The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by soraya.an, 2021-03-29 23:38:26

ศูนย์การเรียนรู้ศาสตร์พระราชา (สระแก้ว) : การปลูกองุ่น

การปลูกองุน



































องุนเปนไมผลทางเลือกที่เกษตรกรนิยมปลูกเปนอาชีพ




เพราะเปนพืชที่ใหผลตอบแทนตอพื้นที่สูง สามารถทดแทนพืชที่สรางผลกระทบ




ตอสิ่งแวดลอม เชน ออย ขาวโพด เปนตน




นอกจากนี้ยังเปนไมผลที่มีศักยภาพทางการตลาดเนื่องจากราคาและความ จากองคความรูน้มีการพัฒนาตอยอดใหเหมาะสมสําหร ั



ตองการของตลาดมีสูง และสามารถใชเปนแหลงทองเที่ยวทางการเกษตรไดอีกดวย บใชในตนองุนทรงตนเตี้ยแบบแนวรั้วและแบบตัว




อยางไรก็ตาม การปลูกองุนในระบบเดิมจําเปนตองใชแรงงานมากและไมเหมาะสม Y โดยในการตัดแตงกิ่งครั้งที่ 1 แบบยาวมีการเพิ่มความ




กับเกษตรกรซึ่งสวนใหญเปนผูสูงอายุ เนื่องจากทรงตน รูปแบบคาง และวิธีการ ยาวของการไวกิ่ง และดัดโคงกิ่งหลังตัดแตง เพื่อเพิ่ม




ตัดแตงยังยุงยาก ไมสะดวกตอการปฏิบัติดูแลรักษาตนองุน ดังนั้น จึงจําเปนตองวิจัย ปริมาณและความสมํ่าเสมอของตาที่แตก ทําใหผลผลิต




และพัฒนารูปแบบการปลูกองุนใหมๆ ใหเหมาะสมกับเกษตรกรผูสูงอายุ ตอตนเพิ่มมากขึ้นถึง 109 กิโลกรัม/ตน/ครั้ง จากการ




ภายใตการผลิตองุนแบบประณีต ไดคุณภาพสูง ปลอดภัย และมีตนทุนการผลิตตํ่า ตัดแตงกิ่งแบบปกติที่ใหผลผลิต 50 กิโลกรัม/ตน/ครั้ง





























ระบบการจัดทรงตนแบบเดิมที่ใชอยูในประเทศไทย






การปลูกองุนในประเทศไทยสวนใหญมีการจัดทรงตนและสรางก่งไมเปนระบบท่ชัดเจน


ดูแลรักษายาก ระยะปลูกคอนขางถี่ (2x4 เมตร) และทรงตนแนนทึบ ทําใหตนองุนมีจํานวน




กิ่งที่จะใหผลผลิตนอย มีกิ่งที่ไมสมบูรณจํานวนมาก มีการสรางตาดอกนอย และใหผลผลิต




เพียง 5-10 กิโลกรัมตอตนตอป นอกจากนี้ สงผลใหตนโทรม อายุการใหผลผลิตสั้น




และยังพบการระบาดของโรคและแมลงรุนแรงอีกดวย

ตนองุนที่มีระบบการจัดทรงตนแบบเดิม











การตัดแตงกิ่งองุนระบบเดิมเปนการตัดแตงกิ่งแกตอเนื่อง ทําใหกิ่งออนแอลงและยืดยาว




ออกไปทุกป จึงเปนเหตุผลทําใหตนองุนใหผลผลิตตํ่ามาก อายุการใหผลผลิตสั้น และไม




สมํ่าเสมอกัน นอกจากนี้ เกษตรกรหรือผูตัดแตงกิ่งองุนจะตองมีความเชี่ยวชาญในการ




ตัดแตงมาก


การตัดแตงกิ่งองุนระบบเดิม












ระบบการปลูกองุนแบบใหมไดพัฒนาขึ้นใหมจากผลการวิจัยเรื่อง “การศึกษาและพัฒนาระบบการจัดทรงตนและตัดแตงกิ่งองุน”



โดยศึกษาปญหาที่เกิดจากการปลูกองุนในระบบเดิม โดยวิธีการสําคัญที่พัฒนาขึ้นใหม ไดแก วิธีการผลิตตนกลา ระยะปลูกรูปแบบ



การจัดทรงตน วิธีการสรางกิ่ง ระบบการตัดแตงกิ่ง วิธีการสงเสริมการสรางตาดอก และการปฏิบัติดูแลรักษาที่เหมาะสมกับนิสัย




การเจริญเติบโตขององุนและสภาพแวดลอม เปนระบบที่มีการจัดวางกิ่งอยางเปนระบบระเบียบ gพื่อสรางกิ่งที่จะใหผลผลิต



