เทศบาลต าบลบ้านหลวง มีหมู่บ้านในความรับผิดชอบ จ านวน 19 หมู่บ้าน • บ้านขุนยะ หมู่ที่ 5 • บ้านป่าแขม หมู่ที่ 6 • บ้านขุนกลาง หมู่ที่ 7 • บ้านผาหมอน หมู่ที่ 8 • บ้านเมืองอาง หมู่ที่ 9 • บ้านแม่หอย หมู่ที่ 10 • บ้านเมืองกลาง หมู่ที่ 11 • บ้านหัวเสือ หมู่ที่ 12 • บ้านน าลัด หมู่ที่ 13 • บ้านปะ หมู่ที่ 14 • บ้านแม่ปอน หมู่ที่ 15 • บ้านตาดมื่น หมู่ที่ 16 • บ้านอ่างกาน้อย หมู่ที่ 17 • บ้านแม่ยะน้อย หมู่ที่ 18 • บ้านห้วยเฮี๊ยะ หมู่ที่ 19 • บ้านน าตกแม่กลาง หมู่ที่ 20 • บ้านกู่ฮ่อสามัคคี หมู่ที่ 21 • บ้านหนองหล่ม หมู่ที่ 22 • บ้านใหม่ห้วยเฮี๊ยะ หมู่ที่ 23 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566
CONTENTS สารบัญ 05 เทศบาลต าบลบ้านหลวง โครงสร้างส่วนราชการเทศบาลต าบลบ้านหลวง ท าเนียบคณะบริหาร ท าเนียบสภาเทศบาล หัวหน้าส่วนราชการ ประวัติความเป็นมา เทศบาลต าบลบ้านหลวง ภาพกิจกรรม ผลการด าเนินงาน คุณภาพชีวิตและสังคม ท่องเที่ยว ท้องถิ่น รายการรับ-จ่าย 06 07 08 09 10 12 23 30 38 11 สภาพทั่วไป เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566
ตามที่กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดตั งองค์การบริหารส่วนต าบลบ้านหลวงขึ น เป็นเทศบาลต าบลบ้านหลวง ตั งแต่วันที่27 ธันวาคม 2552 โดยเป็นเทศบาลขนาดเล็ก ได้ก าหนดโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายในและการจัดระบบงานรองรับภารกิจตาม อ านาจหน้าที่ความรับผิดชอบออกเป็น 5 ส่วน ได้แก่ส านักปลัด กองคลัง กองช่าง กอง การศึกษา กองสาธารณสุข มีกรอบอัตราก าลังทั งสิ น 28 อัตรา โดยได้ก าหนดต าแหน่ง ในสายงานต่างๆจ านวนต าแหน่งและระดับต าแหน่งให้มีความเหมาะสมกับภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ ปริมาณงาน คุณภาพงาน และเพื่อให้สามารถแก้ปัญหาของเทศบาลได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ตามที่นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวงได้แถลงนโยบายการบริหารราชการของ เทศบาลต าบลบ้านหลวงต่อสภาเทศบาลต าบลบ้านหลวงซึ่งได้ก าหนดนโยบายในการ บริหารเทศบาลต าบลบ้านหลวงรวม3 ด้าน ดังนี 1. นโยบายผู้บริหาร เรื่อง นโยบายคุณธรรมละความโปร่งใส 2. นโยบายด้านทรัพยากรบุคคล 3. นโยบายด้านการป้องกันทุจริต เทศบาลต าบลบ้านหลวง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566
โครงสร้างส่วนราชการ เทศบาลต าบลบ้านหลวง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566
คณ ะผู้บริหาร เทศบาลต าบลบ้านหลวง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566
สมาชิกสภา เทศบาลต าบลบ้านหลวง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566
เทศบาลต าบลบ้านหลวง นายยุทธนา ค ามงคล หัวหน้าส่วนราชการ เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566
ปร ะวัติความ เป็นมา “เทศบาลต าบลบ้านหลวง” วิสัยทัศน์ (VISION) กินอิ่ม นอนอุ่น ชุมฉ ำ่น ำ้ท่ำ ท่องเที่ยวพัฒนำ ผืนป่ำเขียวขจี เศรษฐกิจดีแบบพอเพียง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนธันวาคม 2566 ภาพกิจกรรม 5 ธันวาคม วันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ ของพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง โดย นายศรีหมื่น จอมนที(รองนายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง / นายอุดมชัย มหายาโน(รองนายกเทศมนตรีต าบบ้านหลวง) / นายอิ่นค า เตจ๊ะวันโน(ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี) / นางสาวกัญฐ์ธมล ดวงวิโรจน์(รองปลัดเทศบาล) เเละพนักงานเจ้าหน้าที่กองการศึกษา คณะครูศพด.ทต. บ้านหลวง เข้าร่วมพิธีวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิ พลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร กิจกรรมตักบาตร และวางพานพุ่ม ณ ที่ว่าการอ าเภอจอมทอง
