เทศบาลต าบลบ้านหลวง อินทนนท์ เทศบาลต าบลบ้านหลวง เลขที่ 1 หมู่ที่ 20 บ้านน ้าตกแม่กลาง ต าบลบ้านหลวง อ าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ วารสารเทศบาล ( Municipal Journal ) เดือนตุลาคม ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 วารสารประจ าเดือน เทศบาลต าบลบ้านหลวง อ าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เบอร์โทรติดต่อ 053-033-618 ต่อ 9
แผนท ี ่ ต ำบลบ ้ ำนหลวง ครอบคลุมพื้นที่ 19 หมู่บ้าน เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566 เทศบำลต ำบลบ้ำนหลวงมีหมู่บ้ำนในควำมรับผิดชอบ จ ำนวน 19 หมู่บ้ำน • บ้านขุนยะ หมู่ที่5 • บ้านป่าแขม หมู่ที่6 • บ้านขุนกลาง หมู่ที่7 • บ้านผาหมอน หมู่ที่8 • บ้านเมืองอาง หมู่ที่9 • บ้านแม่หอย หมู่ที่10 • บ้านเมืองกลาง หมู่ที่11 • บ้านหัวเสือ หมู่ที่12 • บ้านน ้าลัด หมู่ที่13 • บ้านปะ หมู่ที่14 • บ้านแม่ปอน หมู่ที่15 • บ้านตาดมื่น หมู่ที่16 • บ้านอ่างกาน้อย หมู่ที่17 • บ้านแม่ยะน้อย หมู่ที่18 • บ้านห้วยเฮี๊ยะ หมู่ที่19 • บ้านน ้าตกแม่กลาง หมู่ที่20 • บ้านกู่ฮ่อสามัคคีหมู่ที่21 • บ้านหนองหล่ม หมู่ที่22 • บ้านใหม่ห้วยเฮี๊ยะ หมู่ที่23
CONTENTS สำรบัญ เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566 04 เทศบาลต าบลบ้านหลวง โครงสร้างส่วนราชการเทศบาลต าบลบ้านหลวง ท าเนียบคณะบริหาร ท าเนียบสภาเทศบาล หัวหน้าส่วนราชการ ประวัติความเป็นมา เทศบาลต าบลบ้านหลวง ภาพกิจกรรม ผลการด าเนินงาน คุณภาพชีวิต - สังคม ท่องเที่ยวท้องถิ่น รายการรับ-จ่าย 05 06 07 08 09 11 33 39 42 29 ภาพกิจกรรม ผลการด าเนินงานกู้ชีพ-ป้องกันฯ 10 สภาพทั่วไป
ตามที่กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดตั้งองค์การบริหารส่วนต าบลบ้านหลวงขึ้นเป็นเทศบาล ต าบลบ้านหลวง ตั้งแต่ วันที่ 27 ธันวาคม 2552 โดยเป็นเทศบาลขนาดเล็กได้ก าหนดโครงสร้างการแบ่ง ส่วนราชการภายในและการจัดระบบงานรองรับภารกิจตามอ านาจหน้าที่ความรับผิดชอบออกเป็น 5 ส่วน ได้แก่ ส านักปลัด กองคลัง กองช่าง กองการศึกษา กองสาธารณสุข มีกรอบอัตราก าลังทั้งสิ้น 28 อัตรา โดยได้ก าหนดต าแหน่งในสายงานต่างๆจ านวนต าแหน่งและระดับต าแหน่งให้มีความเหมาะสมกับ ภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ ปริมาณงาน คุณภาพงาน และเพื่อให้สามารถแก้ปัญหาของเทศบาลได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ตามที่นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวงได้แถลงนโยบายการบริหารราชการของเทศบาลต าบลบ้าน หลวงต่อสภาเทศบาลต าบลบ้านหลวงซึ่งได้ก าหนดนโยบายในการบริหารเทศบาลต าบลบ้านหลวงรวม3 ด้าน ดังนี้ 1. นโยบายผู้บริหาร เรื่อง นโยบายคุณธรรมละความโปร่งใส 2. นโยบายด้านทรัพยากรบุคคล 3. นโยบายด้านการป้องกันทุจริต เทศบำลต ำบลบ้ำนหลวง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
โครงสร้ำงส่วนรำชกำร เทศบำลต ำบลบ้ำนหลวง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
คณ ะผู้บริหำร เทศบาลต าบลบ้านหลวง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
สมำชิกสภำ เทศบาลต าบลบ้านหลวง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
หัวหน้ำส่วนรำชกำร เทศบาลต าบลบ้านหลวง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566 นำยยุทธนำ ค ำมงคล
ปร ะวัติควำม เป็นมำ “เทศบาลต าบลบ้านหลวง” วิสัยทัศน์(VISION ) กินอิ ่ม นอนอุ่น ชุมฉ ่ำน ้ำท่ำ ท่องเที ่ยวพัฒนำ ผืนป่ ำเขียวขจี เศรษฐกิจดีแบบพอเพียง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
ภำพกิจกรรม ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง น าโดยคณะผู้บริหาร หัวหน้าส่วนราชการ เเละพนักงานเทศบาลต าบล บ้านหลวง มีความรู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่ง ที่ได้ร่วมกันต้อนรับท่าน ผู้อ านวยการยุทธนา ค ามงคล ในโอกาสที่ ท่านย้ายมาด ารงต าเเหน่งผู้อ านวยการกองสาธารณสุขเเละสิ่งเเวดล้อม เเละพี่น้องเทศบาลต าบลแม่สะเรียง จังหวัดเเม่ฮ่องสอน ทุกท่าน ณ ห้องประชุมเทศบาลต าบลบ้านหลวง อ าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ต้อนรับท่ำน ผู้อ ำนวยกำร ยุทธนำ ค ำมงคล ในโอกำสที่ท่ำนย้ำยมำด ำรงต ำเเหน่งผู้อ ำนวยกำรกองสำธำรณสุขเเละสิ่งเเวดล้อม เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์ (นายกเทศมนตรีต าบลหลวง) นายอภิสิทธิ์ ยลละออ (ปลัดเทศบาล) พร้อมหัวหน้าส่วนราชการ เเละเจ้าหน้าที่เทศบาล ร่วมประชุมพนักงานเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 เพื่อมอบนโยบายการบริหารงาน และติดตามผลการด าเนินงานที่ผ่านมา ณ ห้องประชุม ชั้น 2 เทศบาลต าบลบ้านหลวง ในโอการนี้ นายยุทธนา ค ามงคล ต าแหน่ง ผู้อ านวยการกองสาธารณสุขเเละสิ่งเเวดล้อม เเละ นายสมอาจ พนาไพรสัมพันธ์ ต าเเหน่งจ้างเหมาบริการช่วยงานกองการศึกษา ได้กล่าวแนะน าตัว เนื่องใน โอกาสรับต าแหน่งใหม่และมาปฏิบัติราชการ ณ เทศบาลต าบลบ้านหลวง อ าเภอจอมทอง จังหวัด เชียงใหม่ ประชุมพนักงำนเทศบำลต ำบลบ้ำนหลวง ประจ ำเดือนตุลำคม 2566 ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 เทศบาลต าบบ้านหลวง น าโดยงานป้องกันเเละบรรเทาสาธารณภัย ทต.