The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๒๕๖๔

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kajone661, 2021-05-18 11:19:19

หลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

หลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๒๕๖๔

คำนำ

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาง
การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) ได้จัดทาขึ้นตามแนวทางทกี่ าหนดไวใ้ น
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และเปน็ ไปตามมาตรา ๒๗ วรรคสอง แหง่
พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ซ่งึ กาหนดให้
สถานศกึ ษามีหนา้ ทจี่ ดั ทาสาระของหลักสตู รสถานศกึ ษาตามหลกั การ จุดหมายของหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา
ขั้นพื้นฐานกาหนด เพือ่ ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการในส่วนทเี่ กี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภมู ปิ ญั ญา
ท้องถิ่น คุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ เพือ่ ให้เยาวชนเป็นสมาชกิ ที่ดขี องครอบครัว ชมุ ชน สงั คมและประเทศชาติ

ทง้ั นี้โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) จึงต้องดาเนินการจดั การศึกษาตามนโยบายของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และปรบั ปรุงหลักสูตร และใหม้ ีความครอบคลมุ ในเรือ่ งต่าง ๆ คอื

๑. การปรบั ปรงุ และพฒั นาหน่วยการเรียนรู้บรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๒. การปรับปรงุ และพฒั นาหน่วยการเรียนรู้บรู ณาการอนรุ ักษพ์ นั ธ์พุ ืชในสถานศึกษา
๓. การปรับปรงุ และพฒั นาหน่วยการเรยี นรู้เชิงรกุ (Active Learning)
๔. การปรับปรงุ และพัฒนาหนว่ ยการเรยี นรูบ้ รู ณาการการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั
หลักสตู รสถานศกึ ษาฉบบั น้ี ประกอบดว้ ยวสิ ยั ทัศน์ของโรงเรยี น หลกั การ จุดมงุ่ หมาย สมรรถนะของ
ผ้เู รียนและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ โครงสร้างของหลกั สตู ร คาอธิบายราชวชิ า การวดั และประเมินผลการเรียนรู้
ซงึ่ ทางโรงเรยี นไดก้ าหนดไว้ในหลกั สูตรฉบบั นี้ เพอ่ื ใหผ้ เู้ ก่ยี วข้องและผทู้ ่นี าหลกั สูตรฉบับน้ไี ปใชไ้ ด้เขา้ ใจและ
สามารถนาไปใช้ได้อย่างถูกตอ้ งและบรรลผุ ลตามทีต่ อ้ งการ
หลักสูตรสถานศกึ ษาของโรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) ฉบบั นี้ สาเร็จลุลว่ งไปดว้ ยดีก็ด้วยความ
ร่วมมือและชว่ ยเหลือจากบุคลากรหลายฝา่ ย ประกอบดว้ ย ผู้อานวยการสถานศกึ ษา คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้
พืน้ ฐานของโรงเรียน ผปู้ กครองนักเรียน คณะครแู ละผมู้ สี ่วนเกี่ยวข้องทุกภาคสว่ นทม่ี สี ่วนร่วมดาเนินการ ทาง
โรงเรียนจงึ ขอขอบพระคณุ ท่านมา ณ โอกาสนี้

ลงชื่อ
(นายเดช จงรักพงศ์เผา่ )
ผ้อู านวยการสถานศกึ ษา

โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนติยุทธ)

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ หนา้ ก

สำรบัญ หนำ้

หัวขอ้ ข
ประกาศโรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ุทธ)
คานา ค
สารบญั ๑
ความนา 2
วิสัยทัศน์
หลักการ 2
จดุ มุ่งหมาย 3
สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น 4
คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
โครงสร้างเวลาเรียนหลกั สตู รสถานศกึ ษา 5
6
- โครงสร้างเวลาเรยี นหลกั สตู รสถานศึกษา ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ 7
- โครงสรา้ งเวลาเรยี นหลกั สตู รสถานศกึ ษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒
- โครงสรา้ งเวลาเรยี นหลกั สูตรสถานศกึ ษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ 8
- โครงสร้างเวลาเรียนหลกั สูตรสถานศึกษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ 9
- โครงสร้างเวลาเรยี นหลกั สตู รสถานศึกษา ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ 10
- โครงสร้างเวลาเรยี นหลกั สูตรสถานศกึ ษา ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖
- โครงสรา้ งเวลาเรยี นหลกั สูตรสถานศกึ ษา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ 11
- โครงสรา้ งเวลาเรยี นหลกั สูตรสถานศึกษา ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๒ 12
- โครงสร้างเวลาเรยี นหลกั สูตรสถานศึกษา ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ 13
ทาไมตอ้ งเรียนภาษาไทย
เรยี นรอู้ ะไรในภาษาไทย 14
คุณภาพผูเ้ รียน 15
มาตรฐานการเรียนรู้ 16
ตวั ชี้วดั
โครงสรา้ งกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย 16
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ภาษาไทย 17
19