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนธันวาคม 2566 ประชุมพนักงานเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนธันวาคม 2566 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์ (นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) / นายอภิสิทธิ์ ยลละออ (ปลัดเทศบาล) / นางสาวกัญฐ์ธมล ดวงวิโรจน์ (รองปลัดเทศบาล) พร้อม หัวหน้าส่วนราชการ และพนักงานเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประชุมพนักงานเทศบาล ต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนธันวาคม 2566 ในโอกาสนี้นายกก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์ (นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) ได้มอบ นโยบายการบริหารงาน ตลอดจนติดตามการด าเนินงานที่ผ่านมา ณ ห้องประชุม ชั้น 2 เทศบาลต าบลบ้านหลวง อ าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนธันวาคม 2566 อบรมเชิงปฎิบัติการเตรียมความพร้อมส าหรับการจัดท างบประมาณ รายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2568 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์ (นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) / นายอภิสิทธิ์ ยล ละออ (ปลัดเทศบาล) และนักวิเคราะห์นโยายและแผน เข้าร่วมอบรมเชิงปฎิบัติการ เตรียมความพร้อมส าหรับการจัดท างบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ส าหรับเทศบาลต าบล เพื่อรองรับการเป็นหน่วยรับงบประมาณ ระหว่างวันที่ 30 พฤศจิกายน - 1 ธันวาคม 2566 ณ โรงแรมเชียงใหม่ภูค า
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนธันวาคม 2566 โครงการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มอาชีพ หลักสูตรเทคโนโลยีพลังงาน แสงอาทิตย ์ รองร ั บเกษตรอ ั จฉริยะ ให ้ แก ่ แรงงานไทยท ี ่ กลับจากอิสราเอล ณ หมู่ 7 บ้านขุนกลาง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง น าโดย นายรพีพงศ์ ชัยอาภัย(หน.ส านักปลัดเทศบาล) / นางกฤษณา ชีวาชุติ(หน.ฝ่ายอ านวยการ) เเละเจ้าหนที่งานพัฒนาชุมชน น าโดยนางสาวอังคณา จินาวัง(นักพัฒนาชุมชน) / นายศุภฤกษ์ เหมือนสุทธิวงศ์(นักพัฒนาชุมชน) ร่วมกับสถาบันพัฒนา ฝีมือแรงงาน 19 เชียงใหม่ จัดโครงการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มอาชีพ หลักสูตรเทคโนโลยีพลังงาน แสงอาทิตย์รองรับเกษตรอัจฉริยะ ให้แก่แรงงานไทยที่กลับจากอิสราเอล ณ หมู่ 7 บ้านขุนกลาง ต าบลบ้านหลวง เพื่อสร้างโอกาสให้กลุ่มแรงงานได้มีความรู้ทักษะติดตัว เเละจ าได้น าไปพัฒนาต่อ ยอด ในการสร้างงาน ประกอบอาชีพหรือท าธุรกิจส่วนตัว ให้มีรายได้ ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิต และสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจในพื้นที่
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนธันวาคม 2566 รับคณะศึ กษาด ู งานจากเทศบาลต าบลช้ างซ้ าย จังหวัดส ุ ราษฎ์ธานี เข้าศึ กษาด ู งานเกี ่ยวกับ เรื ่องการจัดท าทะเบียนประวัติที ่ดินและสิ ่งแวดล้อม เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง ให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากเทศบาลต าบลช้างซ้าย จังหวัด สุราษฎ์ธานี เข้าศึกษาดูงานเกี่ยวกับเรื่อง การจัดท าทะเบียนประวัติที่ดินและสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็น การสร้างความรูความเข้าใจ สร้างประสบการณ์ตรง สามรถน ามาใช้ในการพัฒนาต าบลช้างซ้าย โดยมีนายศรีหมื่น จอมนที (รองนายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง), นายอิ่นค า เตจ๊ะวันโน (ที่ปรึกษานายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) เเละหัวหน้าส่วนราชการ พนักงานเจ้าหน้าที่เทศบาล ต าบลบ้านหลวง ให้การต้อนรับ โดยมี นายรพีพงศ์ ชัยอาภัย(หัวหน้าส านักปลัดเทศบาล) เป็นผู้ให้ข้อมูล
