The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by soraya.an, 2021-03-26 05:09:21

การแปรรูปเกล็ดปลาตะเพียน บ้านหนองปรือ หมู่ที่ 3 ตำบลทัพราช อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว

กิจกรรม



การแปรรูปเกล็ดปลาตะเพียน





ชุมชนบ้านหนองปรือ หมู่ที่ 3 ต าบลทัพราช อ าเภอตาพระยา


จังหวัดสระแก้ว เป็นพื้นที่ประสบปัญหาภัยแล้งซ้ าซากมาอย่างยาวนาน ซึ่งส่งผลต่อ

คุณภาพชีวิตของประชาชนที่ไม่สามารถก้าวไปข้างหน้าได้อย่างมีเสถียรภาพ


แต่ชุมชนได้ร่วมมือกันจัดตั้งศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอพียงของชุมชนและมีการผลิต

ปลาส้มที่เป็นสินค้าขึ้นชื่อของชุมชน ทั้งนี้หลังจากการแปรรูปปลาส้มจะมีเกล็ดปลา


ที่เหลือทิ้งส่งกลิ่นเหม็นรวมถึงท าให้สภาพแวดล้อมสะอาด และชุมชนเกิด


ความเสียดายเกล็ดปลาเพราะมีสีขาวที่เงางาม จึงแจ้งให้ผู้ศึกษาพื้นที่ทราบและผู้

ศึกษาพยายามคิดค้นการแก้ปัญหาเกล็ดปลาเหลือทิ้งให้เกิดประโยชน์อีกครั้ง


ด้วยวิธีการแปรรูปเป็น ข้าวเกรียบเกล็ดปลา และการประดิษฐ์ดอกไม้เกล็ดปลา

กระบวนการด าเนินโครงการ







มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อเสริมสร้างความรู้ทักษะด้านการแปรรูปเกล็ดปลา

เป็นผลิตภัณฑ์ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ตลอดจนเพื่อให้ชุมชนมีชุดสื่อประชาสัมพันธ์ศูนย์เรียนรู้

ของกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงเพื่อให้กลุ่มอาชีพมีตราสัญลักษณ์และบรรจุภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานเป็นที่ดึงดูด

อีกทั้งเพื่อพัฒนาอาชีพให้กับกลุ่มอาชีพ/ครัวเรือนที่เป็นเป้าหมายและเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับกลุ่มอาชีพ

เละครัวเรือนที่เป็นเป้าหมาย โดยกลุ่มครัวเรือนเป้าหมายมีจ านวน 8 ครัวเรือนและผู้เข้าร่วมอบรม

จ านวน 22 คน (ประชาชนในชุมชน)
























พัฒนา




เข้าถึง


การพัฒนาหลักสูตร ข้าว
เข้าใจ เกรียบเกล็ดปลา และการ


ลงศึกษาสภาพปัญหาของ ประดิษฐ์ดอกไม้เกล็ดปลา

เกล็ดปลาที่เหลือทิ้ง ด้วย อันจะน าไปสู่การสร้าง

การศึกษาชุมชนด้วย วิธีการฝังตัวอยู่ในชุมชน รายได้ให้ชุมชนและ

วิธีการสนทนากลุ่ม เพื่อวิเคราะห์ความเป็นไป แก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม

( Focus Groups ) เพื่อ ได้ของการจ ากิจกรรมเพื่อ

ค้นหาสภาพปัญหาของ แก้ปัญหารวมถึงการสร้าง
ชุมชน และพิจารณาความ แรงบันดาลใจให้สมาชิกใน


เป็นไปได้ของการแก้ไข ชุมชน

ปัญหาในชุมชน

เรื่องเล่าความส าเร็จ



องค์ความรู้หรือบทเรียนที่ได้รับ(Lesson Learned)

ความภาคภูมิใจของชุมชนและอาจารย์ที่ร่วมกันพัฒนาเกล็ดปลาเหลือใช้

สู่การสร้างมูลค่าและสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน



แนวปฏิบัติที่ดีที่ได้จากโครงการ (Best Practice)
กระบวนการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วม


โดยเน้นร่วมวิเคราะห์ ร่วมวางแผนร่วมพัฒนา ร่วม
ทดลอง ร่วมฝึกปฏิบัติ ร่วมกันสร้างรายได้และร่วมกัน


แก้ปัญหาด้านขยะจากเกล็ดปลา

ปัจจัยแห่งความส าเร็จตามหัวข้อที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Key Success Factor: KSF)

ประชาชนในชมชนมีความชดเจนในการรวมกลุ่มกนประกอบอาชพ โดยร่วมกนวิเคราะห์





ปัญหาร่วมกันปฏิบัติ ร่วมกันสนับสนุนระดมทุน และที่ส าคัญประชาชนมีความตั้งใจและให้ความ
ร่วมมือกับอาจารย์ผู้รับผิดชอบพื้นที่ จนน าไปสู่การสร้างรายได้จากการแปรรูปเกล็ดปลา
สรุปผลการถอดบทเรียน ก่อนเริ่มกิจกรรม

ชุมชนมีเกล็ดปลาตะเพียนเหลือใช้จ านวนมาก

จากการแปรรูปปลาส้ม ชมชนได้ทิ้งเกล็ดปลาลงพื้นดิน

และล าคลอง ส่งกลิ่นเหม็น โดยส่งผลท าให้มีภาพ

แวดล้อมที่ไม่สะอาด


สรุปผลการถอดบทเรียน ภายหลังกิจกรรม

เกล็ดปลาที่ชุมชนเคยทิ้ง กลับมีคุณค่า

และชุมชนเก็บรักษาเกล็ดปลาเป็นอย่างดี ปัญหา

การธรรมลายสภาพแวดล้อม ทั้งพื้นดินและล า

คลอง ก็หมดไป กลายเป็นการสร้างรายได้ให้กับ

ชุมชน

เรื่องเล่าความส าเร็จ


























ตัวชวัดความส าเรจ



ผลการด าเนนงานของชมชน ตั้งแต่เดอน




มถนายน ถง เดอนกรกฎาคม 2562

มยอดขายข้าวเกรยบเกล็ดปลาจ านวน





8,000 บาทคดเปนก าไรสทธจ านวน 3,500




ี่


บาท โดยครวเรอนทเปนเปาหมายมรายได้

เพ่มข้น รอยละ 10 % หรอเฉลย 500 บาท


ี่



ต่อครวเรอน
แนวทางการต่อยอด
ควรสร้างความร่วมมือกับหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องทางด้านอาหาร เพื่อช่วย
ต่อยอดข้าวเกรียบเกล็ดปลาให้มีความ
หลากหลายมากยิ่นขึ้นทั้งทางด้านรส
ชาต และสีสันของข้าว เกรียบ
อันน าไปสู่การผลักดันให้ผลิตภัณฑ์

ข้าวเกรียบเกล็ดปลาเป็น หนึ่ง

ในผลิตภัณฑ์ OTOP ของจังหวัดและ

เป็นที่รู้จักในระดับประเทศ






ผู้รับผิดชอบโครงการ : อาจารย์เฉลิมพงษ์ จันทร์สุขา (อาจารย์นักพัฒนาท้องถิ่น)

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สระแก้ว


Click to View FlipBook Version