บ้านหลวง , กองช่างทต. บ้านหลวง เเละ กรมทรัพยากรน้ า กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมประชุมหารือใน โครงการค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบเตือนภัยล่วงหน้า(Early Warning) ส าหรับพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย-ดิน ถล่ม ในพื้นที่ลาดชันและพื้นที่ราบเชิงเขา กรมทรัพยากรน้ า แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร เพื่อจัดท าแผนที่อพยพ และซักซ้อมความเข้าใจ การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในพื้นที่ต าบบ้านหลวง ณ ห้องประชุมสภา เทศบาลต าบลบ้านหลวง ประชุมหำรือในโครงกำรค่ำใช้จ่ำยในกำรติดตั้งระบบเตือนภัยล่วงหน้ำ (Early Warning) เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 กองสาธารณสุขเเละสิ่งเเวดล้อม น าโดยนายยุทธนา ค ามงคล (ผอ.กองสาธารณสุข ทต.บ้านหลวง) เเละเจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขเเละสิ่งเเวดล้อม ลงพื้นที่ตรวจกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (อู่ซ่อมรถ) และตรวจร้าน สถานที่จ าหน่ายอาหาร บริเวณบ้านเมืองกลาง หมู่ที่ 11 ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ. เชียงใหม่ เพื่อให้ค าเเนะน าเเก่ผู้ประกอบการในเขตพื้นที่เทศบาลต าบลบ้านหลวง ตรวจกิจกำรท ี่เป็ นอันตรำยต่อส ุ ขภำพ (อู่ซ่อมรถ) และ ตรวจร้ำน สถำนท ี่จ ำหน่ำยอำหำร บริเวณบ้ำนเม ื องกลำง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง น าโดยนายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) นายศรีหมื่น จอมนที(รองนายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) นางสาวกัญฐ์ธมล ดวงวิโรจน์(รอง ปลัดเทศบาล) นายสมชาย ดวงเดช(ประธานสภาเทศบาล) หัวหน้าส่วนราชการ ผู้น าชุมชน เเละ คณะกรรมการพัฒนาเทศบาล ร่วมประชุมคณะกรรมการพัฒนาเทศบาล เพื่อพิจารณาร่างเเผน ด าเนินงาน ประจ าปี 2567 ณ ห้องประชุมเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประชุมคณะกรรมกำรพัฒนำเทศบำล เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง โดย น าโดยนางสาวกัญฐ์ธมล ดวงวิโรจน์ (รองปลัดเทศบาล) และหัวหน้า ส่วนรชการ เข้าร่วมการประชุมชี้แจงแนวทางการด าเนินงานส าหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็น ศูนย์บริการร่วม/ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ (One Stop Service:OSS) ณ ห้องปชุมเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประชุมชี้แจงแนวทำงกำรด ำเนินงำนส ำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นศูนย์บริกำรร่วม/ศูนย์บริกำรเบ็ดเสร็จ (One Stop Service:OSS) เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ทต.บ้านหลวง น าโดยนายยุทธนา ค ามงคล(ผอ.กองสาธารณสุขเเละ สิ่งเเวดล้อม) สาธารณสุขจอมทอง เจ้าหน้ากองสาธารณสุขฯ เเละรพ.สต.บ้านเเม่หอย ลงพื้นที่ ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และมอบยากันยุงให้กับชุมชนบ้านแม่แอบ ม.6 ต.บ้านหลวง เพื่อป้องกันโรคไข้ มาลาเรีย กองสำธำรณสุขเเละสิ่งเเวดล้อม ลงพ ื้นท ี่ประชำสัมพันธ์ให้ควำมร ู้ และมอบยำกันยุงให้กับชุมชนบ้ำนแม่แอบ ม.6 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 กองการศึกษา ทต.บ้านหลวง และงานพัฒนาชุมชน ทต.บ้านหลวง ร่วมกับ มหาวิทยาลัยฟาร์อีส เทอร์น จัดกิจกรรมการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพทุนวัฒนธรรมชุมชน เพื่อยกระดับผู้ประกอบการ "สร้อยลูกเดือยอละผลิตภัณฑ์ชุมชนบ้านแม่หอย" ณ ศูนย์การเรียนรู้บ้านแม่หอย ม.10 ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ กิจกรรมกำรส่งเสริมและพัฒนำศักยภำพทุนวัฒนธรรมชุมชน เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ทต.บ้านหลวง ร่วมกับ รพ.สต.บ้านเเม่หอย ส านักงานสาธารณสุข อ าเภอจอมทอง โรงพยาบาลจอมทอง เเละหน่วยควบคุมโรคติดต่อจังหวัดเชียงใหม่ ลงพื้นที่ชุมชนหย่อม บ้านเเม่เเอบ ม.6 ป่าเเขม ต.บ้านหลวง มอบมุ้งนอนชุบน้ ายาป้องกันโรคไข้มาลาเรีย จ านวน 20 หลัง พร้อมตรวจเลือดคนในชุมชน และพ่นยา ULV กันยุงให้กับชุมชน เพื่อป้องกันโรคไข้มาลาเรียเเก่ชุมชน บ้านเเม่แอบ ลงพ ื้นท ี่ช ุ มชนหย่อมบ้ำนเเม่เเอบ ม.6 ป่ำเเขม เพ ื่อให้ควำมร ู้เเละพ่นยำเพ ื่อป้องกันโรคไข้มำลำเร ี ย เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์ (นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) มอบหมายให้นายสุริยนต์พงศ์สถิตบวร(ผู้ช่วย นักพัฒนาชุมชน) เเละนายศุภฤกษ์ เหมือนสุทธิวงศ์(นักพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ) ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมบ้านที่ได้รับการ ปรับปรุงตามโครงการบ้านมั่นคงชนบทเทศบาลต าบลบ้านหลวง ได้เเก่ ม.11 บ้านเมืองกลาง ม.14 บ้านปะ ม.16 บ้านตาดมื่น เเละ ม.21บ้านกู่ฮ้อสามัคคี ต าบลบ้านหลวง อ าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง จัดโครงการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติเเละสิ่งเเวดล้อมอย่างมีส่วนร่วม ระยะที่ 2 ใน ระหว่างวันที่ 17-27 ตุลาคม 2566 โดยใช้แผนทึ่่เป็นเครื่องมือในการก าหนดผังแม่บทในการพัฒนาพื้นที่ท่องเที่ยวอิน ทนนท์อย่างยั่งยืน เเละมีเป้าหมายสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ขับเคลื่อนการ อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นพื้นฐานของคนอยู่ร่วมกับป่าอย่างยั่งยืน ณ บ้านหนองหล่ม หมู่ที่ 22 ต.บ้านหลวง ร่วมกับคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง น าโดยนายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) นายศรีหมื่น จอมนที(รองนายกเทศมนตรี) พร้อมคณะกรรมการการสนับสนุนการจัดการบริการดูแล ผู้สูงอายุ ร่วมประชุมคณะกรรมการการสนับสนุนการจัดการบริการดูแลผู้สูงอายุ และศูนย์พัฒนาคุณภาพ ชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ เพื่อขออนุมัติช่วยเหลือคนพิการรายใหม่ ณ ห้องประชุม ชั้น2 เทศบาลต าบล บ้านหลวง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566 ประชุมคณะกรรมกำรกำรสนับสนุนกำรจัดกำรบริกำรดูแลผู้สูงอำยุ และศูนย์พัฒนำคุณภำพชีวิตผู้สูงอำยุและคนพิกำร