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนธันวาคม 2566 ร ั บคณะศึ กษาด ู งานจากเทศบาลต าบลบางน ้ าเชี ่ ยว จ ั งหว ั ดสิงห ์ บ ุ ร ี เข ้ าศึ กษาด ู งานเก ี ่ ยวก ั บการเฝ้ าระว ั งป้ องก ั นควบค ุ มโรคติดต ่ อในช ุ มชน เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง โดย นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัยล์(นายกเทศมนตรีต าบล บ้านหลวง) / นายศรีหมื่น จอมนที(รองนายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) / นายอภิสิทธิ์ ยลละออ(ปลัดเทศบาล) / นายยุทธนา ค ามงคล(ผอ.กองสาธารณสุขฯ) / นางสาวพิมพ์ศา วสุสิริธันต์(หน.ฝ่ายบริหารงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม) เเละเจ้าหน้าที่กองสาธารณสุข เเละสิ่งเเวดล้อม ร่วมให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากเทศบาลต าบลบางน้ าเชี่ยว จังหวัดสิงห์บุรี เข้าศึกษาดูงานเกี่ยวกับการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน เพื่อเป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจเเละเเลกเปลี่ยนประสบกสรณ์ให้เเก่ผู้เข้่าร่วมดูงาน ณ ห้องประชุม ชั้น 2 เทศบาลตค าบลบ้านหลวง
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนธันวาคม 2566 ประชุมเตรียมงาน "พิธีมอบเกียรติบัตรนักเรียนพลเมือง" เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง โดย นายรพีพงษ์ชัยอาภัย(หน.ส านักปลัดเทศบาล) พร้อม ด้วยคณะกรรมการจัดงาน ร่วมประชุมเตรียมงาน "พิธีมอบเกียรติบัตรนักเรียนพลเมือง" ณ ห้องประชุมเทศบาลต าบลบ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ ที่จะจัดขึ้นในวันอังคารที่ 19 ธันวาคม 2566
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนธันวาคม 2566 ประชุมเรื ่องการร่วมมือกันของหน่วยงานภาครัฐในเรื ่องการส่งเสริมการท่องเที ่ยว เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง โดยนายอภิสิทธิ์ ยลลออ(ปลัดเทศบาล /นายรพีพงษ์ ชัยอาภัย (หน.ส านักปลัดเทศบาล) เเละนายอาทิตคย์ยุบย าเเสง(นักวิชาการคอมพิวเตอร์) พร้อมด้วย พล.อ.ต.อุกฤษฎ์รอดสุทธิ/ร.อ.ประวีณ ศรีบริกิจ และ ร.ต.มฤคินทร์ คุ้มวงศ ในฐานะคณะเจ้าหน้าที่อ านวยการสื่อสังคมออนไลน์พระมหาธาตุนภเมทนีดล นภพลภูมิ สิริ กองทัพอากาศยอดดอยอินทนนท์ ร่วมประชุมปรึกษาหารือเกี่ยวกับการท างาน ประชาสัมพันธ์สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆในพื้นที่ เเละเรื่องกฎระเบียบและการด าเนินการ เกี่ยวกับการรักษาสิ่งแวดล้อม และการส่งเสริมการท่องเที่ยวด้านอื่นๆ ณ ห้องประชุมสภา เทศบาลต าบลบ้านหลวง เพื่อเป็นการร่วมมือกันของหน่วยงานภาครัฐในเรื่องการส่งเสริม การท่องเที่ยว
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนธันวาคม 2566 ประชุมคณะกรรมการพัฒนาเทศบาลต าบลบ้านหลวง เเละประชาคมต าบลบ ้ านหลวง คร ั ง ้ ท ี ่ 2 /2566 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์ (นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) ประธานการประชุม / นายอภิสิทธิ์ ยลละออ (ปลัดเทศบาล) / นายสมชาย ดวงเดช(ประธานสภาเทศบาล) /นายอิ่นค า เตจ๊ะวันโน(ที่ปรึกษา นายกเทศมนตรี) / หัวหน้าส่วนราชการ / พนักงานเจ้าหน้าที่เทศบาลต าบลบ้านหลวง