The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รูปเล่ม เดือนมิย66

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wimon Ann, 2023-07-06 22:29:27

รูปเล่ม เดือนมิย66

รูปเล่ม เดือนมิย66

วารสารเทศบาลต าบลบ้านหลวง อ าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เทศบาลต าบลบ้านหลวง วารสารเทศบาล ประจ าเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2566


สารบัญ contents 04 05 06 07 08 09-10 เทศบาลต าบลบ้านหลวง โครงสร้างส่วนราชการเทศบาลต าบลบ้านหลวง ท าเนียบคณะบริหาร ท าเนียบสภาเทศบาล หัวหน้าส่วนราชการ ประวัติความเป็นมา เทศบาลต าบลบ้านหลวง ภาพกิจกรรม ผลการด าเนินงาน ผลการด าเนินงาน งานกู้ชีพ-ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยฯ คุณภาพชีวิต - สังคม ท่องเที่ยวท้องถิ่น รายการรับ-จ่าย 11-21 22-25 26-29 30-33 34-35


เทศบาลต าบลบ้านหลวงมีหมู่บ้านในความรับผิดชอบ จ านวน 19 หมู่บ้าน บ้านขุนยะ หมู่ที่5 บ้านปะ หมู่ที่14 บ้านป่าแขม หมู่ที่6 บ้านแม่ปอน หมู่ที่15 บ้านขุนกลาง หมู่ที่7 บ้านตาดมื่น หมู่ที่16 บ้านผาหมอน หมู่ที่8 บ้านอ่างกาน้อย หมู่ที่17 บ้านเมืองอาง หมู่ที่9 บ้านแม่ยะน้อย หมู่ที่18 บ้านแม่หอย หมู่ที่10 บ้านห้วยเฮี๊ยะ หมู่ที่19 บ้านเมืองกลาง หมู่ที่11 บ้านน ้าตกแม่กลาง หมู่ที่20 บ้านหัวเสือ หมู่ที่12 บ้านกู่ฮ่อสามัคคี หมู่ที่21 บ้านน ้าลัด หมู่ที่13 บ้านหนองหล่ม หมู่ที่22 บ้านใหม่ห้วยเฮี๊ยะ หมู่ที่23 หมู่ 7 หมู่ 8 หมู่ 17 หมู่ 22 หมู่ 9 หมู่ 6 หมู่ 10 หมู่ 14 หมู่ ห 16 มู่ 18 ห มู่ 15 หมู่ 5 หมู่ 12 หมู่ 13 หมู่ 19 หมู่ 23 หมู่ 20 หมู่ 21 หมู่ 11 แผนท ี ่ ต าบลบา ้ นหลวง ครอบคลุมพื้นที่ 19 หมู่บ้าน


เทศบาลต าบลบ้านหลวง ตามที่กระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศจัดตั้งองค์การบริหารส่วนต าบล บ้านหลวงขึ้น เป็นเทศบาลต าบลบ้านหลวง ตั้งแต่วันที่27 ธันวาคม 2552 โดยเป็น เทศบาลขนาดเล็ก ได้ก าหนดโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายในและการจัด ระบบงาน เพื่อรองรับภารกิจตามอ านาจหน้าที่ความรับผิดชอบ ออกเป็น 5 ส่วน ได้แก่ ส านักปลัด กองคลัง กองช่าง กองการศึกษา กองสาธารณสุข มีกรอบอัตราก าลัง ทั้งสิ้น 28 อัตรา โดยได้ก าหนดต าแหน่งในสายงานต่าง ๆ จ านวนต าแหน่ง และระดับ ต าแหน่งให้มีความเหมาะสมกับภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ ปริมาณงาน คุณภาพงาน และเพื่อให้สามารถแก้ปัญหาของเทศบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตามที่นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง ได้แถลงนโยบายการบริหารราชการของ เทศบาลต าบลบ้านหลวง ต่อสภาเทศบาลต าบลบ้านหลวง ซึ่งได้ก าหนดนโยบายในการ บริหารเทศบาลต าบลบ้านหลวง รวม 3 ด้าน ดังนี้ 1. นโยบายผู้บริหาร เรื่อง นโยบายคุณธรรมละความโปร่งใส 2. นโยบายด้านทรัพยากรบุคคล 3. นโยบายด้านการป้องกันทุจริต วารสารเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือน มิถุนายน 2566


ปลัดเทศบาลต าบลบ้านหลวง ส านักปลัด กองคลัง กองสาธารณสุขฯ กองช่าง ฝ่ายอ านวยการ -บริหารงานทั่วไป งานวิเคราะห์นโยบาย และแผน -งานส่งเสริมงาน ท่องเที่ยว -งานพัฒนาชุมชน -งานสวัสดิการสังคม -งานกิจการสภา -งานทะเบียนราษฎร และบัตรประจ าตัว ประชาชน ฝ่ายปกครอง -งานนิติบุคล -งานการเจ้าหน้าที่ -งานป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย -งานส่งเสริม การเกษตร -งานรักษาความสงบ ฝ่ายบริหารงานการ คลัง -งานการเงินและบัญชี -งานสถิติการคลัง -งานพัสดุและ ทรัพย์สิน ฝ่ายพัฒนารายได้ -งานพัฒนารายได้ -งานแผนที่ภาษีและ ทะเบียนทรัพย์สิน ฝ่ายบริหารงานสาธารณสุขฯ -งานควบคุมและป้องกันโรค -งานส่งเสริมสุขภาพ -งานจัดการมูลฝอยและสิ่ง ปฏิกูล -งานบริหารงานทั่วไป ฝ่ายแบบแผนและ ก่อสร้าง -งานแบบแผนและ ก่อสร้าง -งานการโยธา -ผังเมือง -งานบริหารงานทั่วไป กองศึกษา ฝ่ายบริหารการศึกษา -งานบริหารการศึกษา -กิจการโรงเรียน -งานส่งเสริมประเพณี ศาสนา และวัฒนธรรม -งานกิจกรรมเด็กและ เยาวชน -งานกีฬาและนันทนาการ รองปลัดเทศบาลต าบลบ้านหลวง หน่วยตรวจสอบภายใน - งานตรวจสอบภายใน วารสารเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือน มิถุนายน 2566


คณะผู้บริหาร เทศบาลต าบลบ้านหลวง นายบุญรัตน์ อุตตะมะ ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์ นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง นายศรีหมื่น จอมนที รองนายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง นายอุดมชัย มหายาโน รองนายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง นายมนูญ เสริมศักดิ์ตระกุล เลขานุการนายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง นายอินค า เตจ๊ะวันโน ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ นายกเทศมนตรี นายศรีหมนื่ปฏิกา ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ นายกเทศมนตรี นายผจญ ชาญชาติชาย ที่ปรึกษาตกิตติมศักดิ์ นายกเทศมนตรี วารสารเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือน มิถุนายน 2566