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 ช่างไฟฟ้า ทต.บ้านหลวง ลงพื้นที่ออกซ่อมเเซมระบบไฟฟ้า ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านผาหมอน ม.8 ต.บ้านหลวง เพื่ออ านวยความสะดวกเเก่คุณครูเเละเด็กๆของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง จัดโครงการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติเเละสิ่งเเวดล้อมอย่างมีส่วน ร่วม ระยะที่ 2 ในระหว่างวันที่ 17-27 ตุลาคม 2566 โดยใช้แผนทึ่่เป็นเครื่องมือในการก าหนดผังแม่บท ในการพัฒนาพื้นที่ท่องเที่ยวอินทนนท์อย่างยั่งยืน เเละมีเป้าหมายสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ขับเคลื่อนการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นพื้นฐาน ของคนอยู่ร่วมกับป่าอย่างยั่งยืน ณ โรงเรียนนิยมไพรผาหมอนอินทนนท์ (ห้องเรียนเคลื่อนที่บ้านแม่กลาง หลวง) หมู่ที่ 17 บ้านอ่างกาน้อย ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง จัดโครงการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติเเละสิ่งเเวดล้อมอย่างมีส่วนร่วม ระยะที่ 2 ในระหว่างวันที่ 17-27 ตุลาคม 2566 โดยใช้แผนทึ่่เป็นเครื่องมือในการก าหนดผังแม่บทในการพัฒนาพื้นที่ ท่องเที่ยวอินทนนท์อย่างยั่งยืน เเละมีเป้าหมายสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ขับเคลื่อนการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นพื้นฐานของคนอยู่ร่วมกับป่าอย่างยั่งยืน ณ บ้านผาหมอน หมู่ 8 ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงบ้านผาหมอน ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์ (นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) มอบหมายให้นายอภิสิทธิ์ ยลลออ(ปลัดเทศบาล) พร้อมกองช่าง เเละกองคลัง ทต.บ้านหลวง ร่วมประกอบพิธีวางพวงมาลา ณ ลานหน้าที่ว่าการอ าเภอจอมทอง เพื่อ น้อมร าลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 23 ตุลาคม 2566 เเละในช่วงสายของวันนั้นเป็นกิจกรรมจิตอาสาพัฒนา พัฒนาสถานที่ราชการ ณ บริเวณที่ว่าการอ าเภอ จอมทอง อ าเภอจอมทอง ซึ่งได้มอบหมายให้กองการศึกษาเข้าร่วมกิจกกรมดังกล่าว
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 นายก่อชิ เพรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) มอบหมายให้ สมาชิกสภาเทศบาล ร่วมกับ กองช่าง ทต.บ้านหลวง ลงพื้นที่ส ารวจเพื่อขออนุญาตใช้พื้นที่ด าเนินการและน าวัสดุก่อสร้างเข้าไปในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ดอยอินทนนท์ ตามเทศบัญญัติปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ซึ่งมีโครงการที่จะด าเนินการ จ านวน 13 โครงการ แบ่งเป็น การก่อสร้างถนน คอนกรีตเสริมเหล็ก จ านวน 12 โครงการ และโครงการก่อสร้างศูนย์หัตถกรรม จ านวน 1 โครงการ เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้ราษฎร และให้เกิดความปลอดภัยในการใช้เส้นทางสัญจร รายละเอียดดังนี้ 1.โครงการก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก หมู่ที่ 5บ้านขุนยะ ต าบลบ้านหลวง อ าเภอจอมทองจังหวัดเชียงใหม่ 2.โครงการก่อสร้างถนนคอนรีตเสริมเหล็ก แยกบ้านป่าแขมให - โบสถ์บ้านใหม่ป่าแขมต่อถนน คสล.เดิม หมู่ที่ 6 บ้านป่าแขม ต าบลบ้านหลวง อ าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ 3. โครงการก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก หมู่ที่ 7 บ้านขุนกลาง ต าบลบ้านหลวง อ าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566 ลงพื้นที่ส ำรวจเพื่อขออนุญำตใช้พื้นที่ด ำเนินกำรและน ำวัสดุก่อสร้ำง เข้ำไปในพื้นที่อุทยำนแห่งชำติดอยอินทนนท์
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) มอบหมายให้ นายมนูญ เสริมศักดิ์ ตระกูล(เลขานุการนายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) นายอภิสิทธิ์ ยลละออ (ปลัดเทศบาล) เเละเจ้าหน้าที่ งานพัฒนาชุมชน ร่วมกับส านักงานอัยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดี จังหวัดเชียงใหม่ สาขาฮอด พร้อมเจ้าหน้าหน้าที่พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่ ลงพื้นที่มอบถุงยังชีพเพื่อช่วยเหลือ แรงงานที่ประสบปัญหาสงครามอิสราเอล ณ บ้านขุนกลาง จ านวน 6 คน และบ้านแม่ยะน้อย จ านวน 1 คน เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566 มอบถุงยังชีพเพื่อช่วยเหลือ แรงงำนที่ประสบปัญหำสงครำมอิสรำเอล ณ บ้ำนขุนกลำง