ตลอดจนส่วน ราชการในพื้นที่ต าบลบ้านหลวง / ผู้น าชุมชนในพื้นที่ต าบลบ้านหลวง และประชาชนในพื้นที่ เข้าร่วมการ ประชุมประชาคมระดับต าบลดังกล่าว ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน และทุกภาค ส่วน ในการร่วมคิด ร่วมท า ร่วมตัดสินใจ ร่วมตรวจสอบ ร่วมรับประโยชน์ ร่วมแก้ปัญหาปรึกษาหารือและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหาส าหรับการพัฒนาท้องถิ่นตามอ านาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ณ ลานอเนกประสงค์เทศบาลต าบลบ้านหลวง
ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนธันวาคม 2566 พิธ ี เปิดจ ุ ดตรวจบ ู รณาการป้ องก ั นและลดอ ุ บ ั ติเหต ุ ทางถนน ช่วงเทศกาลปีใหม่ พ.ศ.2567 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง โดยนางกัญฐ์ธมล ดวงวิโรจน์(รองปลัดเทศบาล) นายรพีพงศ์ ชัยอาภัย)หน.ส านักปลัด นางกฤษณา ชีวาชุติ(หน.ฝ่ายอ านวยการ) เเละเจ้าหน้าที่งาน ป้องกันเเละบรรเทาสาธารณภัย ทต.บ้านหลวง ร่วมพิธีเปิดจุดตรวจบูรณาการป้องกันและ ลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลปีใหม่ พ.ศ.2567 หัวหน้าส่วนราชการทุกส่วนราชการ/ สภ.จอมทอง/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน และได้จัดกิจรรมมอบหมวก นิรภัยแก่ประชาชนในพื้นที่ เพื่อสร้างความปลอดภัยในชีวิตและลดอุบัติเหตุบนท้องถนน โดยมีนายยุทธพงศ์ ไชยศร (นายอ าเภอจอมทอง) เป็นประธานเปิดจุดตรวจบูรณาการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลปีใหม่ พ.ศ.2567
ภาพกิจกรรม ผลการด าเนินงานกู้ชีพ- ป้องกันฯ เทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนธันวาคม 2566 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 งานกู้ชีพ ทต.บ้านหลวง ได้รับแจ้งจากพลเมืองดี พบเหตุรถมอเตอร์ไซต์เสียหลักเฉี่ยวชนกันและไป เฉี่ยวชนกับรถบรรทุกพืชผลทางการเกษตร จนท าให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บในที่เกิดเหตุ 3 ราย บริเวณถนน กม.21-22 สายทางจอมทอง-อินทนนท์(บริเวณหน้าศูนย์ควบคุมไฟป่าอินทนนท์)หลังรับแจ้งได้รายงานให้ ศูนย์กู้ชีพรพ.จอมทอง และร้อยเวร30 ทราบ พร้อมจัดรถแลเจ้าหน้าที่ ร่วมกับชุดกู้ภัยอช.อินทนนท์,ชุดกู้ ชีพอินทนนท์ ,เจ้าหน้าที่อช.อินทนนท์ออกให้การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บเบื้องต้น บริเวณที่เกิดเหตุเบื้องต้น พบผู้ได้รับบาดเจ็บ 3 ราย ราย1 เพศหญิงไทย อายุ 23 ปี มีอาการปวดขาขวา,ปวดไหล่ซ้าย กู้ชีพอินทนนท์น าตัวส่งรักษาต่อรพ. จอมทอง ราย2 เพศชายไทย อายุ 19 ปี มีแผลเท้าขวา,แผลเข่าขวา,แผลมือขวา, กู้ภัยอช.อินทนนท์น าตัวส่งรักษา ต่อรพ.จอมทอง ราย3 เพศชาย ชาวต่างชาติ อายุ 26 ปี มีแผลเท้าขวา,แผลขาขวา,แผลเข่าขวา,ขาขวาท่อนล่างผิดรูป กู้ ชีพบ้านหลวงได้ปฐมพยาบาลเบื้องต้น เเละน าตัวส่งรักษาต่อรพ.จอมทอง
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 คุณภาพชีวิต และ สังคม
คุณภำพชีวิต ดีแน่นอน ถ้ำได้ลองท ำ 5 สิง ่ น ี ้ เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 ส ำหรับสถำนกำรณ์ตอนนี้ เรำทุกคนอำจจะ ยังต้องหยุดอยู่บ้ำนและหลีกเล่ียงกำรออกไปนอก บ้ำนโดยไม่จ ำเป็นไปอีกสักระยะหน่ึง ถ้ำเป็นเด็กๆ ก็ เรียนออนไลน์ วัยท ำงำนก็ work from home แล้วผู้สูงอำยุอย่ำงเรำๆ ล่ะ จะอยู่บ้ำนท ำอะไรดี เป็นไปได้ไหมว่ำ เรำจะใช้โอกำสนี้ท ำประโยชน์สร้ำง คุณภำพชีวิต ให้เกิดกับตัวเองและคนอื่น โดยใช้ เวลำท่ีมีอยู่คิดทบทวน ไตร่ตรองสิ่งต่ำงๆ สะสำง เรื่องท่ีค้ำงคำ เพื่อเตรียมควำมพร้อมในอนำคต ในวันนี้ ยังแฮปปี้ จึงมีค ำแนะน ำดีๆ มำฝำก กับ 5 สิ่งที่อยำกให้พี่ๆ ลองกลับไปคิดทบทวนเพื่อเพิม่ คุณภำพชีวิต ให้ดียิง่ขึน้