สมาชิกสภา เทศบาลต าบลบ้านหลวง นายสมชาย ดวงเดช ประธานสภาเทศบาล นายสมโภช พงษ์เจริญวรรณ รองประธานสภาเทศบาล นางสาวเกศรา เดโชชัยไกวัล รองประธานสภาเทศบาล นายสมบัติ จอมมลทิน สมาชิกสภาฯ เขต 1 นายสมพร อินต๊ะยศ สมาชิกสภาฯ เขต 1 นางสาววราภรณ์ พรมยาโน สมาชิกสภาฯ เขต 1 นายธานินทร์ ธิปัญญา สมาชิกสภาฯ เขต 1 นายพงษ์ศักดิ์วนาลัยนิเวศน์ สมาชิกสภาฯ เขต 2 นายกรฤทธิ์ดุเจโต๊ะ สมาชิกสภาฯ เขต 2 นายก่อตี สีสุวรรค์ สมาชิกสภาฯ เขต 2 นายทรงวุฒิ แซ่วะ สมาชิกสภาฯ เขต 2 นายยุทธภูมิ พงศ์ไพรสณฑ์ สมาชิกสภาฯ เขต 2 เขต 1 เขต 2 วารสารเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือน มิถุนายน 2566


หัวหน้าส่วนราชการ เทศบาลต าบลบ้านหลวง นายอภิสิทธิ์ยลละออ ป ลัดเทศบ าล นางสาวกัญฐ์ธมล ดวงวิโรจน์ รองปลัดเทศบาล นายรพีพงศ์ ชัยอาภัย หัวหน้าส านักปลัด นายสมพงษ์ แสนวงค์มา ผู้อ านวยการกองสาธารณสุขฯ นางเกศร สุกัน ผู้อ านวยการกองคลัง นายประธาน ปินตาดง ผู้อ านวยการกองช่าง นางสุภนิดา จินาอิ ผู้อ านวยการกองการศึกษา


ประว ั ต ิ ความเป็ นมา “ เทศบาลต าบลบ้านหลวง” การเปลี่ยนระบบการปกครองจากประเทศราชเป็นแบบ มณฑลเทศาภิบาล ท าให้นครเชียงใหม่ซึ่งมีฐานะเป็นเมือง ประเทศราช ถูกลดบทบาทลงมาเป็นหัวเมืองหนึ่งในมณฑล พายัพ พ.ศ. 2443 ทางราชการได้ตั้งชุมชนที่อยู่โดยรอบวัด พระธาตุศรีจอมทอง ให้เป็นเมืองหนึ่ง โดยใช้ชื่อ "แขวง จอมทอง" และให้ใช้ชื่อเรียกตามต านานวัดพระศรีจอมทอง (ปัจจุบันยกระดับเป็น วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร) แขวง จอมทอง มีพื้นที่ปกครอง 4 แคว้น คือ แคว้นบ้านหลวง แ ค ว้น ส อ ง แ ค ว แ ค ว้น เตี๊ย ะ แ ค ว้น บ้า น แ ป ะ ต่อม า กระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศยกฐานะสภาต าบลบ้านหลวง เป็นองค์การบริหารส่วนต าบลบ้านหลวง และได้ประกาศในราช กิจจาอุเบกษา เล่มที่113 ตอนพิ เศษ 5ง ลงวันที่25 ธันวาคม ๒๕๓๙ โดยให้มีผลบังคับตั้งแต่วันที่23กุมภาพันธ์ 2540 เป็น ต้นไป ต่อมาได้ยกฐานะเป็นเทศบาลต าบลบ้านหลวง ตาม ประกาศกระทรวงมหาดไทย ณ วันที่27 ธันวาคม พ.ศ. 2552 โดยอาศัยอ านาจตามความในมาตรา 42 แห่งพระราชบัญญัติ สภาต าบลและองค์การบริหารส่วนต าบล พ.ศ. 2537ซึ่งแก้ไข เพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติสภาต าบลและองค์การบริหาร ส่ ว น ต า บล(ฉบับที่5) พ.ศ.2 5 4 6 แ ล ะม า ต ร า 7 แ ห่ ง พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 วิสัยทัศน์ (Vision) กินอิ่ม นอนอุ่น ชุมฉ ่าน ้าท่า ท่องเที่ยวพัฒนา ผืนป่าเขียวขจี เศรษฐกิจดีแบบพอเพียง เป็นรูปวงกลมล้อมรอบภายในเป็นภาพ พระมหาธาตุนภเมทนีดล และพระมหาธาตุน ภพลภูมิสิริซึ่งประดิษฐานอยู่บนยอดดอยที่ สูงที่สุดในปร ะเทศไทย เสมือนกา รได้ ปฏิบัติงาน ภายใต้พระราชด ารัสและรอยพระ ยุคคลบาทของพระบาทสมเด็จสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว และสมเด็พระบรมราชินีนาถ ดวงตราสัญลักษณ์ เทศบาลต าบลบ้านหลวง วารสารเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือน มิถุนายน 2566


ที่ตั้ง เทศบาลต าบลบ้านหลวง ตั้งอยู่ที่เลขที่1 หมู่ที่20 ต าบลบ้านหลวง อ าเภอจอมทอง จังหวัด เชียงใหม่อยู่ห่างจากที่ว่าการอ าเภอจอมทองประมาณ 10 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากจังหวัดเชียงใหม่ ประมาณ 65 กิโลเมตร เนื้อที่โดยประมาณ 364 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น ร้อยละ36.4 ของเนื้อที่ทั้งอ าเภอ (อ าเภอจอมทองมีเนื้อที่1,055.2 ตารางกิโลเมตร) สภาพท ั่ วไป ทิศเหนือ ติดต่อ ต าบลแม่วิน อ าเภอแม่วาง และต าบลสันติสุข อ.ดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่ ทิศใต้ ติดต่อ ต าบลดอยแก้ว และ ต าบลสบเตี๊ยะ อ าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ทิศตะวันออก ติดต่อ ต าบลข่วงเปา และ ต าบลสบเตี๊ยะอ าเภอ จอมทอง จังหวัด เชียงใหม่ ทิศตะวันตก ติดต่อต าบล ช่างเคิ่ง ต าบลท่าผา และ ต าบลกองแขก อ าเภอ แม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ สภาพภูมิประเทศ เทศบาลต าบลบ้านหลวงมีที่ราบส าหรับการเพาะปลูกน้อย ส่วนใหญ่จะเป็นภูเขาสูงพื้นที่อยู่ในเขต อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์เป็นแหล่ง ต้นน ้าที่ส าคัญ มีน ้าตกที่สวยงามอยู่หลายแห่ง ซึ่งเป็นสถานที่ ท่องเที่ยวที่ส าคัญของอ าเภอจอมทอง พื้นที่ราบ (หมู่ที่1,2,3,4,13) , พื้นที่เชิงเขา (หมู่ที่10,11,12,14,16,20,21) และ พื้นที่ตั้งบนเขา เขตอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์) หมู่ที่5,6,7,8,9,15,17,18,19,22,23


วารสารเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือน มิถุนายน 2566 ภาพกิจกรรม ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนมิถุนายน 2566 วันที่ 1 มิถุนายน 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์ (นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร, สมาชิกสภาเทศบาล,ข้าราชการ, ก านันต าบลบ้านหลวง, ผู้น าชุมชนต าบลบ้านหลวง, ผู้อ านวยการรพ.สต.บ้านเมืองกลาง ,รพ.สต.บ้านเเม่หอย,รพ.สต.ดอยอิน ทนนท์ เเละภาคีเครือข่ายของเทศบาลต าบลบ้านหลวงทุกท่านที่เกี่ยวข้องกับการรับการคัดเลือก ?รางวัลองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประเภททั่วไป? ประจ าปี 2566 โดยมีการน าเสนอข้อมูลนวัตกรรมโครงการ ฅนบ้านหลวง ม่วนอ๊ก ม่วนใจ๋ ห่างไกล๋โฮงยา (Banluang Healthlistic Care) ณ ห้องประชุมสภาชั้น 2 เทศบาลต าบลบ้านหลวง ทั้งนี้ได้รับ เกียรติจากนายยุทธพงศ์ ไชยศร (นายอ าเภอจอมทอง) เเละนายสุรินทร์ สุริยงค์(สาธารณสุขอ าเภอจอมทอง) เข้าร่วมการตรวจ ประเมินคัดเลือก ?รางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดี โดยมี ผศ.ดร.จิราวัฒน์เมธาสุทธิรัตน์ เเละ ผศ.ณัฐพงษ์คันธรสคณะกรรมการตรวจประเมินเชิงลึกที่มีการบริหารการจัดการ ที่ดี ประจ าปีงบประมาณ 2566 เดินทางมารับฟังพิจารณาคัดเลือกการด าเนินงานของทางเทศบาลต าบลบ้านหลวง 11


วารสารเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือน มิถุนายน 2566 12 วันที่ 2 มิถุนายน 2566 นายสมพงษ์ เเสนวงศ์มา(ผอ.กองสาธารณสุข ) มอบหมายให้นางสาวภัคภร วงศ์นันตา (นักจัดการงานทั่วไป กองสาธารณสุข) เเละเจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขเเละสิ่งเเวดล้อม ทต.บ้านหลวง เข้าร่วมอบรมการดูแลผู้ป่วยจิตเวข ผู้ใช้สาร เสพติดที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง จังหวัดเชียงใหม่ ณ ห้องประชุมต ารวจภูธรจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 2 มิถุนายน 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง ยินดีต้อนรับ เทศบาลต าบลศรีเตี้ย จังหวัดล าพูน ทุกท่าน เเละยินดีต้อนรับ นางสุภนิดา จินาอิ ย้ายมาด ารง ต าเเหน่งผู้อ านวยการกองการศึกษา สังกัดกองการศึกษา เทศบาลต าบลบ้านหลวง อ าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 7 มิถุนายน 2566 งานพัฒนารายได้ กองคลัง เทศบาลต าบลบ้านหลวง ออกบริการรับช าระค่าภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง (ทะเบียนประวัติการใช้ที่ดิน) และค่าธรรมเนียมเก็บและขนมูลฝอย ณ หมู่ที่ 17 บ้านอ่างกาน้อย ต าบลบ้านหลวง อ าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่


13 วารสารเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือน มิถุนายน 2566 วันที่ 9 มิถุนายน 2566 นายรพีพงษ์ชัยอาภัย(หน.ส านักเทศบาล) ,ว่าที่รต.ปฐมพงษ์ปันปวนมา(หน.ฝ่ายปกครอง) พร้อมด้วย งานส่งเสริม การเกษตร ทต.บ้านหลวง และเจ้าหน้าที่เทศบาล จัดโครงการปลูกป่าสร้างรายได้สร้างพื้นที่สีเขียว เพื่อเสริมทักษะสร้างรายได้ แก่เกษกรชุมชนบ้านป่าแขม หมู่ที่ 6 โดยได้รับเกียรติจากนายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) เป็น ประธานในการเปิดโครงการอบรมในครั้งนี้ วันที่ 9 มิถุนายน 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) มอบหมายให้ช่างไฟฟ้าเทศบาลต าบลบ้านหลวง ออกบริการ ซ่อมเสียงตามสายหมู่บ้านตามค าร้องขอชุมชน ณ บ้านผาหมอน ม.8 ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ วันที่ 9 มิถุนายน 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) มอบหมายให้ ช่างไฟฟ้า เทศบาลต าบลบ้านหลวง ออก บริการซ่อมแซมไฟสาธารณะ(ไฟกิ่ง) ณ บ้านปะ ม.14ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ เพื่อการบริการและสะดวกต่อการ เดินทางของประชาชนในพื้นที่


14 วารสารเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือน มิถุนายน 2566 วันที่ 9 มิถุนายน 2566 นางเกศร สุกัน (ผอ.กองคลัง) และเจ้าหน้าที่งานพัฒนารายได้ออกรับช าระค่าภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ณ บ้านเมืองอาง ม.9 ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ วันที่ 12 มิถุนายน 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์ (นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) นายอภิสิทธิ์ ยลละออ (ปลัดเทศบาล) นางสาวกัญฐ์ธมล ดวงวิโรจน์ (รองปลัดเทศบาล) พร้อมหัวหน้าส่วนราชการ และพนักงานเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประชุมพนักงานเทศบาล ต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนมิถุนายน 2566 ในโอกาสนี้นายกฯ ได้มอบนโยบายการบริหารงาน ตลอดจนติดตามการ ด าเนินงานที่ผ่านมา ณ ห้องประชุม ชั้น 2 เทศบาลต าบลบ้านหลวง อ าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่


15 วารสารเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือน มิถุนายน 2566 วันที่ 13 มิถุนายน 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง โดยนายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์ (นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) พร้อมคณะกรรมการ บ้านมั่นคง ผู้น าชุมชนในต าบลบ้านหลวง ร่วมประชุมร่างเเผนพัฒนาบ้านมั่นคง ณ ห้องประชุมชั้น 2 เทศบาลต าบลบ้านหลวง วันที่ 13 มิถุนายน 2566 นายสมพงษ์ แสนวงค์มา (ผู้อ านวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม) พร้อมเจ้าหน้าที่กอง สาธารณสุขฯ ออกตรวจ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ(ปั้มน้ ามันหยอดเหรียญ) เเละฟาร์มไก่ประดู่หางด า ในพื้นที่ต าบลบ้านหลวง อ าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ จ านวน 4 หมู่บ้านได้แก่ บ้านป่าเเขม หมู่ที่ 6 , บ้านขุนกลาง หมู่ที่ 7 เเละ บ้านเมืองกลาง หมู่ที่ 11 เพื่อเป็น ข้อมูลประกอบการพิจารณาต่อใบอนุญาตให้กับผู้ประกอบการต่อไป วันที่ 13 มิถุนายน 2566 นางสาวกัญฐ์ธมล ดวงวิโรจน์(รองปลัดเทศบาล) , นางเกศร สุกัน (ผอ.กองคลัง) และเจ้าหน้าที่งานพัฒนารายได้ออกรับ ช าระค่าภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ณ บ้านหนองหล่ม ม.22 ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่