20
20
22

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนติยุทธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หนา้ ข

สำรบัญ (ต่อ)

หัวข้อ หนำ้
ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย 23

- ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๑ 24
- ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๒ 32
- ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ 41

- ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๔ 49
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ 57
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ 66

- ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ 73
- ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ 80
- ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ 89

วิเคราะห์ตวั ช้ีวดั กลมุ่ สาระภาษาไทย 99
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ 100
- ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๒ 110

- ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ 123
- ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๔ 135
- ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๕ 149

- ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ 162
- ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ 175
- ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ 187

- ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ 199
คาอธบิ ายรายวิชา กลมุ่ สาระภาษาไทย 212
213
- ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๑
214
- ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๒ 215
- ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๓ 216
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔
217
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ 218
- ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๖ 219
- ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๑
220
- ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ 221
- ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๓

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนติยทุ ธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หนา้ ค

สำรบญั (ต่อ) หนำ้
222
หัวขอ้
โครงสรา้ งรายวิชาภาษาไทย 223
2๓๑
- ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๑ 2๓๗
- ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ 2๔๔
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ 2๕๕
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ 26๖
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖
- ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ 27๖
- ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ 2๘๒
- ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ 2๘๘
หน่วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
- ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ 29๔
- ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๒ 29๕
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ 29๖
- ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔
- ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ 29๗
- ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๖ 29๘
- ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๑ 29๙
- ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒
- ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ๓๐๐
ตารางวเิ คราะหค์ ะแนนกลุ่มสาระภาษาไทย ๓๐๑
- ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ 30๓
- ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๒
- ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๓ 30๕
- ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ 30๗
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ 30๘
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖
- ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ 30๙
- ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ 3๑๐
- ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ 3๑๑

3๑๒
3๑๓
31๔

31๖
31๘

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนติยทุ ธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ หนา้ ง

สำรบญั (ตอ่ ) หน้ำ
๓๒๐
หัวขอ้
เอกสารอ้างอิง ๓๒๑
ภาคผนวก

- รายงานการประชุมกรรมการสถานศกึ ษา
- คาส่งั แต่งตั้งคณะกรรมการวเิ คราะห์ จัดทา ประเมินผลการใช้ และปรบั ปรงุ หลกั สูตร

สถานศึกษา (คาสัง่ 20/2564)
- รายงานผลการประเมนิ และปรบั ปรุงหลกั สตู รสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2563
- รายงานการปรบั ปรุงและพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2563

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนติยทุ ธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ หนา้ จ

กลุ่มสำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย
หลักสูตรสถำนศึกษำ โรงเรยี นเทศบำล ๑ (ขจรเนติยุทธ) พุทธศักรำช ๒๕๖๔

ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขนั้ พื้นฐำน พทุ ธศักรำช ๒๕๕๑

ควำมนำ

โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนติยทุ ธ) ได้จัดทาการปรับปรงุ และพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา พุทธศักราช
๒๕๖๓ กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

โดยยดึ หลักความสอดคลอ้ งกับหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑(ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. ๒๕๖๐) กรอบหลักสตู รท้องถิน่ ความพรอ้ ม และจดุ เน้นของโรงเรียนใหม้ ีความเหมาะสมชัดเจนทัง้ เปา้ หมาย
ในการพัฒนาผู้เรียนและกระบวนการนาหลักสูตรไปใช้ในการมุ่งพัฒนาผูเ้ รยี นเมอ่ื จบช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ให้มี
ความรู้ความเขา้ ใจภาษาไทยอนั เป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันกอ่ ให้เกิดความเป็นเอกภาพ
และเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเปน็ ไทยเปน็ เครือ่ งมือในการติดต่อสื่อสาร เพื่อสรา้ งความเขา้ ใจ
และความสมั พนั ธท์ ีด่ ตี ่อกัน ทาใหส้ ามารถประกอบกจิ ธุระ การงาน และดารงชวี ิตร่วมกนั ในสงั คมประชาธปิ ไตยได้
อย่างสันติสุข และเปน็ เครอื่ งมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพ่ือพัฒนา
ความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และ
ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
นอกจากน้ยี ังเป็นสอื่ แสดงภมู ปิ ญั ญาของบรรพบุรุษด้านวฒั นธรรม ประเพณี และสุนทรยี ภาพ เป็นสมบตั ิล้าคา่ ควร
แก่การเรยี นรู้ อนุรักษ์ และสบื สานใหค้ งอย่คู ชู่ าตไิ ทยตลอดไป