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 1.บริหำรกำรเงิน จริงอยู่ว่ำ เงินไม่ใช่ทุกสิ่งทุกอย่ำงในชีวิต แต่เงินก็เป็นปัจจัยที่มีผลต่อ คุณภำพชีวิต ของทุกคน อย่ำงไรก็ตำม ยังแฮปปี้ไม่อยำกให้พี่ๆ โฟกัสที่จ ำนวนตัวเลขสักเท่ำไร เพรำะเงินมำกหรือน้อยในควำมคิด ของแต่ละคนอำจต่ำงกันสิง่ส ำคัญกว่ำคือ เรำบริหำรเงินได้สอดคล้องกับไลฟ์สไตล์กำรใช้ชีวิตของเรำแค่ไหน หำกพี่ๆ เป็นคนหน่ึงที่ไม่เคยคิดเรื่องกำรเงินของตัวเองอย่ำงจริงจังมำก่อน ช่วงนีท้ี่ก ำลังอยู่บ้ำนว่ำงๆ อำจเป็นโอกำสดีที่จะกลับมำคิดหำวิธีจัดกำรกำรเงินของตัวเองเป็นต้นว่ำ ทบทวนกำรวำงแผนกำรเงินหลัง เกษียณ ค ำนวณเงินที่ต้องใช้ว่ำสอดคล้องกับเงินออมของเรำหรือไม่ ปรับปรุงแผนกำรออมและกำรลงทุน อย่ำงสม ำ่เสมอ เพื่อจะได้มีเงินใช้สอยอย่ำงไม่ติดขัดตลอดวัยเกษียณ
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 2. เลือกกินอำหำรที่มีประโยชน์ ทุกคนรู้ดีว่ำ อำหำรกำรกินเป็นก้ำวแรกของกำรดูแลสุขภำพ แต่จะมีสักกี่คนที่สำมำรถหักห้ำมใจไม่กิน อำหำรที่ไม่ดีและหันมำเลือกกินแต่อำหำรที่มีประโยชน์ต่อร่ำงกำย ซ่ึงมักจะอร่อยน้อยกว่ำ แถมทุกวันนี้ อะไรๆ ก็ง่ำยดำยไปเสียหมด อยำกกินอะไรก็สำมำรถกดสัง่จำกแอปพลิเคชนับนมือถือได้เลย ที่ส ำคัญคือมำ ส่งถึงหน้ำบ้ำนอีกด้วย และด้วยควำมที่ทุกอย่ำงสะดวกสบำยขนำดนี้เรำจึงต้องฝึกหักห้ำมใจ อย่ำตำมใจปำกจนเกินไป ลอง หันกลับมำทบทวนพฤติกรรมกำรกินของตัวเอง อำจเริ่มง่ำยๆ ที่กำรดื่มน ำ้เปล่ำ ลองดูว่ำดื่มครบ 8-10 แก้วต่อวันหรือไม่ ฝึกท ำอำหำรสุขภำพ และกินอำหำรตำมสูตร 2:1:1 (ผัก 2 ส่วน ข้ำวหรือคำร์โบไฮเดรต 1 ส่วน โปรตีน 1 ส่วน) เป็นต้น
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 3. หมัน่ท ำกิจกรรมอยู่เสมอ กิจกรรมในที่นี่หมำยถึงทุกกิจกรรมที่ท ำใน 1 วัน ลองสังเกตตัวเองว่ำ เรำท ำอะไรบ้ำงใน 1 วัน ตัง้แต่ลืมตำ ตื่นตอนเช้ำ จนถึงเตรียมตัวเข้ำนอน เรำได้ท ำกิจกรรมที่ใช้สมองและขยับร่ำงกำยบ้ำงรึเปล่ำ หรือปล่อยให้ ตลอดทัง้ วันหมดไปกับกำรดูโทรทัศน์และเล่นมือถือ หำกเป็นอย่ำงหลังล่ะก็พี่ๆ อำจต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสียแล้ว ลองออกมำยืดเส้นยืดสำยรับ วิตำมินดีในยำมเช้ำหรือตอนเย็นๆ หำกิจกรรมที่ต้องเคลื่อนไหวร่ำงกำยท ำดูบ้ำง เช่น กำรเดิน กำรวิ่ง หรือ กำรท ำสวน กิจกรรมที่ต้องใช้สมองอย่ำง กำรเล่นบอร์ดเกม เกมฝึกสมองออนไลน์หรืออ่ำนหนังสือ และ สุดท้ำย พยำยำมเข้ำนอนให้เป็นเวลำ เพื่อตื่นเช้ำขึน้มำจะได้สดชื่น
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 4. ดูแลบ้ำนให้น่ำอยู่ ทัง้ๆ ที่ ‘บ้ำน’ เป็นสถำนที่ที่เรำใช้เวลำอยู่ค่อนข้ำงมำก แต่หลำยคนกลับมองว่ำบ้ำนเป็นเพียงที่ซุกหัว นอนหรือโกดังเก็บของเสียมำกกว่ำ และด้วยควำมคิดแบบนี้นี่เองที่ท ำให้เรำเผลอละเลยไม่ใส่ใจดูแลบ้ำน เท่ำที่ควร เมื่อบ้ำนไม่ได้รับกำรดูแล มีข้ำวของวำงระเกะระกะ สภำพทรุดโทรม บรรยำกำศไม่น่ำอยู่ก็ย่อม พำนท ำให้ผู้ที่อยู่อำศยั ไม่มีควำมสุข ถ้ำบ้ำนของพี่ๆ ก ำลังประสบปัญหำนี้อย่ำเพิ่งเศร้ำใจไป ลองใช้เวลำช่วงนีใ้นกำรท ำควำมสะอำด จัด บ้ำน ทิง้ข้ำวของที่ไม่จ ำเป็น รวมถึงวำงแผนรีโนเวทบ้ำนใหม่อำจจะชกัชวนลูกหลำนมำวำงแผนปรับปรุงบ้ำน ไปพร้อมๆ กัน ก็จะท ำให้บ้ำนน่ำอยู่ส ำหรับสมำชิกทุกคนในครอบครัว