16 วารสารเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือน มิถุนายน 2566 วันที่ 13 มิถุนายน 2566 ช่างไฟฟ้าเทศบาลต าบลบ้านหลวง ออกบริการช่อมไฟกิ่งสาธารณะ บริเวณบ้านเเม่ปอน ม.15 เนื่องจากระบบไฟฟ้า สาธารณะ(ไฟกิ่ง) เกิดการช ารุดบริเวณดังกล่าว เพื่อการบริการและสะดวกต่อการเดินทางของประชาชนในพื้นที่ เทศบาลต าบล บ้านหลวง วันที่ 14 มิถุนายน 2566 นางเกศร สุกัน (ผอ.กองคลัง) และเจ้าหน้าที่งานพัฒนารายได้ออกรับช าระค่าภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ณ บ้านผาหมอน ม.8 ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ วันที่ 14 มิถุนายน 2566 พนักงานครูเทศบาลของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดเทศบาลต าบลบ้านหลวง เข้ารับการประเมินวิทยฐานะเพื่อให้มีหรือเลื่อน วิทยฐานะครูช านาญการ ได้เเก่ นางจันทร์ทิพย์ รันตชัย(ครูศพด.อ่างกาน้อย) , นางสาวรุจิรา ลุนละวัน(ครูศพด.น้ าตกแม่กลาง) , นางนงลักษณ์ รังศิริกุล(ครูศพด.หนองหล่ม) และนางสาวดวงพร วจีสุรีย์นนท์(ครูศพด.เด่นสัน) รับการประเมินเพื่อให้มีหรือ เลื่อนวิทยฐานะ ต าแหน่ง ครูช านาญการ วิทยฐานะ โดยมีนางสาวกัญฐ์ธมล ดวงวิโรจน์(รองปลัดเทศบาล) พร้อมด้วย คณะกรรมการการประเมิน ร่วมกับ ผอ.กองการศึกษา นางสุภนิดา จินาอิ เป็นคณะกรรมการประเมิน ณ หองประชุมชั้น 2 เทศบาลต าบลบ้านหลวง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาการปฏิบัติงาน และส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาชีพของพนักงาน ครูเทศบาล


17 วารสารเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือน มิถุนายน 2566 วันที่ 14 มิถุนายน 2566 กรมทรัพยากรน้ า กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เชียงใหม่ ร่วมกับ ผู้น าชุมชน ม .10 บ้านเเม่หอย ,ผู้น า ชุมชน ม.20 บ้านน้ าตกแม่กลาง , นายประธาน ปินตาดง(ผอ.กองช่าง) เเละเจ้าหน้าที่งานป้องกันเเละบรรเทาสาธารณภัย ทต. บ้านหลวง ลงพื้นส ารวจสถานที่ติดตั้งอุปกรณ์ส่งสัณญานแจ้งเตือนภัยล่วงหน้า ส าหรับพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย-ดินถล่ม บริเวณ สะพานบ้านหล่ายกลาง(ปางเจา)ม.10 บ้านเเม่หอย ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ เพื่อช่วยลดความเสียหายจากเหตุภัย พิบัติดังกล่าวคือ การติดตามเฝ้าระวังและเตือนภัยล่วงหน้า เป็นระบบหลักการง่ายๆ ในการตรวจวัดข้อมูลปริมาณน้ าฝน หรือ ระดับน้ าท่า พร้อมทั้งหาความสัมพันธ์ของข้อมูลปริมาณน้ าฝนกับเหตุการณ์ที่มีแนวโน้มจะเกิดขึ้น และสามารถสร้าง ความเสียหายได้ วันที่ 14 มิถุนายน 2566 นายสมพงษ์ เเสนวงศ์มา(ผู้อ านวยการส านักงานสิ่งแวดล้อม ทต.บ้านหลวง ) นายประธาน ปินตาดง(ผู้อ านวยการกอง ช่าง) นางสาวพิมพ์ศา วสุสิริธันย์(หัวหน้าฝ่ายบริหารงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม) นางสาวภัคภร วงศ์นันตา(นัก จัดการงานทั่วไปกองสาธารณสุขฯ) พ.อ.อ.สรายุทธ สุขสมโสตร(เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยช านาญงาน) ลงพื้นที่ร่วมกับผู้น าชุมชน ม.10 บ้านเเม่หอย เข้าตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีมีชาวบ้านร้องเรียนว่าได้รับความเดือดร้อน กลิ่นเหม็นจากการเลี้ยงสุกรของนางยุวดี สุสิงโสด ม.10 บ้านเเม่หอย ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่


18 วารสารเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือน มิถุนายน 2566 วันที่ 15 มิถุนายน 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) ,ว่าที่ร้อยตรี ปฐมพงษ์ปวนปันมา(หัวหน้าฝ่ายปกครอง) , พ.อ.อ.สรายุทธ สุขสมโสตร(เจ้าพนักงานป้องกันเเละบรรเทาสาธารณภัย ทต.บ้านหลวง) ร่วมประชุมในเวทีสรุปบทเรียนการ จัดการไฟป่าฝุ่นควัน ตั้งรับ ปรับตัว เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการไฟในสถานการณ์เอลนีโญ่ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้สถานการณ์ที่ ผ่านมาทั้งระบบข้อมูล กลไกการบริหารจัดการทั้งในระดับจังหวัดและระดับท้องถิ่น การสนับสนุนงบประมาณจากภาคส่วน ต่างๆ และตั้งรับ ปรับตัวการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการไฟภายใต้สถานการณ์เอลนีโญ ที่ส าคัญร่วมกันจัดท าข้อเสนอต่อ แนวทางในการบริหารจัดไฟป่าฝุ่นควันในปี 2567 ณ ห้องประชุมอาคารศิริ พาณิช ถนนห้วยแก้ว จ.เชียงใหม่ วันที่ 19 มิถุนายน 2566 นายอภิสิทธิ์ ยลละออ(ปลัดเทศบาล) นางเกศร สุกัน(ผู้อ านวยการกองคลัง) นางสาวพิมพ์ศา วสุสิริธันย์(หัวหน้าฝ่าย บริหารงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม) เเละกรรมการฯ ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลต าบลบ้าน หลวง ครั้งที่ 3/2566 ณ ห้องประชุมชั้น 2 เทศบาลต าบลบ้านหลวง วันที่ 19 มิถุนายน 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) พร้อมงานป้องกันเเละบรรเทาสาธารณภัย ทต.บ้านหลวง ร่วมพีธีฌาปณกิจศพ(โครงกระดูก)ลุงจันทร์ เปราะปันสุข ม.16 ต.บ้านหลวง กรณีคนสูญหายจากการหลงป่าไปเก็บเห็ดเมื่อปีที่ เเล้ว เมื่อเวลาผ่านไปหลังจากค้นหาเป็นเวลานานจนในที่สุดได้ไปเจอโครงกระดูกที่บ้านแม่แอบซึ่งญาติยืนยันว่าเป็นลุงจันทร์ จริงตามวัตถุพยาน จึงได้ส่งไปตรวจพิสูจน์บุคคล หลังจากเสร็จสิ้นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทางญาติได้รับโครงกระดูก ของลุงจันทร์มาประกอบพิธีทางศาสนา ณ สุสานบ้านเมืองกลาง ม.11 อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่