ขอขอบคุณผทู้ ีม่ สี ่วนเกยี่ วข้องในการจดั ทาการปรบั ปรุงและพฒั นาหลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย
โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง คณะกรรมการบริหารและพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา คณะครูท่ีรบั ผิดชอบในกลมุ่ สาระการ
เรียนรู้ กองการศึกษาเทศบาลเมืองลาสามแก้ว รวมท้ังคณะกรรมการสถานศึกษาขึ้นพ้ืนฐาน ผู้ปกครองและ
นกั เรียน ซงึ่ ช่วยให้การจดั ทาหลกั สตู รสถานศึกษามีความสมบรู ณ์ เหมาะสมในการจดั การศึกษาของโรงเรยี น และ
พร้อมทีจ่ ะนาไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ตอ่ ไป

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนติยุทธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ หนา้ ๑

วสิ ัยทศั น์

“บรหิ ำรจดั กำรศกึ ษำไดม้ ำตรฐำน ยกระดบั กำรมีสว่ นร่วม
น้อมนำแนวทำงตำมหลกั ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียงอย่ำงยัง่ ยืน”

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) ม่งุ พฒั นาผ้เู รยี นทุกคน ซ่ึงเป็นกาลงั ของชาตใิ ห้
เป็นมนุษย์ท่มี ีความสมดุลทง้ั ด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกใน ความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก
ยดึ มน่ั ในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ มีความรแู้ ละทกั ษะพ้ืนฐาน
รวมท้งั เจตคติ ทีจ่ าเป็นตอ่ การศึกษาตอ่ การประกอบอาชพี และการศกึ ษาตลอดชีวิต โดยมงุ่ เน้นผเู้ รียนเป็นสาคญั
บนพื้นฐานความเชือ่ วา่ ทุกคนสามารถเรยี นร้แู ละพัฒนาตนเองได้เตม็ ตามศกั ยภาพ โดย สง่ เสริมการมสี ว่ นร่วมของ
ผู้เรียน ให้ได้รับการศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ โดยยึด
แนวคิดเชิงบูรณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งท่ีย่ังยืน เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณภาพและมีจิตสาธารณะ
พร้อมตอบแทนสงั คมประเทศตอ่ ไป

หลักกำร

หลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนติยุทธ) มีหลักการสาคัญ ดังนี้
๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐาน การเรียนรู้เป็น
เป้าหมายสาหรบั พัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และ คุณธรรมบนพ้ืนฐานของความเป็นไทย
ควบคูก่ บั ความเป็นสากล
๒. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสไดร้ ับการศึกษา อย่างเสมอภาคและมี
คณุ ภาพ
๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการ จัดการศึกษาให้
สอดคลอ้ งกับสภาพและความตอ้ งการของทอ้ งถน่ิ
๔. เป็นหลักสตู รการศกึ ษาทม่ี ีโครงสรา้ งยดึ หยุ่นท้งั ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและ การจดั การเรียนรู้
๕. เปน็ หลกั สตู รการศึกษาทีเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั
๖. เป็นหลักสูตรการศึกษา สาหรับ การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลุ่มเปา้ หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์

หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ุทธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ หน้า ๒

จดุ มุง่ หมำย

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนติยุทธ) มุ่งพัฒนาผู้เรยี นให้เป็นคนดี มีปัญญา มี
ความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ
การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ดังน้ี

๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มท่ีพงึ ประสงค์ เห็นคุณคา่ ของตนเอง มีวินยั และปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนบั ถือ ยึดหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง

๒. มีความรู้ ความสามารถในการสอื่ สาร การคิด การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต
๓. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตทีด่ ี มสี ขุ นิสัย และรักการออกกาลังกาย
๔. มีความรกั ชาติ มีจติ สานกึ ในความเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ยึดม่นั ในวถิ ชี ีวติ และการปกครอง
ตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
๕. มีจิตสานกึ ในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรกั ษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อม มีจิต
สาธารณะท่มี ่งุ ทาประโยชนแ์ ละสร้างสิง่ ทด่ี งี ามในสังคม และอยูร่ ว่ มกนั ใน สังคมอยา่ งมคี วามสขุ

หลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ หน้า ๓

สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน

ในการพฒั นาผู้เรยี นตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน มงุ่ พัฒนาผเู้ รียน ใหม้ สี มรรถนะสาคัญ ๕
ประการ ดังน้ี

๑. ควำมสำมำรถในกำรสอ่ื สำร เปน็ ความสามารถในการรบั และสง่ สาร มีวัฒนธรรม ในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพ่ือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นา ตนเองและสงั คม รวมทัง้ การเจรจาตอ่ รองเพื่อขจดั และลดปญั หา
ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกตอ้ งตลอดจนการเลือกใช้
วิธกี ารสอื่ สาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบทมี่ ีตอ่ ตนเองและสังคม

๒. ควำมสำมำรถในกำรคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สรา้ งสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคดิ เปน็ ระบบ เพื่อนาไปสู่ การสร้างองค์ความรู้หรอื สารสนเทศเพื่อ
การตดั สนิ ใจเกีย่ วกบั ตนเองและสังคมได้อยา่ ง เหมาะสม

๓. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค ต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูล สารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปล่ยี นแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแกไ้ ขปัญหา
และมีการตดั สินใจทม่ี ี ประสทิ ธภิ าพ โดยคานึงถึงผลกระทบ ทีเ่ กดิ ขนึ้ ตอ่ ตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม

๔. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการ ต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดาเนินชีวติ ประจาวัน การเรียนร้ดู ้วยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งตอ่ เนอื่ ง การทางาน และการอย่รู ่วมกันในสังคมด้วย
การสรา้ งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่าง บุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแยง้ ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การ
ปรับตัวให้ทันกับ การเปล่ยี นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรจู้ ักหลกี เลยี่ งพฤตกิ รรมไม่ พงึ ประสงค์ที่
สง่ ผลกระทบต่อตนเองและผ้อู ืน่

๕. ควำมสำมำรถในกำรใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลอื ก และใช้ เทคโนโลยดี ้านต่าง ๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสงั คม ในด้านการเรียนรู้ การสอ่ื สาร การทางาน การ
แกป้ ญั หา อย่างสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสมและมีคณุ ธรรม

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนติยุทธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ หน้า ๔

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

การพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนติยุทธ) มุ่งพัฒนาผู้เรียน ให้มี
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอย่รู ่วมกบั ผ้อู ่ืนในสงั คมได้อย่างมคี วามสุข ท้ังในฐานะพลเมืองไทยและ
พลโลก ดงั นี้

๑. รักชาติ ศาสนา กษตั ริย์
๒. ซื่อสตั ยส์ จุ ริต
๓. มีวนิ ยั
๔. ใฝ่เรยี นรู้
๕. อยู่อยา่ งพอเพียง
๖. มุ่งมนั่ ในการทางาน
๗. รักความเป็นไทย
๘. มจี ิตสาธารณะ

หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ หน้า ๕

โครงสรำ้ งเวลำเรียน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนติยทุ ธ) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ไดก้ าหนดโครงสรา้ งเวลาเรยี น ดังนี้

กลุม่ สำระกำรเรยี นร/ู้ เวลำเรยี น(ชว่ั โมง)
กิจกรรม
ระดับประถมศึกษำ ระดบั มัธยมศกึ ษำตอนต้น
วชิ ำพ้ืนฐำน
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓

๑. ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
๒. คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

๓. วิทยาศาสตร์และ ๘๐+ ๘๐+๒๐ ๘๐+ ๘๐+ ๘๐+ ๘๐+๔๐ ๑๒๐+ ๑๒๐+ ๑๒๐+
เทคโนโลยี ๒๐ ๒๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๔. สงั คมศกึ ษา ศาสนา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
วัฒนธรรม
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๕. ประวตั ิศาสตร์

๖. สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

๗. ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
๘. การงานอาชพี ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

๙. ภาษาต่างประเทศ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

รวมเวลำเรยี นวชิ ำพน้ื ฐำน ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐

วิชำเพ่มิ เตมิ

๑๐. ภาษาองั กฤษเพมิ่ เติม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

๑๑. ภาษาจนี เพิ่มเตมิ - - - - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐
๑๒. อาเซยี นศึกษา - - - - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐

๑๓. การงานอาชีพเพม่ิ เติม - - - - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐

๑๔. ท้องถน่ิ ของเรา - - - - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐

รวมเวลำเรียนวชิ ำเพมิ่ เติม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐

กจิ กรรมพัฒนำผู้เรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

- แนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

- ชุมนุม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

- ลูกเสือ-เนตรนารี ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐

- กิจกรรมเพื่อสังคม ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐

และสาธารณประโยชน์

รวมเวลำเรียนท้งั หมด ๑,๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐ ๑,๐๐ ๑,๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐

ตำมที่หลกั สตู รกำหนด ๐ ชม./ปี ๐ ๐ ๐ ชม./ปี ชม./ปี ชม./ปี ชม./ปี

ชม./ปี ชม./ปี ชม./ปี ชม./ปี

* หมำยเหตุ การจัดเวลาเรยี นทง้ั หมดเป็นไปตามความเหมาะสมและบรบิ ทของสถานศกึ ษา

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนติยทุ ธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ หน้า ๖

โครงสร้ำงเวลำเรยี น ช้ันประถมศกึ ษำปที ่ี ๑

ช้นั ประถมศึกษำปีที่ ๑ เวลำเรียน
(ชม. / ป)ี
รำยวิชำ / กจิ กรรม
๒๐๐
รำยวชิ ำพนื้ ฐำน ๒๐๐
ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๘๐+๒๐
ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๘๐
ว๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๐
ส๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔๐
ส๑๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐
พ๑๑๑๐๑ สุขศกึ ษา และพลศกึ ษา ๒๐
ศ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๑๒๐
ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๘๔๐
อ๑๑๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ
รวม ๔๐
รำยวชิ ำเพ่ิมเตมิ
 ภาษาองั กฤษเพ่มิ เตมิ ๑๒๐
๔๐
กิจกรรมพฒั นำผ้เู รียน ๓๐
 กิจกรรมแนะแนว ๑๐
 ลูกเสอื – เนตรนารี
 กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๔๐

 ชุมนมุ (ภาษาจีน) ๑๐๐๐

รวมเวลำเรียน

หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ุทธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หนา้ ๗

โครงสรำ้ งเวลำเรยี น ชน้ั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๒

ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๒ เวลำเรียน
(ชม. / ป)ี
รำยวชิ ำ / กจิ กรรม
๒๐๐
รำยวชิ ำพนื้ ฐำน ๒๐๐
ท๑2๑๐๑ ภาษาไทย ๘๐+๒๐
ค๑2๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๘๐
ว๑2๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๐
ส๑2๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔๐
ส๑2๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐
พ๑2๑๐๑ สุขศกึ ษา และพลศกึ ษา ๒๐
ศ๑2๑๐๑ ศลิ ปะ ๑๒๐
ง๑2๑๐๑ การงานอาชพี ๘๔๐
อ๑2๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ
รวม ๔๐
รำยวชิ ำเพ่ิมเตมิ
 ภาษาองั กฤษเพ่มิ เตมิ ๑๒๐
๔๐
กิจกรรมพฒั นำผ้เู รียน ๓๐
 กิจกรรมแนะแนว ๑๐
 ลูกเสอื – เนตรนารี
 กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๔๐

 ชมุ นมุ (ภาษาจีน) ๑๐๐๐

รวมเวลำเรียน

หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนติยุทธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ หนา้ ๘

โครงสรำ้ งเวลำเรยี น ชนั้ ประถมศกึ ษำปที ่ี ๓ เวลำเรียน
(ชม. / ปี)
ชัน้ ประถมศึกษำปีท่ี ๓
๒๐๐
รำยวชิ ำ / กิจกรรม ๒๐๐
๘๐+๒๐
รำยวชิ ำพ้นื ฐำน ๘๐
ท๑3๑๐๑ ภาษาไทย ๔๐
ค๑3๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๔๐
ว๑3๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๐
ส๑3๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒๐
ส๑3๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๑๒๐
พ๑3๑๐๑ สุขศึกษา และพลศกึ ษา ๘๔๐
ศ๑3๑๐๑ ศิลปะ
ง๑3๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
อ๑3๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ
รวม ๑๒๐
รำยวิชำเพ่มิ เติม ๔๐
 ภาษาอังกฤษเพ่ิมเตมิ ๓๐
๑๐
กจิ กรรมพัฒนำผู้เรียน
 กจิ กรรมแนะแนว ๔๐
 ลูกเสอื – เนตรนารี
 กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๑๐๐๐

 ชุมนมุ (ภาษาจีน)