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหวง) เเละ พ.อ.อ.สรายุทธ สุขสมโสตร(เจ้า พนักงานป้องกันเเละบรรเทาสาธารณภัย ทต.บ้านหลวง) ร่วมประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ณ ห้องประชุมที่ว่าการอ าเภอจอมทอง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) มอบหมายให้ นายอิ่นค า เตจ๊ะวันโน (ที่ปรึกษานายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง)ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตฯ พร้อมเจ้าหน้าที่กอง สาธารณสุขเเละสิ่งเเวดล้อม น าโดยนายยุทธนา ค ามงคล(ผอ.กองสาธารณสุขฯ) ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมเเละ มอบผ้าอ้อมผู้ใหญ่ เเก่ราษฎรในเขตพื้นที่รับผิดชอบต าบลบ้านหลวง ได้เเก่ ม.6 บ้านป่าเเขม, หมู่7 บ้านขุนกลาง ,หมู่10 บ้านเเม่หอย, หมู่14 บ้านปะ เเละหมู่20 บ้านน้ าตกเเม่กลาง
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) มอบหมายให้นายอาทิตย์ ยุบย าเเสง(นักวิชาการ คอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ) ลงพื้นที่ออกตรวจเช็คกล้องวงจรปิด CCTV หมู่ที่ 22 บ้านหนองหล่ม และ หมู่ที่ 17 บ้าน แม่กลางหลวง เพื่อปรับปรุงซ่อมเเซมเเละอ านวยความสะดวกให้เเก่ประชาชน เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566 ช่างไฟฟ้า ทต.บ้านหลวง ออกบริการซ่อมไฟกิ่ง บ้านน้ าลัดม.13 บริเวณทางขึ้นวัดพระเกิ้ด เพิ่มไฟกิ่งจุด3 บริเวณ แยกที่มีทางลาดชัน พร้อมส ารวจจุดติดตั้งหอกระจายข่าวบ้านหัวเสือ ม.12
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีตค าบลบ้านหลวง)นายอภิสิทธิ์ ยลลออ (ปลัดเทศบาล) นายยุทธนา ค ามงคล(ผอ.กองสาธารณสุขฯ) เเละเจ้าหน้ากองสาธารณสุขเเละสิ่งเเวดล้อม ลงพื้นที่ตรวจดู จ านวนของขยะที่จะท าการขนย้ายขยะจากบ่อขยะต าบลบ้านหลวง อ าเภอจอมทองไปไว้ ณ บ่อขยะ บ้านตาล อ าเภอฮอด จ.เชียงใหม่ เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566 กองการศึกษา ทต.บ้านหลวง น าโดย ผอ.สุภนิดา จินาอิ ช่วยกันจัดสภาพแวดล้อมภายใน ห้องเรียน ศพด.แม่ยะน้อย เพื่อให้เอื้อต่อการจัดประสบการณ์เรียนรู้ส าหรับเด็กปฐมวัยในสังกัด เทศบาลต าบลบ้านหลวง
งานกู้ชีรพ ทต.บ้ านหลวง ได้รับแจ้งจ ากพลเมืองดี มีเหตุรถจัก รยานยนต์เฉี่ย วชนกัน มีผู้ได้รับบาดเจ็บ 2 ราย บริเวณแยกทางเข้าบ้านห้วยกว๋าว ข้างโรงเรียนน้ าตกแม่กลาง หลังรับรับแจ้งได้ รายงานให้ศูนย์กู้ชีพรพ.จอมทอง และร้อยเวร30 ทราบ พร้อมจัดรถพร้อมเจ้าหน้าที่ออกท าการช่วยเหลือ ผู้บาดเจ็บ ที่เกิดเหตุพบผู้ได้รับบาดเจ็บ 2 ราย 1.ชายอายุประมาณ 60-70 ปี มีแผลมือขวา ปวดขาขวา รถกู้ชีพ ทต.บ้านหลวง ได้น าส่งรักษาต่อ โรงพยาบาลจอมทอง 2.ชายอายุประมาณ 60-70ปี มีแผลที่แขนขวา ปวดเข่าทั้งสองข้าง รถกู้ชีพอินทนนท์(รพ.สต. บ้านเมืองกลาง) ได้น าส่งรักษาต่อโรงพยาบาลจอมทอง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566 ภำพกิจกรรม ผลการด าเนินงานกู้ชีพ- ป้องกันฯ เทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566
กู้ชีพ ทต.บ้านหลวง ได้รับเเจ้งเกิดอุบัติเหตุรถกระบะทึบชนรถจักรยานยนต์มีผู้เสียชีวิต 2 ราย บริเวณ ทางขึ้นดอยอินทนนท์หลักกิโลเมตรที่ 32 ห่างจากตลาดม้ง 300 เมตร โดยกู้ชีพ ทต.บ้านหลวง ร่วมกับ กู้ภัย อช.อินทนนท์, กู้ภัยอินทนนท์ กู้ชี และหน่วยเคลื่อนที่เร็วตอบโต้ภัยพิบัติอ าเภอจอมทอง พร้อม พนักงานสอบสวนสภ.จอมทอง ,รถพยาบาล รพ.จอมทอง ในที่เกิดเหตุพบมีจักรยานยนต์ล้มคว่ า เบื้องต้น ทราบว่าผู้เสียชีวิต 2 ราย รายแรกเป็นชาย อายุประมาณ 20 ปี เป็นชาวบ้าน อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ ใกล้ กันนั้นบริเวณเหวลึกมีรถกระบะทึบตกลงไป ส่วนรายละเอียดยังไม่ทราบชัด ซึ่งอยู่ในระหว่างการ สอบสวนต่อไป เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566 ผลการด าเนินงานกู้ชีพ- ป้องกันฯ เทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 อุบัติเหตุรถกระบะทึบชนรถจักรยำนยนต์มีผู้เสียชีวิต 2 รำย บริเวณทำงขึ้นดอยอินทนนท์หลักกิโลเมตรที่32
งานกู้ชีพ ทต.บ้านหลวง ได้รับการประสานจากสท.สมโภช สมาชิกสภาเทศบาล เขต2 ขอความ อนุเคราะห์จัดรถรับผู้ป่วย ชื่อนายฤทธิพร คามคีรีวงค์อายุ 26 ปี อยู่บ้านเลขที่ 64/2 ม.8 ต.บ้านหลวง ที่เข้ารับการผ่าตัดที่บริเวณศรีษะด้วยอาการมีเลือดคั่งในสมอง มีอาการวูบล้มเเละชัก โดยเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2566 ได้เข้ารับการรักษา ณ รพ.มหาราชนครเชียงใหม่(สวนดวก) และ ทางโรงพยาบาลให้น าตัว ผู้ป่วยกลับมารักษายังโรงพยาบาลจอมทอง ซึ่งญาติมีความประสงค์ขอรับผู้ป่วยกลับมารักษาต่อที่ โรงพยาบาลจอมทอง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566 ผลการด าเนินงานกู้ชีพ- ป้องกันฯ เทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 รับผู้ป่วยจำกรพ.สวนดอก กลับมำรักษำตัวต่อ ณ รพ.จอมทอง
งานป้องกันเเละบรรเทาสาธารณภัย ทต.บ้านหลวงเเละทีมงานช่างไฟฟ้า ทต.บ้านหลวง ร่วมกับการ ไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อ.จอมทอง ลงพื้นที่ส ารวจความเสียหายพร้อมทั้งเคลียเส้นทางตัดไม้ที่ขีดขวางทาง คมนาคม และแก้ไขปัญหาไฟฟ้าดับ จากกรณีฝนตกหนัก เป็นให้ต้นไม้ล้มทับถนนบริเวณทางเข้าบ้าน ป่าเเขม. ม.6 ต.บ้านหลวง เมื่อสักครู่ที่ผ่านมา จนเสร็จภารกิจ เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566 ผลการด าเนินงานกู้ชีพ- ป้องกันฯ เทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนตุลาคม 2566 งานป้องกันเเละบรรเทาสาธารณภัย ทต.บ้านหลวง ได้รับการร้องขอจากประชาชน หมู ่ที ่ 20 บ้านน ้าตกเเม่กลาง บ้านพักซอยหลัง รร.วัดน ้าตกแม่กลาง พบสัตว์เลื้อยคลาน(งู)อยู่ภายในบ้านพักอาศัย เมื่อได้รับเเจ้งจึงได้จัดเจ้าหน้าที่เข้าตรวจสอบ ที่เกิดเหตุพบเป็นงูพิษ(งูเห่า) เจ้าหน้าที่จึงท าการจับน าออก จากบ้านพักอาศัย และท าการปล่อยคืนสู่ธรรมชาติในเวลาต่อมา
