The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by soraya.an, 2021-03-29 23:12:45

ศูนย์การเรียนรู้ศาสตร์พระราชา (สระแก้ว) : การปลูกเมล่อน

การปลูกเมลอน

















































วิธีการเพาะเมล็ด










- ทําการบมเมล็ด โดยการนําเมล็ดแชในนํ้าอุนอุณหภูมิ 45-50 องศาเซลเซียส อยางนอย 45 นาที ถึง 1 ชั่วโมง




จากนั้นนํากระดาษทิชชูวางรองในกลองพลาสติก พรมนํ้าใหมีความชื้นแลวนําเมล็ดที่แชแลวมาวางกระบนทิชชู




แลวปดทับดวยทิชชูอีก 1 ชั้น เพื่อรักษาความชื้น ปดฝากลอง บมตอไปอีก 1 คืน




- เตรียมวัสดุเพาะกลา (พีทมอส) ถาดเพาะ ฟอรเซปหรือปากคีบสําหรับคีบเมล็ด




- นําพีทมอสมาผสมนํ้าใหพอหมาดๆ จากนั้นนําใสถาดเพาะกลา แลวคีบเมล็ดวางลงใหถาดเพาะหลุมละ 1 เมล็ด




กลบเมล็ดดวยพีทมอสบางๆ อีก 1 ชั้น ทําการรดนํ้าใหชุม นําถาดไปวางเรียงในที่มีแสง




- 1-2 วันจะเริ่มเห็นใบเลี้ยงออกมาจากเมล็ด นําถาดเพาะมาใหแสงแดดเต็มที่ เพื่อปองกันตนออนยืดยาว




- เมื่อตนกลาเริ่มมีใบจริง ใหสารละลายธาตุอาหารโดยมีคา EC ไมเกิน 1 ความเปนกรด-ดาง 5.5-6.5




(เริ่มใหปุยตอนยายลงถุงปลูก)




-เมื่อตนกลามีอายุ 10-14 วัน ใหเตรียมการยายปลูก









การยายกลา











- นําตนกลาอายุ 10-14 วัน หรือมีใบจริง 1-3 ใบ มาปลูกลงในถุงปลูก




หลังทําการยายปลูกใหนํ้าเปลากับตนเมลอนวันละ 3 ครั้ง




- หลังยายปลูก 1-2 วัน เริ่มใหสารละลายธาตุอาหาร EC ไมเกิน 1 ความเปนกรด-ดาง 5.5-6.5




โดยใหนํ้าวันละ 3 ครั้ง




- หลังยายปลูก 5-6 วัน เพิ่มสารละลายธาตุอาหาร EC 1.4 คาความเปนกรด-ดาง 5.8




- เมื่อตนมีใบ 4 - 5 ใบ ขอตนจะสูงขึ้น ทําการผูกเชือกโยงตน พันเชือกเขากับตนปองกันการหักลม




(พันเชือกทวนเข็มนาฬกา)




- เมื่อตนเมลอนมีอายุ 10 วันหลังยายปลูก ทําการฉีดพนสารละลายแคลเซียม-โบรอน ในอัตรา 10 ml. ตอนํ้า




20 ลิตร ทุกๆ 7-10 วัน เพื่อชวยเสริมความแข็งแรงใหกับตนเมลอน




- ตนเมลอนมีใบ 4-5 ใบ ทําการผูกเชือกโยงตนโดยพันเชือกทวนเข็มนาฬกา









การผสมเกสร











- ดูความพรอมในการผสมเกสรของดอก และทําการผสมเกสรในชวงเชา เวลาประมาณ 6.00-11.00 น.




หลังผสมแลวจะใชหลอดสีติดไวที่ขั้วผล (จะใชหลอดสีแตกตางกันตามวันที่ผสม)




เพื่อเปนที่สังเกตุวาตนไหนผสมแลวหรือยังไมผสม ดอกตัวผู




- โดยผสมเกสรซํ้า 3 ดอก ตอ 1 ตน หรือ 3 ลูกตอตน เพื่อใชคัดขนาดลูกในภายหลัง ดอกตัวเมีย




- เมื่อผสมเกสรและเริ่มติดผลแลว ปรับสารละลายธาตุอาหารเพื่อบํารุงผล ขยายผล EC 1.8-2.4




คาความเปนกรด-ดาง 5.8-6.5 และเพิ่มปริมาณการใหนํ้าเพื่อชวยขยายผลหรือทํานํ้าหนักผล




- เมื่อผลเมลอนมีขนาดเทาไขไก สามารถทําการคัดเลือกลูกที่มีลักษณะทรงกลม มีขนาดใหญ ไมบิดเบี้ยว -




หลังการคัดเลือกลูกแลว ใชเชือกคลองที่ขั้วผลแลวแขวนเชือกใหแขนงขนานกับพื้น เพื่อใหผล




และกานผลเปนทรงสวยงาม







การเก็บเกี่ยว










- เมื่อผลเมลอนขยายขนาดเต็มที่ มีผิวตาขายขึ้นเต็มทั้งผลและเขาสูชวง 30-35 วันหลังการผสมเกสร




จึงหยุดฉีดพนปุยทางใบ สูตร 13-0-46 แตยังคงฉีดพนสารละลายแคลเซียม-โบรอนตามเดิม




- หลังผสมเกสร 30-35 วัน เริ่มปรับสารละลายธาตุอาหารใหผลเมลอนหวาน (ชวงทําหวาน)




และคอยๆ ลดปริมาณนํ้าตอวันลงเรื่อยๆ กอนการเก็บเกี่ยว




- เก็บเกี่ยวผลเมลอนที่ 45-60 วันหลังผสมเกสร อายุเก็บเกี่ยวขึ้นอยูกับแตละสายพันธุ




โดยสามารถสังเกตการสุกแกของผลเมลอนไดจากใบที่ใกลผลมากที่สุด (ใบที่ติดขั้วผล) จะมีลักษณะซีด




เหลือง เริ่มแหงเปลี่ยนจากสีเหลืองเปนสีนํ้าตาล หรือสังเกตจากกนผลจะมีรอยแตกลายที่ชัดเจน




- ใชตาขายโฟมหอผลแลววางทิ้งไวเพื่อเปนการบมตอ หรือวางจําหนายได




- หลังจากเก็บเกี่ยวผลเมลอนเรียบรอยแลว ทําการถอนตนเมลอนออกจากถุงปลูก




นําไปทิ้งหรือทําลายเพื่อปองกันโรคหรือศัตรูพืชใชเปนแหลงอาศัย




- จัดการวัสดุปลูกที่ใชแลว หากเปนการใชครั้งแรก อาจนําไปตากแดดกลับวัสดุ




อาจนําไปใชปลูกพืชตระกูลอื่นๆ




- เก็บกวาด ทําความสะอาด ระบายอากาศ พักโรงเรือนไว เพื่อเตรียมการปลูกในรอบตอไป













มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ สระแกว








เลขที่ 1177 หมูที่ 2 ตําบลทาเกษม อําเภอเมืองสระแกว จังหวัดสระแกว 27000






โทรศัพท : 037-447-111 โทรสาร : 037-447-043






Website : www.sk.vru.ac.th วไลยอลงกรณฯ สระแกว


Click to View FlipBook Version