รวมเวลำเรียน

หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ หน้า ๙

โครงสรำ้ งเวลำเรยี น ชั้นประถมศกึ ษำปีที่ ๔

ชน้ั ประถมศึกษำปีที่ ๔ เวลำเรยี น
(ชม. / ปี)
รำยวชิ ำ / กจิ กรรม
๑๖๐
รำยวิชำพน้ื ฐำน ๑๖๐
ท๑4๑๐๑ ภาษาไทย ๘๐+๔๐
ค๑4๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๘๐
ว๑4๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๐
ส๑4๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐
ส๑4๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๘๐
พ๑4๑๐๑ สุขศกึ ษา และพลศกึ ษา ๔๐
ศ๑4๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐
ง๑4๑๐๑ การงานอาชพี ๘๔๐
อ๑4๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ
รวม ๔๐
รำยวชิ ำเพมิ่ เติม
 ภาษาอังกฤษเพ่มิ เตมิ ๑๒๐
๔๐
กิจกรรมพัฒนำผู้เรยี น ๓๐
 กิจกรรมแนะแนว ๑๐
 ลูกเสือ – เนตรนารี
 กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ ๔๐

 ชุมนมุ (ภาษาจนี ) ๑๐๐๐

รวมเวลำเรียน

หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ุทธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ หน้า ๑๐

โครงสรำ้ งเวลำเรียน ชนั้ ประถมศกึ ษำปที ี่ ๕

ชน้ั ประถมศึกษำปีที่ ๕ เวลำเรยี น
(ชม. / ปี)
รำยวชิ ำ / กจิ กรรม
๑๖๐
รำยวิชำพน้ื ฐำน ๑๖๐
ท๑5๑๐๑ ภาษาไทย ๘๐+๔๐
ค๑5๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๘๐
ว๑5๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๐
ส๑5๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘๐
ส๑5๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๘๐
พ๑5๑๐๑ สุขศกึ ษา และพลศึกษา ๔๐
ศ๑5๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐
ง๑5๑๐๑ การงานอาชีพ ๘๔๐
อ๑5๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ
รวม ๔๐
รำยวชิ ำเพมิ่ เติม
 ภาษาอังกฤษเพ่มิ เตมิ ๑๒๐
๔๐
กิจกรรมพัฒนำผู้เรยี น ๓๐
 กิจกรรมแนะแนว ๑๐
 ลูกเสือ – เนตรนารี
 กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ ๔๐

 ชุมนมุ (ภาษาจนี ) ๑๐๐๐

รวมเวลำเรียน

หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ หน้า ๑๑

โครงสรำ้ งเวลำเรยี น ชั้นประถมศกึ ษำปีที่ ๖

ชน้ั ประถมศึกษำปีที่ ๖ เวลำเรยี น
(ชม. / ปี)
รำยวชิ ำ / กจิ กรรม
๑๖๐
รำยวิชำพน้ื ฐำน ๑๖๐
ท๑6๑๐๑ ภาษาไทย ๘๐+๔๐
ค๑6๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๘๐
ว๑6๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๐
ส๑6๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐
ส๑6๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๘๐
พ๑6๑๐๑ สุขศกึ ษา และพลศกึ ษา ๔๐
ศ๑6๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐
ง๑6๑๐๑ การงานอาชพี ๘๔๐
อ๑6๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ
รวม ๔๐
รำยวชิ ำเพมิ่ เตมิ
 ภาษาอังกฤษเพิม่ เตมิ ๑๒๐
๔๐
กิจกรรมพัฒนำผู้เรยี น ๓๐
 กจิ กรรมแนะแนว ๑๐
 ลูกเสือ – เนตรนารี
 กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ ๔๐

 ชุมนมุ (ภาษาจีน) ๑๐๐๐

รวมเวลำเรียน

หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ุทธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ หน้า ๑๒

โครงสร้ำงเวลำเรยี น ชั้นมัธยมศกึ ษำศกึ ษำปีที่ ๑

ชนั้ มัธยมศกึ ษำปที ี่ ๑ (ภำคเรียนท่ี ๑) ช้ันมัธยมศึกษำปที ่ี๑ (ภำคเรียนท่ี ๒)

รำยวิชำ / กิจกรรม เวลำเรยี น รำยวิชำ / กิจกรรม เวลำเรียน

(หนว่ ยกิต/ชม.) (หน่วยกติ /ชม.)