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 5. หมัน่ท ำกิจกรรมอยู่เสมอ จำกงำนวิจัยของมหำวิทยำลัยฮำร์วำร์ด ที่ใช้เวลำรำว 80 ปีติดตำมศึกษำกลุ่มตัวอย่ำงแบบต่อเนื่อง ตลอดชีวิต เพื่อหำค ำตอบว่ำ อะไรกันที่ท ำให้คนเรำมีควำมสุข แสิ่งที่นักวิจัยค้นพบคือ ควำมสัมพันธ์เป็น ปัจจัยส ำคัญที่ส่งผลต่อสุขภำพและควำมสุขในชีวิตของมนุษย์ ดังนัน้สิ่งสุดท้ำยที่ยังแฮปปี้อยำกให้พี่ๆ กลับมำลองทบทวนเป็นพิเศษ คือเรื่องของควำมสัมพันธ์ทัง้ ควำมสัมพันธ์กับคนรอบตัว ควำมสัมพันธ์กับคนในครอบครัว หรือแม้แต่ควำมสัมพันธ์กับตัวเอง ลอง สังเกตดูว่ำตอนนีค้วำมสัมพันธ์ของเรำต่อทุกคนรวมถึงตัวเองเป็นอย่ำงไรบ้ำง ดีไม่ดีอย่ำงไร หำกไม่ดีเรำจะ ท ำให้มันดีขึน้ได้อย่ำงไร เพรำะกำรมีควำมสัมพันธ์ที่ดีมีคุณภำพ จะสร้ำงควำมสุขที่แท้จริงได้อย่ำงแน่นอน
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 ท ่ องเท ี ่ ยว ท ้ องถ ิ ่ น
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 เที่ยวดอยอนิทนนท ์ยลสำยหมอก ทุ่งนำ และขุนเขำ สวยจนยำกจะลมืเลอืน เป็นประจ ำทุกปลำยปีถึงครำวที่ลมหนำวพัดมำเยือนทีไร ภำคเหนือดูเหมือนจะเป็นตัวเลือกที่เที่ยวหน้ำหนำวอันดับต้นๆ ที่ได้รับควำมนิยมอยู่เสมอ ด้วยบรรยำกำศกำรท่องเที่ยวชวนน่ำหลงใหล อำกำศเย็นสบำย ทะเลหมอกสวย ๆ ชวนให้ นักท่องเที่ยวไปสัมผัสสุดๆ แต่ถ้ำจะพูดถึงที่ที่นักท่องเที่ยวทั้งมืออำชีพและมือสมัครเล่น อยำกจะไปสัมผัสให้ได้สัก ครัง้"ดอยอินทนนท์" ก็น่ำจะเป็นหน่ึงในลิสต์อันดับต้นๆ ที่ไม่ว่ำคุณจะรักกำรเที่ยวแบบชิลหรือแบบลุย ธรรมชำติที่นี่ ก็อ้ำแขนรอต้อนรับนักท่องเที่ยวอย่ำงพวกเรำเสมอ ถึงแม้ว่ำนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่จะนึกถึงควำมสวยงำมของดอยอินทนนท์ช่วงหน้ำหนำว และมองข้ำมดอยอินทนนท์ ในช่วงหน้ำฝนไป เพรำะเห็นว่ำเป็นช่วง Low Season แต่ใครจะรู้เลยว่ำช่วงรอยต่อฤดูอย่ำงปลำยฝนต้นหนำว แม้ว่ำไม่ใช่ ฤดูท่องเที่ยว แต่เป็นฤดูที่ป่ำเชียงใหม่เขียวที่สุด ชุ่มฉ ่ำที่สุด เพรำะรับน ำ้ฝนอย่ำงเต็มที่เรำจึงเห็นนำข้ำวขัน้บันไดสีเขียว กว้ำงสุดลูกหูลูกตำ แถมคนก็เที่ยวน้อย นี่แหละจึงเป็นช่วงเวลำที่เหมำะเจำะกับกำรตักตวงควำมสุขกลับบ้ำน โปรแกรมเทยี่วดอยอนิทนนทใ์น 1 วัน สำมำรถเที่ยวได้ดังนี้ - พระมหำธำตุนภเมทนีดล และพระมหำธำตุนภพลภูมิสิริ - ชมต้นกำแฟประวัติศำสตร์ ณ บ้ำนหนองหล่ม - ชมนำข้ำวขัน้บันได ณ บ้ำนผำหมอน - ชมรูบำร์บและชมแปลงไร่สตรอว์เบอร์รี - ชมกำรเลีย้งปลำสเตอร์เจียนแ้ละปลำเทรำต์ณ สถำนีวิจัยประมงที่สูง - เก็บผักไฮโดรโปนิกส์ผลิตผลจำกโครงกำรหลวง *** โปรแกรมกำรเดินทำงต่ำงๆ สำมำรถปรับได้ตำมควำมเหมำะสม ข้อแนะนำ เลก็ ๆ น้อย ๆ ส ำหรบักำรเดนิทำงมำเทยี่วดอยอนิทนนท์ - ถนนบนดอยอินทนน์ทำงค่อนข้ำงดีถึงแม้ว่ำจะมีโค้งเยอะแต่ก็จัดได้ว่ำไม่ชนัมำก (แต่ถ้ำใครรู้ตัวว่ำเมำรถ เรำแนะน ำให้คุณทำนยำเอำไว้ให้พร้อม) - เอำจริงๆแล้วรถยนต์เล็กๆ ก็สำมำรถวิง่ขึน้ดอยได้ขอเพียงอย่ำงเดียว…นักท่องเที่ยวจะต้องไม่ประมำทในกำร ขับรถ ส่วนตอนลงเขำพยำยำมใช้เกียร์ต ำ่และหำจุดพักรถเป็นระยะๆ - เตรียมอุปกรณ์ส ำหรับกำรเดินทำงต่ำงๆ ไปให้พร้อม ไม่ว่ำจะเป็นเสือ้กันหนำว (พกติดตัวอย่ำได้ขำด เพรำะ อำกำศที่ดอยอินทนนท์หนำวเย็นเกือบตลอดทัง้ปี) ร่ม, หมวก และรองเท้ำส ำหรับเดินบนดอย
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 จุดที่ 1 พระมหำธำตุนภเมทนีดล และ พระมหำธำตุนภพลภูมิสิริ ตัง้อยู่เกือบถึงยอดดอยอินทนนท์พระมหำธำตุคู่บำรมีพระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอ ดุลยเดช และสมเด็จพระนำงเจ้ำสิริกิติ์พระบรมรำชินีนำถ ในรัชกำลที่9 เพียงแค่ใช้สำยตำมองสัมผัส นักท่องเที่ยวจะได้ชื่นชมควำมสวยงำมสมพระเกียรติของทัง้สองพระองค์อย่ำงหำที่เปรียบมิได้อีกทัง้ยัง ล้อมรอบด้วยภูมิทัศน์ของสวนดอกไม้สวย และยังเป็นจุดชมทะเลหมอกที่สวยที่สุดแห่งหน่ึงของเชียงใหม่ ในวันที่ฟ้ำใสและอำกำศเป็นใจ นักท่องเที่ยวจะได้ชื่นชมกับทะเลหมอกในตอนเช้ำ ซ่ึงพอตกช่วง สำยทะเลหมอกก็จะเริม่จำงคลำยตัวให้เรำมองเห็นวิวทะเลภูเขำแทน พระมหำธำตุนภเมทนีดลนัน้สร้ำงน้อม เกล้ำน้อมกระหม่อมถวำยพระบำทสมเด็จ พระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช เนื่องใ นวโร กำสท รงพร ะ เจริ ญ พระชนมพรรษำครบ 5 รอบ เมื่อปี พ.