คุณภำพชีวิต - สังคม ในปัจจุบันผู้บริหารควรให้ความส าคัญกับความรู้สึกนึกคิดและจิตใจของคนที่ ท างานและให้ความส าคัญกับคน โดยถือว่าคนเป็นทรัพย์สินมีค่าอย่างหนึ่งขององค์กร ซึ่งถ้าบุคคลในแต่ละองค์กรมีคุณภาพชีวิตที่ดีก็ท าให้การผลิตมีคุณภาพ ผลผลิต เพิ่มขึ้น รวมไปถึงการปรับปรุงการให้บริการ การบริหารผลการด าเนินงาน ความพึง พอใจของพนักงาน สภาพแวดล้อมในการท างาน และภาพลักษณ์ขององค์กร การท างานมีความส าคัญต่อชีวิตมนุษย์เป็นอย่างยิ่ง ซึ่งการพัฒนาให้แรงงานที่เข้ามาท างานในภาคอุตสาหกรรม เหล่านี้รู้จักปรับตัวให้มีชีวิตที่มีความสุขจากการท างานและสภาพการท างานของระบบโรงงานเป็นสิ่งส าคัญ เพราะงาน เป็นสิ่งส าคัญต ่อการด าเนินชีวิตของมนุษย์ การมีงานท าช่วยท าให้มนุษย์สามารถสนองความต้องการพื้นฐานในการ ด ารงชีวิต เป็นแหล่งที่มารายได้ งานเป็นตัวก าหนดสถานภาพ และต าแหน่งทางสังคม ลักษณะของงานเป็นส่วนหนึ่ง ของการก าหนดคุณภาพชีวิตของมนุษย์ คุณภาพชีวิตของการท างาน (Quality of Work Life) มีความส าคัญยิ่งในการท างาน เพราะคนเป็นทรัพยากรที่ ส าคัญ ในปัจจุบันคนเราท างานเพื่อให้ด ารงชีวิตอยู่ได้ และตอบสนองความต้องการพื้นฐาน ดังนั้นสถานที่ท างานต้องมี ความเหมาะสมคือ ท าให้เกิดความสุข ความมั่นคง หากเกิดความรู้สึกที่ดีต่องานจะส่งผลดีต่อทั้งตัวบุคคล และองค์กร คุณภาพชีวิตการท างานส่งผลต่อองค์กร เช่น 1. ช่วยเพิ่มผลผลิตขององค์กร 2. ช่วยปรับปรุงศักยภาพของผู้ท างาน 3. ช่วยเพิ่มขวัญ และก าลังใจของผู้ปฏิบัติงาน ตลอดจนเป็นแรงจูงใจในการท างาน เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
ดังนั้นคนเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ายิ่ง องค์กรทุกภาคส่วนพยายามที่หันมาใส่ใจ เรื่องคนกันมากขึ้น ยิ่งในช่วงภาวะ เศรษฐกิจถดถอย ย ่อมมีผลกระทบต ่อการด ารงชีพของพนักงานอย ่างหลีกเลี ่ยงไม ่ได้ องค์กรเองคงจะไม ่มุ ่งเน้นที่ คุณภาพของผลิตภัณฑ์ขององค์กรอย่างเดียวควรจะให้มาใส่ใจเรื่อง คุณภาพชีวิตของพนักงานควบคู่ไปด้วย เพราะ สภาพเศรษฐกิจตกต ่าเช่นนี้ มีส่วนกระทบต่อการด าเนินชีวิตของพนักงานอย่างแน่นอน องค์กรจะมีส่วนช่วยผลักดันให้มี การพัฒนาคุณภาพชีวิตของพนักงานอย่างไร พัฒนาการทางแนวคิดของคุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิตมีบทบาทส าคัญในแง่ความผาสุกของมนุษย์ ซึ่งคุณภาพชีวิตเป็นสิ่งที่เกี่ยวกับสวัสดิการมนุษย์ และ ความสุข ดังนั้นล าดับขั้นความต้องการของมนุษย์ตามทฤษฎีล าดับขั้นความต้องการของมาสโลว์แบ่งเป็น 5 ระดับ ดังนี้ 1. ความต้องการทางด้านร่างกาย (Physiological Needs) เช่น ความต้องการอาหาร น ้าดื่ม ที่พักอาศัย และความ ต้องการทางเพศ เป็นต้น 2. ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs) เช ่นความต้องการความมั่นคง ความต้องการความคุ้มครองจาก อันตรายทั้งทางร่างกายและจิตใจ เป็นต้น 3. ความต้องการทางสังคม (Social Needs) เช่น ความ ต้องการความรัก ความใส่ใจ ความเป็นส่วนหนึ่งของสังคม การ ได้รับการยอมรับ เป็นต้น 4. ความต้องการเกียรติยศ (Esteem Needs) เช่น ชื่อเสียง เกียรติยศ ต าแหน่ง อ านาจ การยกย่องสรรเสริญ เป็นต้น 5. ความต้องการให้ความฝันของตนเป็นจริง (Self-Actualization Needs) เช่น ความเจริญรุ่งเรืองในลาภยศสรรเสริญ เป็นต้น ความหมายของคุณภาพชีวิตในการท างาน ความหมายของคุณภาพชีวิตในการท างาน (Quality of Working Life) ได้มีนักวิชาการให้ความหมายดังนี้คือ Davis (1977) ได้กล่าวว่า คุณภาพชีวิตในการท างาน คือ คุณภาพของความสัมพันธ์ระหว ่างผู้ปฏิบัติงานกับ สิ่งแวดล้อมโดยส่วนรวมในการท างานของเขา และเน้นที่มิติเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ ซึ่งมักถูกละเลยจาก ปัจจัยทางเทคนิค และปัจจัยทางเศรษฐศาสตร์ในการออกแบบการท างาน Arthur (1981) ได้กล่าวว่า คุณภาพชีวิตในการท างาน เป็นส่วนหนึ่งของคุณภาพชีวิต หมายถึง “ความรู้สึกทาง จิตวิทยาของบุคคลต่อสภาวะความเป็นอยู่ (Well-Beings) หรือความสุขโดยรวม (Whole Happiness) ซึ่งเป็นความพึง พอใจต่อชีวิตหรือมีแนวโน้มต่อชีวิตในทางบวก Dubrin (1981) ได้ให้ความหมายของคุณภาพชีวิตในการท างานว่า หมายถึง ระดับที่พนักงานขององค์การ มีความ พึงพอใจในการได้รับการตอบสนองต่อความต้องการที่ส าคัญ ๆ จากสมาชิกในองค์กรนั้น ๆ สุทธิลักษณ สุนทโรดม (2552) ไดใหความหมายของคุณภาพชีวิตการท างาน หมายถึง ขีดหรือระดับที่คนแตละคน พึงพอ ใจในหนาที่การงาน เพื่อนรวมงาน และสภาพแวดลอมในการท างานมีสวนประกอบดังนี้คือ การควบคุม การ ยอมรับ ความ ก้าวหน้าและการพัฒนา และการไดรับรางวัลตอบแทนการท างาน ดังนั้นสรุปได้ว่า คุณภาพชีวิตในการท างาน (Quality of Working Life) หมายถึง ค่าตอบแทนที่เพียงพอและ ยุติธรรม สภาพการท างานที่ค านึงถึงความปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ ความมั่นคงและความก้าวหน้าในการ ท างาน โอกาสในการพัฒนาสมรรถภาพของบุคคล การบูรณาการทางสังคม หรือการท างานร่วมกัน ประชาธิปไตยในองค์กร ความสมดุลระหว่างงาน และชีวิตส่วนตัว และลักษณะงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