ที่มีจํานวนความสมบูรณ และตําแหนงของกิ่งไดตามที่ตองการ ทําใหตนองุนใหผลผลิตสูง มีคุณภาพ สมํ่าเสมอและยาวนาน




นอกจากนี้ ยังงายตอการจัดการโรคและแมลง โดยมีรูปแบบการจัดทรงตน และระยะปลูก 3 แบบ คือ ทรงตนแบบตัว T



ระยะปลูก 6x3 เมตร แบบตัว H ระยะปลูก 6x3 เมตร และแบบตัว T ระยะปลูก 6x1.5 เมตร ซึ่งสามารถใหผลผลิต 70-100



กิโลกรัมตอตนตอป












นอกจากนี้ มีการวิจัยและพัฒนาตอยอดรูปแบบคางองุนแบบใหม เพื่อเพิ่มคุณภาพและปริมาณผลผลิตตอพื้นที่ และสะดวกตอ



การปฏิบัติดูแลรักษายิ่งขึ้น รวมทั้งเพื่อใหรูปแบบคางมีความหลากหลาย สามารถปรับใชใหเหมาะสมสภาพพื้นที่และวัตถุประสงค




ของการใชงานที่แตกตางกันได โดยมีทรงตนรูปแบบใหม 6 แบบ คือ ทรงตนสูงแบบตัว T ระยะปลูก 1.2 x 8 เมตร ที่สามารถ



เพิ่มผลผลิตตอพื้นที่โรงเรือน ทรงตนแนวตั้งที่สามารถเพิ่มความสะดวกในการปฏิบัติดูแลรักษา ซึ่งมี 5 แบบ คือ ทรงตนเตี้ย




แบบแนวรั้ว แบบตัว Y สูง แบบตัว Y ตํ่า แบบตัว Y ดัดแปลงสูง และแบบตัว Y ดัดแปลงตํ่า โดยทั้งหมดใชระยะปลูก 1.5 x 8 เมตร



และไดมีการพัฒนารูปแบบโรงเรือนใหเหมาะสมกับทรงตนและคางรูปแบบใหมๆ ทั้งนี้ทรงตนที่เกษตรกรสวนใหญใชในปจจุบัน คือ



ทรงตนแบบตัว T ระยะปลูก 6x3 เมตร แบบตัว H ระยะปลูก 6x3 เมตร และแบบตัว T ระยะปลูก 1.2 x 8 เมตร




สําหรับทรงตนแนวตั้งแบบตัว Y เปนองคความรูใหมที่เหมาะกับเกษตรกรซึ่งสวนใหญเปนผูสูงอายุ มีทรงตนที่สะดวกตอการปฏิบัติ



ดูแลรักษาในการผลิตองุนแบบประณีต ใหผลผลิตที่มีคุณภาพสูง ภายใตระบบการปลูกที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ใชตนทุนการผลิต




ในการทําโรงเรือนและคางตํ่ากวาโรงเรือนขนาดมาตรฐานทั่วไป อีกทั้งยังสามารถลดผลกระทบที่มีตอผลผลิตองุนจาก



ความแปรปรวน











สําหรับการตัดแตงกิ่งองุนแบบโครงการหลวงคือ การตัดแตงกิ่งแบบ 1 กิ่ง ตัดแตง 2 ครั้งตอป โดยตัดแตงครั้งที่ 1




แบบยาว (Cane pruning) ระหวางเดือนสิงหาคม-กันยายน เพื่อใหไดผลผลิตที่มีคุณภาพสูงเก็บเกี่ยวในฤดูหนาว



ถึงฤดูแลง และตัดแตงกิ่งเดิมเปนครั้งที่ 2 โดยตัดแบบสั้น (Spur pruning) ระหวางเดือนมกราคม-กุมภาพันธ



เพื่อสรางกิ่งใหมที่สมบูรณและใหผลผลิตนอกฤดู ระบบการตัดแตงกิ่งแบบนี้ทําใหตนองุนใหผลผลิตสูงมาก




สมํ่าเสมอ และยาวนาน เพราะมีระบบการสรางกิ่งทดแทน ทําใหตนองุนมีความแข็งและสมบูรณอยูเสมอ



และสามารถควบคุมใหกิ่งอยูบนพื้นที่คางไดอยางมีประสิทธิภาพ


























มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ สระแกว





เลขที่ 1177 หมูที่ 2 ตําบลทาเกษม อําเภอเมืองสระแกว จังหวัดสระแกว 27000






โทรศัพท : 037-447-111 โทรสาร : 037-447-043





Website : www.sk.vru.ac.th วไลยอลงกรณฯ สระแกว


Click to View FlipBook Version