19 วารสารเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือน มิถุนายน 2566 วันที่ 20 มิถุนายน 2566 นางสาวกัญฐ์ธมล ดวงวิโรจน์(รองปลัดเทศบาล) , นางเกศร สุกัน (ผอ.กองคลัง) และเจ้าหน้าที่งานพัฒนารายได้ออกรับ ช าระค่าภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ณ บ้านห้วยเฮี๊ยะ ม.19 ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ วันที่ 21 มิถุนายน 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) มอบหมายให้นายรพีพงษ์ชัยอาภัย(หน.ส านักปลัด) เเละ เจ้าหน้าที่เทศบาลต าบลบ้านหลวง ด าเนินการท าความสะอาด และปรับภูมิทัศน์ บ่อน้ าศักดิ์สิทธิ์ ณ เส้นทางธรรมชาติอ่างกา ยอดดอยอินทนนท์ วันที่ 22 มิถุนายน 2566 นางเกศร สุกัน (ผอ.กองคลัง) และเจ้าหน้าที่งานพัฒนารายได้ออกรับช าระค่าภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เพื่อเป็นการอ านวย ความสะดวกในการบริการประชาชน ณ บ้านเเม่ยะน้อย ม.18 ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่


20 วารสารเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือน มิถุนายน 2566 วันที่ 23 มิถุนายน 2566 นายสมพงษ์ เเสนวงค์มา(ผอ.กองสาธารณสุข ทต.บ้านหลวง) ลงพื้นที่ตรวจสอบบ่อขยะ โดยมอบหมายให้พนักงานขับรถไถ เทศบาลลงเกลี่ยบ่อขยะที่ล้น เพื่อท าการปรับพื้นที่ทิ้งขยใหม่ เเละขอความร่วมมือให้พี่น้องประชาชนช่วยกันรักษาสุขภาพ และ ห้ามน าขยะมาทิ้งนอกพื้นที่ หรือห้ามเผาโดยเด็ดขาด วันที่ 26 มิถุนายน 2566 นายศรีหมื่น จอมนที (รองนายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) ร่วมกับคณะกรรมการติดตามเเละประเมินผลเเผนพัฒนา เทศบาลต าบลบ้านหลวง ณ ห้องประชุมชั้น 2 เทศบาลต าบลบ้านหลวง เพื่อจัดท าก าหนดเเนวทางวิธีการติดตามเเละ ประเมินผลเเผนพัฒนาเทศบาลต าบลบ้านหลวง เเละ เลือกประธาน/เลขานุการ คณะกรรมการติดตามเเละประเมินผลเเผน พัฒนาเทศบาลต าบลบ้านหลวง วันที่ 26 มิถุนายน 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์ (นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) ร่วมกิจกรรมรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด อ าเภอจอมทอง เนื่องในวันต่อต้านยาเสพติดโลก ณ อาคารหอประชุมโรงเรียนจอมทอง พร้อมร่วมท าบันทึกข้อตกลงความ ร่วมมือ (MOU) เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันสิ่งเสพติดให้กับนักเรียน ระหว่างโรงเรียนจอมทอง กับ ภาคีเครือข่าย


21 วารสารเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือน มิถุนายน 2566 วันที่ 30 มิถุนายน 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง จัดการปัจฉิมนิเทศ โครงการพัฒนาเเละปรับปรุงระบบเเผนที่ภาษีเเละทะเบียนทรัพย์สิน พร้อม สาธิตการใช้งานระบบเเผนที่ภาษีเเละทะเบียนทรัพย์สินเต็มรูปแบบ โดยนายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีต าบล บ้านหลวง) สมาชิกสภาเทศบาล ผู้น าชุมชนทั้ง 19 หมู่บ้าน เข้ารับฟังการบรรยาย เเละได้รับเกียรติจากอาจารย์ศุภชาติ บุตรดี ขันธ์ (กรรมการเเละที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดเชียงใหม่ ผู้เชี่ยวชาญระบบสารสนเทศเเละการส ารวจระยะไกล) เป็นวิทยากร บรรยาย ในการนี้นายยุทธพงศ์ ไชยศร (นายอ าเภอจอมทอง) ประธานในการเปิดการปัจฉิมนิเทศ โครงการพัฒนาเเละปรับปรุง ระบบเเผนที่ภาษีเเละทะเบียนทรัพย์สิน พร้อมนายกเทศมนตรีต าบลดอยเเก้วเเละเจ้าหน้าที่เทศบาลต าบลดอยเเก้ว นายกเทศมนตรีต าบลจอมทอง รองนายกเทศมนตรีต าบลจอมทอง ผู้อ านวยการกองคลังเทศบาลต าบลแม่สอย ร่วมฟังการบรรยายโครงการในครั้งนี


22 วารสารเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือน มิถุนายน 2566 ภาพกิจกรรม งานป้องกันและบรรเทาสธาธารณภัย ประจ าเดือนมิถุนายน 2566 วันที่ 10 มิถุนายน 2566 งานกู้ชีพ ทต.บ้านหลวงได้รับแจ้งเหตุรถมอเตอไซต์ตกร่องน้ าข้างถนนที่ก าลังก่อสร้างใหม่บริเวณผาหมอนใหม่ ม.8 ต.บ้าน หลวง ที่เกิดเหตุพบผู้ได้รับบาดเจ็บในที่เกิดเหตุ 1 ราย หลังรับแจ้งได้รายงานให้ศูนย์กู้ชีพรพ.จอมทองทราบ พร้อมจัดรถและ เจ้าหน้าที่ออกท าการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บเบื้องต้น ข้อมูล: ผู้บาดเจ็บเพศผู้หญิง จ านวน 1 ราย อายุประมาณ 61 ปี มีความรู้สึกตัวดี ถาม-ตอบรู้เรื่อง มีแผลบริเวณขาซ้าย ปวด เอวซีกขวา ปวดหลังเเละคอ เจ้าหน้าที่ได้ท าการช่วยเหลือปฐมพยาบาลเบื้องต้น เพื่อน าตัวส่งรักษาต่อที่รพ.จอมทองใน เวลาต่อมา วันที่ 11 มิถุนายน 2566 งานกู้ชีพ ทต.บ้านหลวงได้รับแจ้งจากศูนย์กู้ชีพรพ.จอมทอง ขอให้จัดรถรับผู้ป่วยที่มีอาการคลื่นไส้ เวียนศีรษะ บริเวณบ้าน อ่างกาน้อย ม.17 ต.บ้านหลวง หลังรับแจ้งเหตุได้จัดรถพร้อมเจ้าหน้าที่ ออกรับผู้ป่วย ที่เกิดเหตุพบผู้ป่วยเพศชาย อายุ ประมาณ 64 ปี ความรู้สึกตัวดี ถาม-ตอบรู้เรื่อง หายใจปกติ มีอาการคลื่นไส้ เวียนศีรษะ เเละอาเจียน จึงได้ท าการช่วยเหลือ เบื้องต้น พร้อมน าตัวส่งรักษาต่อที่รพ.จอมทองในเวลาต่อมา