ประโยชน์ของการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการท างาน คุณภาพชีวิตในการท างานจะท าให้พนักงานมีความรู้สึกที ่ดีต่อองค์กร เกิดวัฒนธรรมองค์กร เกิดขวัญก าลังใจ และ เกิดผลดีในทางจิตวิทยาสภาพแวดล้อมในการท างานภายในองค์กร โดยผู้เขียนสรุปประโยชน์ของการพัฒนาคุณภ าพ ชีวิตการท างานได้ดังนี้ 1. ช่วยเพิ่มความพึงพอใจในการท างาน เสริมสร้างขวัญและก าลังใจให้พนักงาน 2. ให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น อย่างน้อยที่สุดก็เกิดจากอัตราการขาดงานที่ลดลง 3. ประสิทธิภาพในการท างานเพิ่มขึ้นจากการที่พนักงานมีส่วนร่วมและสนใจงานมากขึ้น 4. ลดความเครียด อุบัติเหตุ และความเจ็บป่วยจากการท างาน ซึ่งจะส่งผลถึง 4.1 การลดต้นทุนด้านค่ารักษาพยาบาล รวมถึงต้นทุนประกันด้านสุขภาพ 4.2 การลดอัตราการเรียกร้องสิทธิ์จากการประกัน จากปริมาณของการเบิกจ่ายลดลง 5. ความยืดหยุ่นของก าลังคนมีมาก และความสามารถในการสลับเปลี่ยนพนักงานมีมากขึ้น ซึ่งเป็นผลจากความรู้สึกใน การเป็นเจ้าขององค์กร และการมีส่วนร่วมในการท างานที่เพิ่มขึ้น 6. อัตราการสรรหาและคัดเลือกพนักงานดีขึ้น เนื่องจากความน่าสนใจเพิ่มขึ้นขององค์กร จากความเชื่อถือเรื่องคุณภาพ ชีวิตในการท างานที่ดีต่อองค์กร 7. ลดอัตราการขาดงานและการลาออกของพนักงาน โดยเฉพาะพนักงานที่ดี 8. ท าให้พนักงานรู้สึกสนใจงานมากขึ้น จากการให้พนักงานมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การใช้สิทธิออกเสียง การรับฟัง ความคิดเห็นของพนักงาน การเคารพในสิทธิของพนักงาน 9. ท าให้พนักงานมีความรู้สึกที่ดีต่อองค์กร เกิดวัฒนธรรมองค์กร เกิดขวัญก าลังใจ และเกิดผลดีในทางจิตวิทยาสภาพ แวดล้อมในการท างานภายในองค์กร นอกจากนี้ยังช่วยส่งเสริมในเรื่องสุขภาพกายสุขภาพจิต ช่วยให้เจริญก้าวหน้า มีการพัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลที่มี คุณภาพขององค์กร และยังช่วยลดปัญหาการขาดงาน การลาออกจากงาน ลดอุบัติเหตุ และส่งเสริมให้ได้ผลผลิตและ การบริหารที่ดีทั้งคุณภาพและปริมาณ องค์ประกอบของการพัฒนาคุณภาพชีวิตการท างาน วอลตัน (Walton, 1973) เป็นบุคคลหนึ่งที่ศึกษาคุณ ภาพชีวิตในแนวทางความเป็นบุคคล (Humanistic) ก าหนดว่า คุณภาพชีวิตการท างานต้องมีขอบงชี้ต่าง ๆ ใน 8 ด้าน เป็นเกณฑ์ตัดสินดังนี้ 1. การได้รับค่าตอบแทนในการท างานที่เพียงพอและยุติธรรม (Adequate and Fair Compensation) คือ ค่าตอบแทน แทนที่ได้รับจากการปฏิบัติงานนั้นจะต้องมีความเพียงพอในการด ารงชีวิตตามมาตรฐานการครองชีพที่ สมเหตุสมผลในสังคมนั้น ๆ ส าหรับค่าตอบแทนที่มีความยุติธรรม ก็เกิดจากการเปรียบเทียบค่าตอบแทนจากการ ท างานในต าแหน่งหน้าที่และความรับผิดชอบที่คล้ายคลึงกัน หรือเปรียบเทียบจากผลการปฏิบัติงานที่เท่าเทียมกัน 2. สภาพการท างานที่ค านึงถึงความปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ (Safe and Healthy Working Condition) ผู้ปฏิบัติงานไม่ควรอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่ดี ทั้งต่อร่างกายและการท างาน ควรจะมีการก าหนด มาตรฐานเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งรวมถึงการควบคุมเกี่ยวกับเสียง การรบกวนทางสายตา นอกจากนี้การที่พนักงานได้ท างานอยู่ในสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพและจิตใจที่ปลอดภัยและมีความเหมาะสม เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
3. ความมั ่นคงและความก้าวหน้าในงาน (Growth and Security) ควรให้ความสนใจการให้พนักงานได้เพิ ่ม ความสามารถในการท างานของเขามากกว่าที่จะคอยเป็นผู้น าให้เขาท าตาม จะต้องมีการมอบหมายงานใหม่ หรืองานที่ ต้องใช้ความรู้ และทักษะที ่เพิ่มขึ้นอีกในอนาคต จะต้องเปิดโอกาสให้มีการพัฒนาภายในองค์กร ในสายงาน รวมถึง สมาชิกในครอบครัวด้วย ตลอดจนการท างานที่ส่งเสริมความเจริญเติบโตก้าวหน้าในสายอาชีพและเสริมสร้างความรู้สึก มั่นคงในงานที่ท าอยู่ 4. การพัฒนาความสามารถของบุคคล (Development of Human Capacities) คือโอกาสในการพัฒนาและการใช้ ความสามารถของพนักงานในการปฏิบัติงานตามทักษะและความรู้ที่มี โดยการเปิดโอกาสให้พนักงานได้พัฒนาศักยภาพ ตัวเองให้เหมาะสมกับงานในปัจจุบัน ซึ่งจะท าให้พนักงานรู้สึกว ่าตนมีคุณค่าและรู้สึกท้าทายในการท างาน ได้ใช้ ความสามารถในการท างานเต็มที่ รวมทั้งความรู้สึกว่ามีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน ตลอดจนรวมถึงงานในอนาคต และ รวมถึงเปิดโอกาสให้พนักงานได้มีความก้าวหน้าในสายงานอาชีพ 5. การบูรณาการทางสังคมหรือการท างานร่วมกัน (Social Integration) คือการที่ผู้ปฏิบัติงานรู้สึกว่ามีคุณค่า ได้รับ การยอมรับ และร่วมมือกันท างานจากกลุ่มเพื่อนร่วมงาน รู้สึกว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเพื่อนร่วมงาน มีการเปิดเผย ตนเอง มีบรรยากาศในการท างานที่ดี ไม่มีการแบ่งชั้นวรรณะในหน่วยงาน ปราศจากการมีอคติและการท าลายซึ่งกัน และกัน นอกจากนี้การมีส่วนร่วมในสังคม (Social Integration) ท าให้พนักงานมีความรู้สึกว่าตนประสบความส าเร็จ และมีคุณค่า และเปิดโอกาสให้พนักงานได้สร้างความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น ๆ ในสังคม 6. ประชาธิปไตยในองค์กร (Constitutionalism) คือพนักงานมีสิทธิอะไรบ้าง และจะปกป้องสิทธิของตนเองได้อย่างไร ทั้งนี้ย่อมขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมขององค์กรนั้น