The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by soraya.an, 2021-03-26 04:50:21

บ้านคลองยาง หมู่ที่ 12 ตำบลทัพราช อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว

บ้านคลองยางเป็นชุมชนที่มีการรวมกลุ่ม

เพื่อช่วยกันประกอบอาชีพเพื่อหารายได้เสริม ได้แก่

การเลี้ยงจิ้งหรีด และการแปรรูปตลอดจนการสร้าง

ผลิตภัณฑ์เพื่อจัดท าหน่าย ซึ่งนั้นเป็นเพียงต้นทางใน

การผลิตเท่านั้น ประชาชนในพื้นที่ยังขาดความรู้

ความเข้าใจที่ถูกต้องในการประกอบอาชีพเสริม

มาตรฐานการประกอบอาชีพ


วัตถุประสงค์ ของการด าเนินงานเพื่อเสริมสร้างทักษะการรวมกลุ่มการประกอบอาชีพให้แก่

กลุ่มเป้าหมาย รวมถึงเพื่อพัฒนาอาชีพให้แก่กลุ่มเป้าหมายและเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน

เป้าหมาย โดยกลุ่มเป้าหมาย ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย จ านวน 20 คน ในพื้นที่หมู่ที่ 12 บ้านคลอง

ยาง ต าบลทัพราช อ าเภอตาพระยา จังหวัด สระแก้ว



แนวทางการต่อยอดในอนาคต

ตัวชี้วัดความส าเร็จ กลุ่มจิ้งหรีด พัฒนาให้เป็นระบบฟาร์มปิดในชุมชนและ

ร้ายได้เฉลี่ยของกลุ่มเป้าหมายจิ้งหรีด พัฒนาให้ได้มาตรฐานระบบฟาร์ม

1,200 บาท /เดือน คิดเป็นร้อยละ 30 กลุ่มดอกไม้จันท์ ต่อยอดโดยการพัฒนาฝีมือให้มีการ

ร้อยได้เฉลี่ยของกลุ่มดอกไม้จันท์ น าวัสดุธรรมชาติที่มีอยู่ในชุมชนมาเป็นองค์ประกอบในการ

1,700 บาท /เดือน คิดเป็นร้อยละ 12 ประดิษฐ์ดอกไม้จันท์ และพัฒนาต่อยอดตลอดให้เป็นที่

รายได้เฉลี่ยของกลุ่มผู้เลี้ยงหนนา ยอมรับ

800 บาท/เดือน คิดเป็นร้อยละ 11 กลุ่มหนูนา ส่งเสริมให้มีการขยายพันธุ์เพื่อการ

จ าหน่ายตามหลักการเลี้ยงและถูกหลักอนามัย ปลอดภัยต่อผู้

เลี้ยงและผู้บริโภค

MODEL PROJECT








ปลายน้้า
กลางน้้า

ต้นน้้า 1.เกิดความเข้าใจใน



1.ด าเนินการคัดเลือก การรวมกลุ่มการ
1.ก าหนดพื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ที่สนใจ เลี้ยงจิ้งหรีดและหนู


ส าหรับการส่งเสริม/ เ ข้ า ร่ ว ม โ ค ร ง ก า ร นาอย่างถูกต้อง


พัฒนา 2.ด าเนินการ 2.จัดหาวิทยากรและ ความหลักวิชาการ


ประสานงานผู้น าท้องถิ่น ด าเนินการฝึกอบรม เพื่อลดต้นทุนและลด


3.ด าเนินการวิเคราะห์/ สร้างความรู้ และความ อั ต ร า ก า ร ต า ย


สังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน เข้าใจที่ถูกต้อง และ 2.มีการรวมกลุ่มสตรี


ต่างๆ ที่เกิดขึ้นจริงใน น าไปสู่การปฏิบัติจริงใน เพื่อประดิษฐ์ดอกไม้


สภาวะปัจจุบัน รวมถึง ชุมชน 3.จัดให้เกิดการ จันท์ส าหรับการ

การน าข้อมูลของหน่วย รวมกลุ่ม และจัดท า จ าหน่ายในพื้นที่
ข้อตกลงภายในกลุ่ม
3.เกิดการรวมกลุ่ม
งานภาครัฐมาประกอบ ส ม า ชิ ก ค รั ว เ รื อ น ของสมาชิกครัวเรือน


ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ / เป้าหมาย ส าหรับการ เป้าหมายอย่างเป็น


สั ง เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ด า เ นิ น กิ จ ก ร ร ม รู ป ธ ร ร ม


4.ก าหนดโจทย์ปัญหา/ โครงการ 4.สร้าง 4.เกิดอาชีพและ


ความต้องการ ที่ต้องการ เครือข่ายและต่อยอด ส ร้ า ง ร า ย ไ ด้ แ ก่


การส่งเสริม/พัฒนา ให้ กิจกรรมไปยังครัวเรือน ครัวเรือนเป้าหมาย


เกิดความยั่งยืนขึ้น ใน อื่นๆ ที่ให้ความสนใจ และสมาชิกที่สนใจ


ชุมชน

เรื่องเล่าความส้าเร็จ




อาจารย์ผู้รับผิดชอบโครงการจึงได้จัดการฝึกอบรม
เชิงปฏิบัติการในหลักสูตร “การบูรณาการการเลี้ยงด้วยระบบ