23 วันที่ 13 มิถุนายน 2566 งานกู้ชีพ ทต.บ้านหลวง ออกบริการรับผู้ป่วยชายสูงวัย จากรพ.จอมทอง กลับบ้านพักบ้านตาดมื่น ม.16 เพื่อพักฟื้นจาก การผ่าตัดบริเวณขาข้างขวา วันที่ 22 มิถุนายน 2566 งานกู้ชีพ ทต.บ้านหลวงได้รับแจ้งจากญาติผู้ป่วยขอให้จัดรถพร้อมเจ้าหน้าที่ ออกรับผู้ป่วยจากเหตุคลื่นไส้ อาเจียน หายใจ เหนื่อย บริเวณบ้านน้ าตกแม่กลาง ม.20 ต.บ้านหลวง หลังรับแจ้งได้รายงานให้ศูนย์กู้ชีพรพ.จอมทองทราบ พร้อมจัดรถและ เจ้าหน้าที่ออกท าการช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น ข้อมูล ณ ที่เกิดเหตุพบหญิง อายุ 47 ปี มีอาการใจสั่น หายใจเหนื่อย คลื่นไส้ อาเจียน จึงท าการช่วยเหลือและน าตัวส่งรักษา ต่อที่รพ.จอมทองในเวลาต่อมา วันที่ 22 มิถุนายน 2566 งานกู้ชีพ ทต.บ้านหลวงได้รับแจ้งจากญาติผู้ป่วยขอให้จัด รถออกรับผู้ป่วยจากเหตุ หญิงสูงวัยล้ม ศรีษะกระแทก ของแข็ง บริเวณแม่หอย ซ.1 ม.10 ต.บ้านหลวง หลังรับแจ้ง ได้รายงานให้ศูนย์กู้ชีพ รพ.จอมทองทราบ พร้อมจัดรถพร้อม เจ้าหน้าที่ออกให้การช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้อง ข้อมูลที่เกิดเหตุพบหญิงสูงวัย อายุ 80 ปี มีความรู้สึกตัวดี ถาม-ตอบรู้เรื่อง การหายใจปกติ มีบาดแผลที่ศรีซีกซ้ายปวด ใหล่ซ้ายรุนแรง จึงได้ท าการช่วยเหลือ เเละน าตัวส่งรักษาต่อ ที่ รพ.จอมทองในเวลาต่อมา


24 วันที่ 13 มิถุนายน 2566 งานป้องกันเเละบรรเทาสาธารณสุข ทต.บ้านหลวง ได้รับเเจ้งร้องเรียนร้องทุกข์จากพระลูกวัดเจดีย์เเม่หม้าย(ดอยชะเเข็ง) ม.14 ขอสนับสนุนน้ าอุปโภคบริโภคเพื่อการใช้สอย เมื่อได้รับเรื่องจึงได้ให้เจ้าหน้าที่ลงพื้นที่ออกปฏิบัติงานเติมน้ า ณ บริเวณวัด ดังกล่าว วันที่ 14 มิถุนายน 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) มอบหมายให้เจ้าหน้าที่งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เทศบาลต าบลบ้านหลวง ลงพื้นที่บ้านเมืองกลาง ม.11 ต.บ้านหลวง เพื่อน ารถบรรทุกน้ าฉีดน้ าแรงดันสูง ท าความสะอาดท่อ ประปาหมู่บ้านบริเวณภายในชุมชน โดยคณะกรรมการหมู่บ้านเมืองกลาง ร่วมกันท าความสะอาดท่อประปาหมู่บ้านที่เกิดการ อุดตันจากคราบตะกรันซึ่งเป็นคราบสกปรกที่มีลักษณะแข็ง เกาะแน่นภายในท่อ เกิดการสะสมเป็นเวลานาน และขาดการดูแล รักษาความสะอาด ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ โดยเทศบาลฯมีแผนด าเนินการขับเคลื่อนการพัฒนา คุณภาพน้ าบริโภค มีการส่งเสริมการใช้น้ าประปาภูมิภาคที่ให้บริการน้ าประปาสะอาดได้มาตรฐาน เพื่อเป็นการยกระดับ คุณภาพน้ าประปาของชุมชนให้มีความสะอาด ปลอดภัย เพื่อดูแลคุ้มครองสุขภาพอนามัยของประชาชน วันที่ 15 มิถุนายน 2566 งานป้องกันเเละบรรเทาสาธารณภัย ทต.บ้านหลวง น้ารถบรรทุกน ้าสนับสนุนน ้าในการท้าความสะอาด บริเวณลานพระธาตุเจดีย์ วัดน ้าตกแม่กลาง ม.20 ตาม หนังสือขอความอนุเคราะห์ของ ผู้น้าชุมชน ม.20 บ้าน น ้าตกเเม่ -กลาง เพื่อเตรียมสถานที่จัดงาน ประเพณีสรง น ้าพระสารีริกธาตุ ในวันเสาร์ที่ 17 มิถุนายน 2566 ที่จะ ถึงนี


25 วันที่ 16 มิถุนายน 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง ได้รับเเจ้งร้องเรียน-ร้องทุกข์จากจากนายสมชาย ดวงเดช(ประธานสภาเทศบาลต าบลบ้านหลวง ขอสนับสนุนรถบรรทุกน้ าบริการฉีดล้างถนนสายบ้านเมืองกลาง หมู่ที่ 11 เนื่องจากมีการขุดปรับปรุงระบบประปาหมู่บ้านที่ ผ่านมา ส่งผลให้มีดินทับถมตามถนนจ านวนมาก ซึ่งอาจเกิดอุบัติเหตุทางถนนได้ง่าย เมื่อได้รับเเจ้งเหตุจึงได้ประสานให้งาน ป้องกันเเละบรรเทาสาธารณภัย ทต.บ้านหลวง ออกปฏิบัติงานตามที่มีการร้องขอโดยด่วน วันที่ 16 มิถุนายน 2566 งานป้องกันเเละบรรเทาสาธารณภัย ทต.บ้านหลวง ได้รับการร้องขอสนับสนุนรถบรรทุกน้ า เพื่อสกัดเพลิงไหม้ในพื้นที่ตรง ข้ามโรงแรมราชพฤกษ์ ทีมงานป้องกันฯจึงได้ลงพื้นที่ออกปฏิบัติงานตรวจสอบ พบว่าเป็นกองขยะมีเพลิงลูกไหม้จึงได้ท าการ สกัดเพลิงไหม้ ณ เวลานี้สามารถสกัดเพลิงเป็นที่เรียบร้อย วันที่ 20 มิถุนายน 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) พร้อมงานป้องกันเเละบรรเทาสาธารณภัย ทต.บ้านหลวง ร่วมกิจกรรมการอบรมเชิงปฎิบัติการสร้างฝายชะลอน้ าเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้งของอ าเภอจอมทอง ณ ล าห้วยบ้าน แม่ป่าก่อ หมู่ที่ 9 บ้านเมืองอาง ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ โดยมีนายยุทธพงศ์ ไชยศร (นายอ าเภอจอมทอง) เป็นประธานเปิดกิจกรรมในครั้งนี้