ๆ ว่ามีความเคารพในสิทธิส่วนตัวมากน้อยเพียงใด ยอมรับในความขัดแย้ง ทางความคิด รวมทั้งวางมาตรฐานการให้ผลตอบแทนที ่ยุติธรรมแก ่พนักงานและมีการจัดเตรียมงานให้เกิดความ เหมาะสม มีความสัมพันธ์กัน นอกจากนี้ควรส่งเสริมให้เกิดการเคารพสิทธิส่วนบุคคล และให้ความเป็นธรรม ในการ พิจารณาผลตอบแทนและความเสมอภาคในการดูแลพนักงาน 7. ความสมดุลระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัว (Total Life Space) คือบุคคลจะต้องจัดความสมดุลให้เกิดขึ้นในชีวิต โดย จะต้องจัดสรรบทบาทให้สมดุล ได้แก่ การแบ่งเวลา อาชีพ การเดินทาง ซึ่งต้องมีสัดส่วนที่เหมาะสมระหว่างการใช้เวลา ว่างของตนเองและครอบครัว รวมทั้งความก้าวหน้าในอาชีพ 8. ลักษณะงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม (Social Relevance) คือการที่พนักงานมีความรู้สึกว่า กิจกรรม หรืองานที่ท า นั้นเป็นประโยชน์ต่อสังคมมีความรับผิดชอบต่อสังคม รวมทั้งองค์กรของตนได้ท าประโยชน์ให้สังคม เป็นการเพิ่มคุณค่า ความส าคัญของอาชีพและเกิดความรู้สึกภูมิใจในองค์กรของตนเอง ตัวอย ่างเช่น ความรู้สึกของพนักงานที ่รับรู้ว ่า หน่วยงานของตนมีความรับผิดชอบต่อสังคมในด้านการผลิต การก าจัดของเสีย วิธีการด้านการตลาด การฝึกปฏิบัติงาน และการมีส่วนร่วมในการรณรงค์ด้านการเมืองและอื่น ๆ ดังนั้นสรุปว่าถ้าองค์กรใดก็ตามอยากสร้างความจงรักภักดีให้เกิดขึ้นในใจของพนักงานทุกคนแล้ว คุณภาพชีวิตการ ท างานที่ดีจะช่วยเพิ่มความผูกพันที่พนักงานมีต่อองค์กรได้เป็นอย่างดี ถ้าเราลองส ารวจตรวจสอบให้ครบทั้ง 8 ด้าน และพยายามท าแต่ละด้านให้ดียิ่งขึ้น ย่อมได้ชื่อว่าเป็นองค์กรสร้างสุขให้แก่คนท างานได้ไม่ยาก เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
ปัจจัยชี้วัดคุณภาพชีวิตในการท างาน ปัจจัยชี้วัดคุณภาพชีวิตในการท างานคุณภาพชีวิตการท างาน ผู้เขียนได้ ยกตัวอย่างข้อคิดของนักวิชาการ ได้ดังนี้ Lewin (1981) ได้เสนอเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพชีวิตในการท างานไว้ 10 ประการ ดังนี้ 1.ค่าจ้างและผลประโยชน์ที่ได้รับ 2.เงื่อนไขของการท างาน 3.เสถียรภาพของการท างาน 4.การควบคุมการท างาน 5.การปกครองตนเอง 6.การยอมรับฟัง 7.ความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา 8.วิธีพิจารณาเรียกร้อง 9.ความพร้อมของทรัพยากรที่มีอยู่ 10.ความอาวุโส Desslers (1991) ได้เสนอเกณฑ์วัดคุณภาพชีวิตในการท างานไว้ 10 ประการ ดังนี้ 1.คุณค่าของงานที่ท า 2.สภาพการท างานที่มีความมั่นคงและปลอดภัย 3.ผลตอบแทนและรายได้ที่เพียงพอ 4.ความมั่นคงในการท างาน 5.มีการดูแลควบคุมอ านายการท างานที่เหมาะสมและเพียงพอ 6.ได้รับทราบผลการปฏิบัติงานของตนเอง 7.ได้รับโอกาสในการแสวงหาความรู้และความก้าวหน้าในงานที่ท า 8.โอกาสในการพิจารณาความดีความชอบ 9.มีความรู้สึกที่ดีต่อบรรยากาศองค์กร 10.การได้รับการปฏิบัติอย่างยุติธรรม ท าอย่างไรจึงจะมีคุณภาพชีวิตการท างานที่ดี การสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีในสถานที่ท างานนั้น มิใช่เรื่องที่ยากจนเกินความสามารถ หากแต่เป็นเรื่องความพร้อม ของบุคคลสองฝ่ายคือฝ่ายองค์กรหรือนายจ้าง และฝ่ายพนักงานหรือลูกจ้างที่พร้อมจะหันหน้าเข้าหากัน เ พื่อคิดหา แนวทางที่จะน าไปสู่เป้าหมายขององค์กร โดยที่ทั้งสองฝ่ายต่างมีความพึงพอใจด้วยกัน การสร้างความพึงพอใจในการท างานนี้ ผู้เขียนขอแนะน าแนวคิดทฤษฎีปัจจัยคู่ (Two-Factor Theory) ของเฟรด เดอริก เฮอร์ซเบอร์ก (Fredrick Herzberg) มาเป็นเครื่องช่วยในการชี้น าคือ ปัจจัยจูงใจ (Motivator Factors) และ ปัจจัยสุขอนามัย (Hygiene Factors) 1. ปัจจัยจูงใจ (Motivator Factors) เป็นองค์ประกอบหรือปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานโดยตรง (Intrinsic Aspects of the Job) เป็นปัจจัยที่จูงใจบุคลากรในหน่วยงานให้เกิดความพอใจ ได้แก่ ความส าเร็จของงาน การได้รับการยอมรับนับถือ ความก้าวหน้าในต าแหน่งหน้าที่การงาน ลักษณะของงาน โอกาสที่จะ ก้าวหน้าในอนาคต และความรับผิดชอบ เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
2. ปัจจัยสุขอนามัย (Hygiene Factors) เป็นองค์ประกอบที่ไม่ใช่เกี่ยวกับตัวงานโดยตรง แต่มีความเกี่ยวโยงกับ การปฏิบัติงาน (Extrinsic Factors) เป็นปัจจัยที่ไม่ใช่สิ่งจูงใจ แต่สามารถท าให้บุคลากรพึงพอใจหรือไม่พึงพอใจที่จะ ปฏิบัติงานได้ มีอยู่ 10 ประการคือ การบังคับบัญชา นโยบายบริหาร สภาพการท างาน ความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา ความสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน ต าแหน่งในบริษัท ความมั่นคงในงาน เงินเดือน และ ชีวิตส่วนตัว นอกจากนี้ยังมีปัจจัยอื่นที่มีส่วนท าให้เกิดความพึงพอใจได้เช่นกันดังนี้คือ 1.ชั่วโมงการท างานที่เหมาะสมและเป็นไปตามข้อบัญญัติของกฎหมาย 2.ลักษณะของงานที่ท า ได้แก่ การได้ท างานที่ตรงกับความต้องการและความรู้ความสามารถของตน และไม่เกิดความ เสี่ยงในขณะปฏิบัติงาน 3.การติดต่อสื่อสาร ได้แก่ การสื่อสารเพื่ออ านวยประโยชน์ให้การด าเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่น ทันต่อเวลา และความ ต้องการของบุคคลในองค์กร 4.