ศ. 2530 ลักษณะสถำปัตยกรรมเป็น รูปทรงคล้ำยระฆังคว ่ำ 8 เหลี่ยม เหนือ ชัน้ระฆังคว ่ำขึ้นไปจะมีรูปร่ำงคล้ำยกับ ดอกบัวหงำย และมียอดปลีแหลมสีทอง พร้อมทัง้ฉัตร 9 ชนั้สีเงินอยู่ด้ำนบนสุด และพระมหำธำตุนภพลภูมิสิริมีลักษณะเป็น รูปทรง 12 เหลี่ยม ตัวสถูปมีลักษณะคล้ำยระฆัง คว ำ่เช่นกัน แต่มีขอบระเบียงรูปซุ้มกลีบบัวแบ่งเป็น ระดับทัง้หมด 6 ระดับ โดยตัวสถูปนัน้ตกแต่งด้วย โมเสกแก้วสีม่วงอมชมพูสวยงำม
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 จุดที่ 2 ชมต้นกำแฟประวัติศำสตร์ ณ บ้ำนหนองหล่ม บ้ำนหนองหล่ม ชุมชนชำวปกำเกอะญอ ที่นี่มีต้นกำแฟประวัติศำสตร์ซ่ึงเมื่อปีพ.ศ. 2517 พระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระรำชด ำเนินด้วยพระบำทเพื่อทอดพระเนตรต้น กำแฟ ซ่ึงมีอยู่ประมำณ 2-3 ต้น โดยเป็นต้นกำแฟของพ่อตำ "ลุงพะโย่ ตำโร" ชำวเขำเผ่ำปกำเกอะญอ และปลูกเอำไว้ท่ำมกลำงไร่ฝิ่น ซ่ึงถือเป็นอำชีพหลักของชำวเขำในยุคนัน้ เมื่อพระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช ทรงพบกำแฟต้นนีเ้ข้ำ จึงเกิดควำมรู้สึกสนพระ รำชหฤทัยขึ้นมำว่ำต้นกำแฟก็เติบโตที่นี่ได้เหมือนกัน และทรงมีรับสั่งเองว่ำ กำรที่เสด็จฯ ไปนั้นท ำให้ ชำวบ้ำนเขำเห็นว่ำกำแฟนัน้ส ำคัญ จึงสนใจที่จะปลูก จนบัดนีก้ำแฟบนดอยมีมำกมำย และก็เริ่มจำก 2-3 ต้นนั่นเอง ซ่ึงปัจจุบันกำแฟพันธุ์อำรำบิก้ำของโครงกำรหลวง กลำยเป็นกำแฟที่ได้รับควำมนิยมอย่ำง แพร่หลำยไปทัว่ โลก และที่ส ำคัญสร้ำงรำยได้ให้กับเกษตรกรชำวเขำได้อย่ำงยัง่ยืน และนี่คือกำแฟต้นแรก...จุดก ำเนิดของกำแฟต้นอื่น ๆ ที่ท ำให้เชียงใหม่เป็นเมืองกำแฟ และเป็นจุดเริ่มต้นของ ควำมเป็นอยู่ที่ดีของชำวบ้ำนที่นี่
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 จุดที่ 3 ชมนำข้ำวขัน้บันได ณ บ้ำนผำหมอน หมู่บ้ำนชุมชนชำวปกำเกอะญอ ท่ำมกลำงหุบเขำล้อมรอบ ตัง้อยู่ไม่ไกลจำกบ้ำนแม่กลำงหลวง ดอยอินทนนท์ ไฮไลท์ ส ำคัญของกำรเดินทำงมำเที่ยวที่นี่หนีไม่พ้นกำรได้ชมควำมงดงำมของนำข้ำวขัน้บันได สิ่งเหล่ำนีเ้ป็นสิ่งที่สะท้อนให้เรำได้ เห็นถึงภูมิปัญญำและวิถีชีวิตของชำวบ้ำน ที่มีควำมผูกพันใกล้ชิดกับธรรมชำติกันเป็นหน่ึงเดียว กำรท่องเที่ยวที่บ้ำนผำหมอนส่วนใหญ่เน้นให้นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้วิถีชีวิตชำวปกำเกอะญอผ่ำนทุ่งนำและป่ำเขำ นักท่องเที่ยวจะได้ใช้เวลำทุกวินำทีไปกับกำรนัง่มองนำข้ำวขัน้บันไดที่ลดหลั่นกันตำมเชิงเขำ ยิ่งยำมเมื่อแสงแดดตกกระทบ เรำจะมองเห็นสีเขียวหลำกหลำยเฉดสีไล่แรเงำตำมกันไป สิง่ที่โดดเด่นอีกหน่ึงอย่ำงของที่บ้ำนผำหมอน นั่นคือกำรให้บริกำรที่พักที่ชื่อว่ำ "แบมบูพิงค์ เฮ้ำส์" (Bamboo Pink House) ว่ำกันว่ำที่นี่เป็นที่พักที่มีวิวหลักล้ำน โดยมีชุมชนร่วมกันช่วยดูแล และอิ่มอร่อยไปกับมือ้อำหำรเล็ก ๆ ในสไตล์ บ้ำน ๆ ส ำหรับนักท่องเที่ยวที่อยำกเดินทำงมำเห็นท้องนำสีเขียว ควรมำช่วงกลำงเดือนกันยำยน-กลำงเดือน ตุลำคม หรือถ้ำอยำกเห็นทุ่งนำข้ำวสีเหลืองทอง ให้ไปตัง้แต่ช่วงปลำยเดือนตุลำคม-ต้นพฤศจิกำยน ทัง้นี้ สำมำรถสอบถำมรำยละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับกำรท่องเที่ยวบ้ำนผำหมอนได้ที่กำรท่องเที่ยวโดยชุมชน บ้ำนผำหมอน