26 คุณภาพชีวิต - สังคม


27 ผู้สูงอายุอย่างอยู่บ้านท้าอะไรดี เป็นไปได้ไหมว่า เราจะใช้โอกาสนี ท้าประโยชน์ สร้างคุณภาพ ชีวิต ให้เกิดกับตัวเองและคนอื่น โดยใช้เวลาที่มีอยู่คิดทบทวน ไตร่ตรองสิ่งต่างๆ สะสางเรื่องที่ค้าง คา เพื่อเตรียมความพร้อมในอนาคต เราจึงมีค้าแนะน้าดีๆ มาฝาก กับ 5 สิ่งที่อยากให้ผู้สูงอายุลอง กลับไปคิดทบทวนเพื่อเพิ่ม คุณภาพชีวิต ให้ดียิ่งขึ น จะมีอะไรบ้าง ไปดูกันเลย จริงอยู่ว่า เงินไม่ใช่ทุกสิ่งทุกอย่างในชีวิต แต่เงินก็เป็นปัจจัยที่มีผลต่อ คุณภาพชีวิต ของทุกคน อย่างไร ก็ตาม ยังแฮปปี้ไม่อยากให้พี่ๆ โฟกัสที่จ้านวนตัวเลขสักเท่าไร เพราะเงินมากหรือน้อยในความคิดของแต่ละ คนอาจต่างกันสิ่งส้าคัญกว่าคือ เราบริหารเงินได้สอดคล้องกับไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิตของเราแค่ไหน หากคุณ เป็นคนหนึ่งที่ไม่เคยคิดเรื่องการเงินของตัวเองอย่างจริงจังมาก่อน ช่วงนี ที่ก้าลังอยู่บ้านว่างๆ อาจเป็นโอกาส ดีที่จะกลับมาคิดหาวิธีจัดการการเงินของตัวเองเป็นต้นว่า ทบทวนการวางแผนการเงินหลังเกษียณ ค้านวณ เงินที่ต้องใช้ว่าสอดคล้องกับเงินออมของเราหรือไม่ ปรับปรุงแผนการออมและการลงทุนอย่างสม่้าเสมอ เพื่อ จะได้มีเงินใช้สอยอย่างไม่ติดขัดตลอดวัยเกษียณ 1. บริหารการเงิน


กิจกรรมในที่นี่หมายถึงทุกกิจกรรมที่ท้าใน 1 วัน ลองสังเกตตัวเองว่า เราท้าอะไรบ้างใน 1 วัน ตั งแต่ลืม ตาตื่นตอนเช้า จนถึงเตรียมตัวเข้านอน เราได้ท้ากิจกรรมที่ใช้สมองและขยับร่างกายบ้างรึเปล่า หรือปล่อยให้ ตลอดทั งวันหมดไปกับการดูโทรทัศน์และเล่นมือถือ หากเป็นอย่างหลังล่ะก็ อาจต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เสียแล้ว ลองออกมายืดเส้นยืดสายรับวิตามินดีในยามเช้าหรือตอนเย็นๆ หากิจกรรมที่ต้องเคลื่อนไหวร่างกาย ท้าดูบ้าง เช่น การเดิน การวิ่ง หรือการท้าสวน กิจกรรมที่ต้องใช้สมองอย่าง การเล่นบอร์ดเกม เกมฝึกสมอง ออนไลน์ หรืออ่านหนังสือ และสุดท้าย พยายามเข้านอนให้เป็นเวลา เพื่อตื่นเช้าขึ นมาจะได้สดชื่น 3. หมั่นท ากิจกรรมอยู่เสมอ 28 ทุกคนรู้ดีว่า อาหารการกินเป็นก้าวแรกของการดูแลสุขภาพ แต่จะมีสักกี่คนที่สามารถหักห้ามใจไม่กิน อาหารที่ไม่ดี และหันมาเลือกกินแต่อาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ซึ่งมักจะอร่อยน้อยกว่า แถมทุกวันนี อะไรๆ ก็ง่ายดายไปเสียหมด อยากกินอะไรก็สามารถกดสั่งจากแอปพลิเคชันบนมือถือได้เลย ที่ส้าคัญคือมา ส่งถึงหน้าบ้านอีกด้วย และด้วยความที่ทุกอย่างสะดวกสบายขนาดนี เราจึงต้องฝึกหักห้ามใจ อย่าตามใจปาก จนเกินไป ลองหันกลับมาทบทวนพฤติกรรมการกินของตัวเอง อาจเริ่มง่ายๆ ที่การดื่มน ้าเปล่า ลองดูว่าดื่ม ครบ 8-10 แก้วต่อวันหรือไม่ ฝึกท้าอาหารสุขภาพ และกินอาหารตามสูตร 2:1:1 (ผัก 2 ส่วน ข้าวหรือ คาร์โบไฮเดรต 1 ส่วน โปรตีน 1 ส่วน) เป็นต้น 2. เลือกกินอาหารที่มีประโยชน์


ความสัมพันธ์เป็นปัจจัยส้าคัญที่ส่งผลต่อสุขภาพและความสุขในชีวิตของมนุษย์ ดังนั น สิ่งสุดท้ายอยาก ให้คุณกลับมาลองทบทวนเป็นพิเศษ คือเรื่องของความสัมพันธ์ทั งความสัมพันธ์กับคนรอบตัว ความสัมพันธ์ กับคนในครอบครัว หรือแม้แต่ความสัมพันธ์กับตัวเอง ลองสังเกตดูว่าตอนนี ความสัมพันธ์ของเราต่อทุกคน รวมถึงตัวเองเป็นอย่างไรบ้าง ดีไม่ดีอย่างไร หากไม่ดีเราจะท้าให้มันดีขึ นได้อย่างไร เพราะการมีความสัมพันธ์ ที่ดีมีคุณภาพ จะสร้างความสุขที่แท้จริงได้อย่างแน่นอน 5. ไม่ละเลยความสัมพันธ์ 29 ทั งๆ ที่ ‘บ้าน’ เป็นสถานที่ที่เราใช้เวลาอยู่ค่อนข้างมาก แต่หลายคนกลับมองว่าบ้านเป็นเพียงที่ซุกหัว นอนหรือโกดังเก็บของเสียมากกว่า และด้วยความคิดแบบนี นี่เองที่ท้าให้เราเผลอละเลยไม่ใส่ใจดูแลบ้าน เท่าที่ควร เมื่อบ้านไม่ได้รับการดูแล มีข้าวของวางระเกะระกะ สภาพทรุดโทรม บรรยากาศไม่น่าอยู่ ก็ย่อม พานท้าให้ผู้ที่อยู่อาศัยไม่มีความสุข ถ้าบ้านของคุณก้าลังประสบปัญหานี อย่าเพิ่งเศร้าใจไป ลองใช้เวลาช่วง นี ในการท้าความสะอาด จัดบ้าน ทิ งข้าวของที่ไม่จ้าเป็น รวมถึงวางแผนรีโนเวทบ้านใหม่อาจจะชักชวน ลูกหลานมาวางแผนปรับปรุงบ้านไปพร้อมๆ กัน ก็จะท้าให้บ้านน่าอยู่ส้าหรับสมาชิกทุกคนในครอบครัว 4. ดูแลบ้านให้น่าอยู่