สิ่งตอบแทนหรือผลประโยชน์ต่าง ๆ (Benefits) ได้แก่ การบริการ การรักษาพยาบาล และสวัสดิการต่าง ๆ จากที ่ได้กล่าวมาทั้งหมดนี้ จะเห็นได้ว่าการสร้างคุณภาพชีวิตการท างาน เป็นสิ่งที่จ าเป็นและมีความส าคัญอย่างยิ่ง คุณภาพชีวิตการท างานในลักษณะของความพึงพอใจในการท างานนั้น จะส่งผลต่อการปฏิบัติงาน และยังเป็นสิ่งจูงใจให้ เกิดความต้องการท างาน ซึ่งน าไปสู่ประสิทธิภาพและเกิดการเพิ่มผลผลิตของบริษัทหรือองค์การในที่สุด เรียกได้ว่า บรรลุเป้าหมาย นอกจากนี้ยังส่งผลต่อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศด้วย แนวทางพัฒนาคุณภาพชีวิตในการท างาน การด ารงชีวิตของตนเอง ถือว่าเป็นคุณลักษณะของการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของบุคคลในอีกระดับหนึ่ง ซึ่งมีแนวทางใน การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรม ดังต่อไปนี้ 1. พัฒนาทางกาย เพื่อมุ่งให้ร่างกายมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และความพิการใด ๆ 2. พัฒนาทางอารมณ์ เพื่อมุ่งให้อารมณ์มีความสนุกสนานร่าเริง ไม่มีความเครียด หรือวิตกกังวลต่อการเรียน หรือต่อ การปฏิบัติงานในหน้าที่รับผิดชอบ มีแต่ความเจริญหู เจริญตา เจริญใจ มองโลกในแง่ดีตลอดไป 3. พัฒนาทางสังคม เพื่อมุ่งให้เป็นคนที่มีเกียรติ ได้รับการยกย่อง เคารพนับถือการยอมรับความรู้สึกเป็นเจ้าของ และ ความต้องการเป็นส่วนหนึ่งของสังคม 4. พัฒนาทางความคิด เพื่อมุ่งให้เป็นคนที่มีความต้องการที่จะรู้และเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการ คิดค้นหาวิธีการป้องกันแก้ไขปัญหาทั้งหลาย ให้ตัวเองได้ด ารงชีพอยู่อย่างสุขสบาย 5. พัฒนาทางจิตใจ เพื่อมุ่งให้เป็นคนที่มีคุณค่า มีประโยชน์ต่อชุมชน เป็นที่พึ่งที่ยึดเหนี่ยวทางใจ มีความมั่นใจว่าชีวิตนี้ มีคุณค่ามีความสุขหรือมีชีวิตที่ดีกว่าในอนาคต ได้รับความหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งหลาย 6. พัฒนาทางปัญญา เพื่อมุ่งให้เป็นคนมีความเฉลียวฉลาด สามารถคิดพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ได้อย่างมีเหตุผล ซึ่งปัญญา จะแตกฉานในบุคคลได้นั้น จ าเป็นจะต้องมีการศึกษาเล่าเรียนมีความสนใจเอาใจใส่ต่อวิชาความรู้ที่ครูอาจารย์อบรมสั่ง สอนเพื่อให้เป็นผู้มีความรู้ความสามารถและน าไปพัฒนาชีวิตที่มีคุณค่าต่อไปภายภาคหน้า 7. พัฒนาทางวินัย เพื่อมุ่งให้เป็นคนมีระเบียบวินัยในตนเอง สามารถเคารพ และปฏิบัติต่อภาระหน้าที่ต่าง ๆ ที่มีอยู่ให้ อยู ่ในกรอบของข้อบังคับของกฎเกณฑ์ที ่ได้ก าหนดขึ้น ไม ่ประพฤติตนออกนอกลู ่นอกทาง การมีวินัยที ่ดีนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ได้ทรงมีทรรศนะว่า “คนที่มีระเบียบวินัยนั้นเป็นผู้ที่เข้มแข็ง เป็นผู้ที่หวังดีต่อ ตัวเอง เป็นผู้จะมีความส าเร็จในอนาคต” (10 กันยายน 2524) เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
พระต ำหนักดอยผำตั้ง ตั้งอยู่ภายในพื้นที่ของหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ดอยอินทนนท์ที่8(ดอยผาตั้ง) อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่อีกสถานที่ท่องเที่ยวชม พญาเสือโคร่งบานบนดอยอินทนนท์ที่อยากเชิญชวนให้ไปเที่ยวชม ที่นี่มีต้นพญา เสือโคร่งที่จะบานสะพรั่งทั่วสนามหญ้าสีเขียวแสนกว้าง สามารถนั่งเล่นหรือเดินชม ดอกพญาเสือโคร่งริมสนามหญ้า และเส้นถนนภายในพระต าหนัก ฯ และเนื่องจาก ตั้งอยู่บนที่สูง จึงสามารถมองเห็นวิวทิวทัศน์ของภูเขาที่อยู่รายล้อมได้อีกด้วย เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566 ท ่ องเท ี ่ ยว ท ้ องถ ิ ่ น
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566 พระต ำหนักดอยผำตั้ง ตั้งอยู่ถัดจากแยกบ้านขุนกลาง (ทางไปขุนวาง) เพียงเล็กน้อย สามารถขับรถส่วนตัวขึ้นไปได้หากผ่านตลาดม้งอินนทนนท์ก็เตรียมชิดซ้ายแยกขึ้นไปตาม ถนนเส้นเล็กๆ สู่พระต าหนักดอยผาตั้งเส้นทางขึ้นไปยังดอยผาตั้งจะค่อนข้างแคบและชัน ต้องขับรถด้วยความระมัดระวังรถทุกชนิดสามารถขึ้นไปถึงได้ถนนเป็นถนนราดยางไป จนถึงพระต าหนัก เมื่อมาถึงสามารถจอดรถได้บริเวณลานจอดรถ จากนั้นเดินลงไปยังพื้น สนามหญ้าซึ่งสะพรั่งไปด้วยสีชมพูของดอกนางพญาเสือโคร่งได้เรียกได้ว่าเป็นจุดชมพญา เสือโคร่งที่จอดรถปุ๊บก็เดินลงไปชมได้เลย พื้นที่สนามหญ้ากว้า งมากจ ะ นั่งเล่นพักผ่อนภายใต้ร่มเงาของ ต้นนางพญาเสือโคร่ง หรือจะเดิน ถ่ายภาพยังมุมต่างๆ
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566 จากลานสนามหญ้ามองเห็นเรือนประทับแรม ดอยผาตั้งหรือที่นักท่องเที่ยวเรียกกันติด ปากว่าพระต าหนักดอยผาตั้ง ซึ่งเป็นเรือน รับรองพิเศษของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตต์ พระบรมราชินีนาถ(ในรัชกาลที่9) ที่มีดอก พญาเสือโคร่งสีชมพูปกคลุมสวยงามมาก ต้นนางพญาเสือโคร่งที่นี่ปลูกอย่างเป็นระเบียบ รอบสนามหญ้า ผืนหญ้าสีเขียว ผสมผสานกันระหว่างสีชมพู ของดอกไม้และท้องฟ้าสีฟ้าได้อย่างลงตัว แถม นักท่องเที่ยวไม่เยอะมากเหมือนกับขุนวางหรือขุนช่างเคี่ยน มีความสงบและเป็น ธรรมชาติตอนนี้เริ่มมีใบแซมขึ้นมาแล้ว แต่ยังสวยอยู่ นอกจากต้นพญาเสือโคร่งที่ปลูกริมสนามหญ้าแล้ว ยังมีที่ปลูกริมถนนภายในพระ ต าหนักด้วย พระต าหนักดอยผาตั้ง เป็นอีกหนึ่งจุดดอกนางพญาเสือโคร่งใน บรรยากาศที่เย็นสบาย มองเห็นวิวทิวเขา และธรรมชาติที่ยังสวยงามที่อยู่รายล้อม
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ตุลาคม 2566
จัดท าโดย งานประชาสัมพันธ์ เทศบาลต าบลบ้านหลวง วารสารประจ าเดือน เทศบาลต าบลบ้านหลวง อ าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่