รำยวิชำพนื้ ฐำน รำยวิชำพ้นื ฐำน

ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐) ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐)

ค๒๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ค๒๑๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ (๖๐)
๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒.๐ (๘๐) ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒.๐ (๘๐)
๑.๕ (๖๐) ๑.๕ (๖๐)
ส๒๑๑๐๑ สังคมศกึ ษา ส๒๑๑๐๒ สงั คมศึกษา
ศาสนา วัฒนธรรม ๐.๕ (๒๐) ศาสนา วัฒนธรรม ๐.๕ (๒๐)
ส๒๑๑๐๓ ประวัตศิ าสตร์ ๐.๕ (๒๐) ส๒๑๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕ (๒๐)
๐.๕ (๒๐) ๐.๕ (๒๐)
พ๒๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษา ๐.๕(๒๐) พ๒๑๑๐๒ สขุ ศึกษา ๐.๕(๒๐)
๐.๕(๒๐)
พ๒๑๑๐๓ พลศึกษา ๐.๕(๒๐) พ๒๑๑๐๔ พลศกึ ษา
๑.๕ (๖๐)
ศ๒๑๑๐๑ ทัศนศลิ ป์ ๑๑ (๔๔๐) ศ๒๑๑๐๒ ทัศนศิลป์

ศ๒๑๑๐๓ ดนตรี และนาฏศลิ ป์ ศ๒๑๑๐๔ ดนตรี และนาฏศลิ ป์ ๐.๕(๒๐)

ง ๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ง๒๑๑๐๒ การงานอาชพี ๐.๕(๒๐)

อ๒๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ อ๒๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๑.๕ (๖๐)
รวม ๑๑ (๔๔๐)
รวม
รำยวิชำเพมิ่ เติม
รำยวิชำเพม่ิ เติม

อ๒๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพิ่มเติม ๐.๕ (๒๐) อ๒๑๒๐๒ ภาษาองั กฤษเพมิ่ เตมิ ๐.๕ (๒๐)
ต๒๑๒๐๑ ภาษาจีนเพ่มิ เตมิ ๐.๕ (๒๐) ต๒๑๒๐๒ ภาษาจีนเพิ่มเตมิ ๐.๕ (๒๐)
ส๒๑๒๐๑ อาเซยี นศึกษา ๐.๕ (๒๐) ส๒๑๒๐๒ อาเซียนศกึ ษา ๐.๕ (๒๐)
ง๒๑๒๐๑ การงานเพม่ิ เตมิ ๐.๕ (๒๐) ง๒๑๒๐๒ การงานเพิ่มเตมิ ๐.๕ (๒๐)
ง๒๑๒๐๓ ท้องถิ่นของเรา ๐.๕ (๒๐) ง๒๑๒๐๔ ทอ้ งถิ่นของเรา ๐.๕ (๒๐)

รวม ๒.๕ (๑๐๐) รวม ๒.๕ (๑๐๐)
กิจกรรมพฒั นำผู้เรียน ๖๐ กิจกรรมพัฒนำผ้เู รยี น ๖๐

 กจิ กรรมแนะแนว ๒๐  กจิ กรรมแนะแนว ๒๐

 ชมุ นมุ ๒๐  ชมุ นมุ ๒๐

ลกู เสอื - เนตรนารี ๒๐ ลูกเสือ - เนตรนารี ๒๐
กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน์

รวมเวลำเรยี นท้งั ส้นิ ๖๐๐ รวมเวลำเรยี นทัง้ ส้ิน ๖๐๐

หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ หน้า ๑๓

โครงสร้ำงเวลำเรยี น ชนั้ มัธยมศกึ ษำปที ี่ ๒

ชนั้ มธั ยมศกึ ษำปที ่ี ๒ (ภำคเรียนท่ี ๑) ช้ันมธั ยมศกึ ษำปีท่ี ๒ (ภำคเรยี นที่ ๒)

รำยวิชำ / กิจกรรม เวลำเรียน รำยวิชำ / กจิ กรรม เวลำเรียน

(หนว่ ยกิต/ชม.) (หนว่ ยกติ /ชม.)

รำยวิชำพ้ืนฐำน รำยวิชำพ้ืนฐำน

ท๒2๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐) ท๒2๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐)

ค๒2๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ค๒2๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ (๖๐)
ว๒2๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒.๐ (๘๐) ว๒2๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒.๐ (๘๐)
๑.๕ (๖๐) ๑.๕ (๖๐)
ส๒2๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ส๒2๑๐๒ สงั คมศกึ ษา
ศาสนา วัฒนธรรม ๐.๕ (๒๐) ศาสนา วฒั นธรรม ๐.๕ (๒๐)
ส๒2๑๐๓ ประวัติศาสตร์ ๐.๕ (๒๐) ส๒2๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร์ ๐.๕ (๒๐)
๐.๕ (๒๐) ๐.๕ (๒๐)
พ๒2๑๐๑ สขุ ศกึ ษา ๐.๕(๒๐) พ๒2๑๐๒ สขุ ศกึ ษา ๐.๕(๒๐)
๐.๕(๒๐)
พ๒2๑๐๓ พลศึกษา ๐.๕(๒๐) พ๒2๑๐๔ พลศกึ ษา
๑.๕ (๖๐)
ศ๒2๑๐๑ ทัศนศลิ ป์ ๑๑ (๔๔๐) ศ๒2๑๐๒ ทัศนศิลป์