30


31 เข้าฝนแล้วก็อยากสูดอากาศเย็นๆ มาให้ชุ่มฉ ่าปอดสักหน่อย บอกเลยว่าดอยอิน ทนนท์มีที่เที่ยวสวยๆ ธรรมชาติอุดมสมบูรณ์และมุมถ่ายรูปสวยๆ เพียบ ไปดูกัน ว่า ที่เที่ยวดอยอินทนนท์เช็คอินความฟนิบนจุดสูงสุดของประเทศ มีไฮไลท์อะไรที่ รออยู่บ้าง ถ้าพร้อมแล้วแพ็คกระเป๋า เตรียมออกเดินทางโล้ด.... 1. ทุ่งดอกไฮเดรนเยียร์สวนคุณทองดี, เชียงใหม่ (Inthanon Hydrangea Field Khun Thong Dee Garden) ทุ่งดอกไฮเดรนเยียร์สวนคุณทองดี เป็นทุ่งไฮเดรนเยียร์บนพื้นที่กว่า 5 ไร่บนดอยอินทนนท์ ภายในสวนมีดอกไฮเดรนเยียร์ดอกใหญ่ๆ หลากสีสัน แถมยังโอบล้อมไปด้วยทิวเขาน้อยใหญ่และมี สายหมอกลอยคลอเคลีย บอกเลยว่าบรรยากาศเย็นสบายและสวยมาก นอกจากนี้ทางสวนยัง มีพร็อพน่ารักๆ อย่างตระกร้าและช่อดอกไฮเดรนเยียร์ให้ได้ถ่ายรูปเพิ่มความปังอีกด้วย ส่วนการ เดินทางมายังสวนก็อาจจะท้าทายและล าบากหน่อย แต่เราก็สามารถนั่งรถโฟวิลของทางสวนเข้ามา ได้เลย และแอบบอกว่ายิ่งมาช่วงหน้าหนาวนี้ดอกไม้ก าลังบานเต็มที่และสวยสุดๆ ใครที่สายหา ท าคอนเทนต์ถ่ายรูปสวยๆ ให้โน้ตที่นี่ไว้เลย Location: บ้านผาหมอน ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ Phone: 089 998 4624 Open-Close: เปิดให้บริการทุกวัน เวลา 08.00 – 18.00 น. Fee: ค่าเข้าสวน 50 บาท, ค่าเช่ารถโฟวิล 350 บาท Facebook: ทุ่งไฮเดรนเยียอินทนนท์ -สวนคุณทองดี


32 2.น ้าตกผาดอกเสี้ยว, เชียงใหม่ (Pha Dok Siew Waterfall) น ้าตกผาดอกเสี้ยว หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่าน ้าตกรักจัง ซึ่งก็มาจากหนังเรื่องรักจัง ส าหรับใคร สายเที่ยวตามรอยหนังต้องมาที่นี่เลย ส่วนการจะมาถึงน ้าตกผาดอกเสี้ยวนั้นจะเริ่มต้นจาก เส้นทาง ศึกษาธรรมชาติผาดอกเสี้ยว เป็นเส้นทางง่ายๆ ระยะทางเพี ยง 1 กิโลเมตรก็จะถึงน ้าตก อาจจะ ต้องระวังลื่นและมีทางลาดชันบ้าง ในระหว่างทางเต็มไปด้วยต้นไม้อากาศเย็นสบาย สูดอากาศได้ เต็มๆ ปอด และน ้าตกผาดอกเสี้ยวมีด้วยกัน 10 ชั้น แต่ที่เป็นไฮไลท์ก็คือชั้น 7 เป็นชั้นที่น ้าตกมี ขนาดใหญ่และสายน ้าไหลลงมาตามโขดหิน สะท้อนกับสายน ้าด้านล่างจนเกิดเป็นระอองน ้า ของจริง คือสวยและอลังการมากก ส่วนมุมที่ใครมาแล้วต้องถ่ายรูปจะเป็นสะพานไม้ไผ่ที่พาดยาวขวางทางน ้า มีฉากหลังเป็นผาน ้าตกขนาดใหญ่สวยปังจนอยากให้ทุกคนมาเห็นเองเลย เรียกได้ว่าเป็นที่เที่ยว ดอยอินทนนท์ที่ห้ามพลาดเด็ดขาด •Location: ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ •Open-Close: ทุกวัน เวลา 08.00 – 16.00 น. •Fee: ค่าบริการไกด์กลุ่มละ 200 บาท •(ไม่เกิน 10 คน), ค่าบริการกลุ่มละ 20 บาท •Facebook: ชมรมการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านแม่ กลางหลวง


33 เส้นทางศึกษาธรรมชาติอ่างกา, เชียงใหม่ (Ang Ka Nature Trail) เส้นทางศึกษาธรรมชาติอ่างกา ตั้งอยู่บนยอดดอยอินทนนท์ซึ่งเส้นทางศึกษาธรรมชาตินี้ก็มี ชื่อเรียกอีกหลายชื่อ ไม่ว่าจะเป็นป่าดึกด าบรรพ์หรือป่าเมฆ ซึ่งทั้งสองชื่อนี้ก็มาจากสภาพป่าที่มี ความอุดสมบูรณ์ มีต้นไม้นานาพรรณ แถมถ้ามาในช่วงหน้าฝนหรือหน้าหนาวก็อาจจะได้สัมผัสเมฆ หมอกที่ลายระหว่างทางเดิน บรรยากาศแบบนี้ความฟนิเต็มร้อย ส่วนไฮไลท์ของการเดินเส้นทางนี้ก็ มีตั้งแต่ช่วงทางเข้าที่มีกู่พระเจ้าอินทวิชยานนท์ให้ได้กราบไหว้กันก่อน จากนั้นก็จะมีป้ายและหมุด หลักฐานจุดสูงสุดแดนสยาม แสดงว่าเราได้เดินทางมาจนถึงจุดที่สูงสุดของประเทศไทยแล้ว ใคร มาก็ต้องถ่ายรูปเก็บไว้ด้วยนะ นอกจากนี้ระหว่างทางก็จะมีป้ายความรู้พืชพรรณชนิดต่างๆ และ อุโมงค์ต้นไม้ที่บอกเลยว่าถ่ายรูปสวยมาก อีกทั้งยังเป็นเส้นทางที่เดินง่ายมากๆ และระยะทางเพียง 300 เมตร เหมาะกับการพาผู้ใหญ่หรือเด็กๆ มาเดินชิลล์ดื่มด ่าธรรมชาติมาก •Location: ม.7 ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ •Open-Close: เปิดให้บริการทุกวัน เวลา 05.00 – 19.00 น. •Fee: ค่าเข้าชม ผู้ใหญ่ 60 บาท/คน, เด็ก 30 บาท/คน, •ค่ารถยนต์ 30 บาท/คัน, ค่ารถจักรยานยนต์ 20 บาท/คัน


34


35


วารสารเทศบาลต าบลบ้านหลวง อ าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่


Click to View FlipBook Version