ฟาร์มในชุมชน สู่การจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้เลี้ยงจิ้งหรีด

และหนูนา”เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ที่ถูกต้องส าหรับการเลี้ยง
จิ้งหรีด ผลจาการด าเนินการ ดังกล่าวพบว่า ครัวเรือน

เปาหมายได้เข้ารับการอบรม จ านวน 20 คน ซึ่งเกนจาก


จ านวนเป้าหมายที่ตั้งไว้ คิดเป็น 100% ของจ านวนผู้เข้าร่วม
การอบรม จากการอบรมดังกล่าวท าให้สมาชิกเกิดการฟื้นฟู

กลุ่มอาชีพที่หายไปให้กลับมาใหม่อีกครั้งหนึ่ง โดยครัวเรือน

เป้าหมายมีความรู้ละความเข้าใจในการเลี้ยงหนูนามากยิ่งขึ้น
ท าให้เกิดการเลี้ยงเพื่อเป็นอาชีพเสริมในชุมชน กลุ่มผู้เลี้ยงและ

เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้ภายในกลุ่มผู้เลี้ยง โดยมีรายได้

เพิ่มขึ้น 800 บาท/ครัวเรือน


















อาจารย์ผู้รับผิดชอบโครงการจึงได้จัดการฝึกอบรมเชิง




ปฏิบติการในหลักสูตร “อบรมเชงปฏิบติการการท าดอกไม้

จันท์กลุ่มสตรีบ้านคลองยาง” ดังนี้ ฝึกปฏิบัติการท าดอกไม้
จันท์ (ดอกกุหลาบ) ฝึกปฏิบัติการท าดอกไม้จันท์ (ดอกดารา
รัตน์) ฝึกปฏิบัติการเข้าช่อเชิญดอกไม้จันท์ จากดอกดารารัตน์


ฝึกปฏิบัติการการจัดพวงหรีดจากดอกไม้จันท์ ฝึกปฏิบัติการ
บรรจุหีบห่อ เพื่อการส่งขาย ผลจากการด าเนินการ ดังกล่าว


พบว่า ครัวเรือนเปาหมายได้เข้ารับการอบรม จ านวน 20 คน

ซึ่งเกินจากจ านวนเป้าหมายที่ตั้งไว้ คิดเป็น 100% ของจ านวน


ผู้เข้าร่วมการอบรม จากการอบรมดังกล่าวท าให้สมาชิกได้ผล
ดังนี้ โดยมีรายได้เพิ่มขึ้น 1,700 บาท/ครัวเรือน

เรื่องเล่าความส้าเร็จ





อาจารย์ผู้รับผิดชอบโครงการจึงได้จัดการฝึกอบรม

เชงปฏิบติการในหลักสูตร “การบูรณาการการเลี้ยงจิ้งหรีด


ด้วยระบบฟาร์มในชุมชน” สู่การจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้
เลี้ยงจิ้งหรีดและหนูนา”เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ที่ถูกต้อง

ส าหรับการเลี้ยงจิ้งหรีด ผลจากการด าเนินการ ดังกล่าว
พบว่า ครัวเรือนเป้าหมายได้เข้ารับการอบรม จ านวน 20 คน

ซึ่งเกินจากจ านวนเป้าหมายที่ตั้งไว้ คิดเป็น 1 0 0 %

ของจ านวนผู้เข้าร่วมการอบรม จากการอบรมดังกล่าวท าให้

สมาชิก เกิดการฟื้นฟูกลุ่มอาชีพที่หายไปให้กลับมาใหม่
อีกครั้งหนึ่ง โดยครัวเรือนเป้าหมายมีความรู้และความเข้าใจ

ในการเลี้ยงหนูนามากยิ่งขึ้น ท าให้เกิดการเลี้ยงเพื่อเป็นอาชีพ

เสริมในชุมชน กลุ่มผู้เลี้ยงและเกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้
ภายในกลุ่มผู้เลี้ยง โดยมีรายได้เพิ่มขึ้น 1,200 บาท/ครัวเรือน




















แนวปฏิบัติที่ดีที่ได้จากโครงการ (Best Practice)


เน้นกระบวนการสร้างองค์ความรู้แบบมีส่วนร่วม

โดยใช้ทรัพยากรและองค์ความรู้เดิมที่มีอยู่ในชุมชน และพัฒนา

เพิ่มเติมองค์ความรู้ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ให้เกิดความเข้าใจที่

ถูกต้องในการพัฒนาอาชพ รวมถึงเน้นการฝึกกลุ่มเปาหมายให้เปน



ต้นแบบการน าองค์ความรู้ไปใช้และสามารถถ่ายถอดองค์ความรู้ที่
ถูกต้องตามหลักวิชาการสู่การขยายผลได้และเน้นการอนุรักษ์

ทรัพยากรพื้นถิ่นและใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนบูรณาการเพื่อใช้

ในการเสริมสร้างอาชีพ

อาจาย์ผู้รับผิดชอบโครงการ อาจารย์คณิต เรืองขจร


มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชปถัมภ์ สระแก้ว


Click to View FlipBook Version