เราต้องไปตั้งหลักกันที่ศูนย์บริการ นักท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์บ้านแม่กลางหลวง ซึ่งตั้งอยู่ใจกลางเขตอุทยานแห่งชาติดอย อินทนนท์กันก่อนค่ะ ตรงนี้เราจะติดต่อเพื่อขอไกด์น าเที่ยวให้พาเข้าไปยัง เส้นทางศึกษา ธรรมชาติน ้าตกผาดอกเสี้ยว ในราคา 200 บาท ต่อกลุ่ม กลุ่มละไม่เกิน 10 คน เส ้ นทางศ ึ กษาธรรมชาติน ้ าตกผาดอกเส ี ้ ยว ต้องบอกก่อนเลยว่า แม้จะยังไม่ได้เดินทางเข้าไปในป่า บรรยากาศที่บ้านแม่กลาง หลวง แห่งนี้ก็ดีมากๆ จนอยากจะขอเวลาสักพักหนึ่งในการดื่มด ่าวิวทิวทัศน์ของนา ขั้นบันไดที่เรียงรายอย่างเป็นระเบียบและสวยงาม ยิ่งมาช่วงฤดูเก็บเกี่ยว นาข้าวจะ เปลี่ยนเป็นสีทองอร่าม สวยงามมากๆ อีกทั้งยังได้สัมผัสกับวิถีชีวิตของ ชนเผ่าปกา เกอะญอ ท าให้เราได้เห็นว่า แม้คุณภาพชีวิตของพวกเขาจะดีขึ้นไปตามกาลเวลา แต่ พวกเขาก็ยังไม่ทิ้งวิถีชีวิตดั้งเดิมอันเรียบง่าย เช่น ปลูกไร่นา และไร่กาแฟ ถือเป็นเสน่ห์ อีกอย่างหนึ่งเมื่อมาเยือนหมู่บ้านแห่งนี้ ระยะทางของ เส้นทางศึกษาธรรมชาติน ้าตกผาดอกเสี้ยว อยู่ที่ประมาณ 2.6 กิโลเมตร ใช้เวลาทั้งหมดราว 2 ชั่วโมง มีการท าทางเดิน และบันไดพร้อมราวจับอย่างดี ให้พวกเราเดินทางกันได้สะดวก ระหว่างทางก็จะมีป้ายแสดงข้อมูลเกี่ยวกับธรรมชาติใน แต่ละจุด ท าให้พวกเราเข้าใจในสภาพป่ามากยิ่งขึ้น
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567 น ้าตกผาดอกเสี้ยว มีทั้งหมด 10 ชั้น ซึ่งเราก็จะเดินทางไล่จากชั้น 9 ลงไปเรื่อยๆ จนถึงชั้นที่7 ที่เป็นไฮไลท์และเป็นต้นก าเนิดของ น ้าตกรักจัง นั่นเองค่ะ ตรงนี้จะเป็น จุดที่สวยที่สุดของ น ้าตกผาดอกเสี้ยว คือจะมีสะพานไม้ไผ่ทอดข้ามสายธาร ท าให้เห็น ทิวทัศน์ของน ้าที่ไหลลงมาจากผาสูงราว 20 เมตร ล้อมรอบด้วยธรรมชาติอันเขียวขจี ของพรรณไม้มากมาย นอกจากเป็นจุดชมวิวน ้าตกที่สวยที่สุดแล้ว ยังเป็นจุดถ่ายรูปที่ ปังไม่น้อย เพราะจะได้เก็บภาพตรงสะพาน โดยมีภาพน ้าตกเป็นพื้นหลัง ยิ่งได้มากับคน รักก็ยิ่งเหมาะกับคอนเซ็ปต์น ้าตกสายโรแมนติกแห่งนี้ น ้ าตกร ั กจ ั ง ไฮไลท ์ น ้ าตกผาดอกเส ี ้ ยว
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567 ข้อมูล น ้าตกผาดอกเสี้ยว เชียงใหม่ •ที่อยู่: 119 หมู่ที่7 ต าบลบ้านหลวง อ าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ •พิกัด : https://goo.gl/maps/wNuTde7yXLDUnJ2X8 •เปิดให้เข้าชม : 06.00-18.00 น. •โทร : ศูนย์บริการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์บ้านแม่กลางหลวง 09-3131-3850 •เว็บไซต์ : https://www.facebook.com/maekalngluang/
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน พฤษภ าคม 2567