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 จุดที่ 4 ชมรูบำรบแ์ ละชมแปลงไร่สตรอว์เบอร์รี "รูบำร์บ" หน่ึงในผลผลิตจำกโครงกำรหลวง โดยหม่อมเจ้ำภีศเดช รัชนี ได้ทรงเล่ำถึงพระรำชอำรมณ์ขันของ พระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช เกี่ยวกับชื่อที่เหมำะสมของพืชชนิดนี้นั่นคือ รูบำร์บ ผักเชื้อสำยยุโรป ก้ำนสีแดง-ม่วง รสเปรีย้วอร่อย นิยมน ำมำท ำพำยหรือแยม และเนื่องจำกรูบำร์บเมื่อคิดตำมค ำอ่ำนในภำษำไทย รู้สึกไม่ เป็นมงคล อำจท ำให้ชวนดูไม่น่ำรับประทำน หม่อมเจ้ำภีศเดชจึงกรำบบังคมทูลถำมว่ำจะเรียกรูบำร์บว่ำอย่ำงไรดี พระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช มีพระรำชกระแสรับสัง่ทันทีว่ำ "โฮล ซิน-Hole Sin" "สตรอว์เบอร์รี" พระบำทสมเด็จพระปรมินทร มหำภูมิพลอดุลยเดช โปรดเกล้ำฯ พระรำชทำนสตรอว์ เบอร์รีหลำกหลำยสำยพันธุ์ซ่ึงพันธุ์ที่ได้รับควำมนิยม มำกที่สุด คือสตรอว์เบอร์รีพันธุ์พระรำชทำนพันธุ์ 80 ซ่ึงวิจัยส ำเร็จในปีพ.ศ. 2550 ซ่ึงเป็นปีที่ทรงเจริญพระ ชนมพรรษำ 80 พรรษำพอดีโดยจุดเด่นอยู่ที่รสชำติ หวำนกรอบ มีกลิน่หอม สำมำรถต้ำนทำนโรคและแมลง ได้เป็นอย่ำงดีทัง้ยังเป็นผลไม้ที่ช่วยให้อำชีพกำรปลูกฝิ่น และกำรท ำไร่เลื่อนลอยหำยไปจำกยอดดอยของเมืองไทย
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 จุดที่ 5 ชมกำรเลีย้งปลำสเตอร์เจียนแ้ละปลำเทรำต์ ณ สถำนีวิจัยประมงที่สูง บ้ำนแม่กลำงหลวง นอกเหนือไปจำกที่โครงกำรหลวงจะส่งเสริมอำชีพภำคเกษตรอย่ำงยัง่ยืนให้กับเกษตรกรแล้ว โครงกำร หลวงยังส่งเสริมให้ท ำประมงที่สูงเป็นอำชีพเสริมด้วยเช่นกัน ท่ำมกลำงท้องทุ่งนำข้ำวเขียวขจีที่นี่ยังเป็น แหล่งเพำะพันธุ์ปลำสเตอร์เจยนแี้ละปลำเทรำต์ จุดเริ่มต้นจำกเมื่อครั้งที่สมเด็จพระนำงเจ้ำสิริกิติ์ พระบรมรำชินีนำถ ในรัชกำลที่9 เสด็จพระรำชด ำเนิน ไปเยือนสำธำรณรัฐรัสเซีย และทรงได้เสวยเมนู ปลำสเตอร์เจี้ยน แล้วทรงเห็นว่ำรสชำติอร่อย และ อยำกน ำไปเลี้ยงที่เมืองไทย เลยเกิดเป็นโครงกำร ดังกล่ำวขึน้ทัง้นีก้ำรที่จะสำมำรถเลีย้งปลำทัง้สองชนิด นีไ้ด้จ ำเป็นต้องเลีย้งในแหล่งน ำ้สะอำดและน ำ้เย็นเท่ำนัน้ ซ่ึงเรำมีครบคุณสมบัติดังกล่ำว จำกกำรเพำะเลี้ยง น ำมำสู่ร้ำนค้ำเพื่อออกจ ำหน่ำยให้ประชำชนคนไทยได้ลิม้ รสควำมอร่อยอย่ำงทัว่ถึงกัน
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566 จุดที่ 6 เก็บผักไฮโดรโปนิกส์ผลิตผลจำกโครงกำรหลวง เมื่อพูดถึงโครงกำรหลวง เรำเชื่อว่ำหลำยคนน่ำจะนึกถึงพืชผัก-ผลไม้สด ๆ ทัง้ที่ส่งออก ส่งเสริม และ พัฒนำอำชีพให้กับเกษตรกรชำวไทยภูเขำ โดยกำรปลูกพืชไร้ดินไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics) นับเป็น วิธีกำรใหม่ในกำรปลูกพืชโดยเฉพำะกำรปลูกผักและพืชที่ใช้เป็นอำหำร เนื่องจำกประหยัดพืน้ที่และไม่ปนเปื้อน กับสำรเคมีต่ำง ๆ จึงท ำให้ได้พืชผักที่สะอำดเป็นอำหำร ซ่ึงนักท่องเที่ยวสำมำรถเข้ำเยี่ยมชมและ ศึกษำดูงำนได้ตลอดทั้งปี โดยทำงสถำนี เ ก ษ ต ร ห ล ว ง อิ น ท น น ท์ จ ะ มี นั ก ประชำสัมพันธ์และนักวิชำกำรคอยให้ ควำมรู้แก่นักท่องเที่ยว พืชผักที่เพำะปลูก ในโรงเรือน ได้แก่ ผักกำดหวำน กรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค บัตเตอร์เฮด และฟิลเล่ย์ไอซ์เบิร์ก เป็นต้น หำกเมื่อครัง้อดีตที่พืน้ที่บนดอยเต็มไปด้วยไร่ฝิ่น มีแต่ควำมอดอยำก พื้นที่ป่ำถูกท ำลำย มำในวันนี ้ "ดอยอินทนนท์" กลับพลิกฟื้นคืนควำมอุ ดม สมบูรณ์ อันเป็นผลผลิตจำกสิ่งที่พระบำทสมเด็จ พระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงแผ้วถำง ควำมสุขและควำมเป็นอยู่ที่ดีให้กับประชำชนของ พระองค์ ช่วงปลำยปีแบบนี้อย่ำลืมเดินทำงมำพบ ควำมสุขแบบพอดีที่ "ดอยอินทนนท์"
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566
เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน ธันว าคม 2566