ศ๒2๑๐๓ ดนตรี และนาฏศลิ ป์ ศ๒2๑๐๔ ดนตรี และนาฏศลิ ป์ ๐.๕(๒๐)

ง๒2๑๐๑ การงานอาชพี ง๒2๑๐๒ การงานอาชีพ ๐.๕(๒๐)

อ๒2๑๐๑ ภาษาองั กฤษ อ๒2๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๑.๕ (๖๐)
รวม ๑๑ (๔๔๐)
รวม
รำยวชิ ำเพ่ิมเติม
รำยวชิ ำเพมิ่ เติม

อ๒2๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพม่ิ เติม ๐.๕ (๒๐) อ๒2๒๐๒ ภาษาองั กฤษเพิ่มเติม ๐.๕ (๒๐)
ต๒2๒๐๑ ภาษาจนี เพมิ่ เติม ๐.๕ (๒๐) ต๒2๒๐๒ ภาษาจนี เพ่มิ เตมิ ๐.๕ (๒๐)
ส๒2๒๐๑ อาเซยี นศกึ ษา ๐.๕ (๒๐) ส๒2๒๐๒ อาเซยี นศกึ ษา ๐.๕ (๒๐)
ง๒2๒๐๑ การงานเพิ่มเตมิ ๐.๕ (๒๐) ง๒2๒๐๒ การงานเพม่ิ เตมิ ๐.๕ (๒๐)
ง๒2๒๐๓ ทอ้ งถนิ่ ของเรา ๐.๕ (๒๐) ง๒2๒๐๔ ท้องถน่ิ ของเรา ๐.๕ (๒๐)

รวม ๒.๕ (๑๐๐) รวม ๒.๕ (๑๐๐)
กจิ กรรมพัฒนำผู้เรียน ๖๐ กิจกรรมพฒั นำผูเ้ รียน ๖๐

 กจิ กรรมแนะแนว ๒๐  กิจกรรมแนะแนว ๒๐

 ชุมนุม ๒๐  ชมุ นมุ ๒๐

ลกู เสอื - เนตรนารี ๒๐ ลกู เสือ - เนตรนารี ๒๐
กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน์

รวมเวลำเรียนทั้งส้ิน ๖๐๐ รวมเวลำเรียนท้ังสนิ้ ๖๐๐

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ หนา้ ๑๔

โครงสร้ำงเวลำเรยี น ช้ันมัธยมศกึ ษำปที ี่ ๓

ชัน้ มธั ยมศึกษำปที ี่ ๓ (ภำคเรียนท่ี ๑) ช้ันมธั ยมศกึ ษำปีท่ี ๓ (ภำคเรียนที่ ๒)

รำยวิชำ / กิจกรรม เวลำเรยี น รำยวิชำ / กจิ กรรม เวลำเรียน

(หน่วยกิต/ชม.) (หน่วยกติ /ชม.)

รำยวิชำพืน้ ฐำน รำยวิชำพื้นฐำน

ท๒3๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐) ท๒3๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐)

ค๒3๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ค๒3๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ (๖๐)
ว๒3๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒.๐ (๘๐) ว๒3๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒.๐ (๘๐)
๑.๕ (๖๐) ๑.๕ (๖๐)
ส๒3๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ส๒3๑๐๒ สงั คมศกึ ษา
ศาสนา วฒั นธรรม ๐.๕ (๒๐) ศาสนา วัฒนธรรม ๐.๕ (๒๐)
ส๒3๑๐๓ ประวัติศาสตร์ ๐.๕ (๒๐) ส๒3๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕ (๒๐)
๐.๕ (๒๐) ๐.๕ (๒๐)
พ๒3๑๐๑ สขุ ศกึ ษา ๐.๕(๒๐) พ๒3๑๐๒ สุขศึกษา ๐.๕(๒๐)
๐.๕(๒๐)
พ๒3๑๐๓ พลศกึ ษา ๐.๕(๒๐) พ๒3๑๐2 พลศึกษา
๑.๕ (๖๐)
ศ๒3๑๐๑ ทศั นศลิ ป์ ๑๑ (๔๔๐) ศ๒3๑๐๒ ทศั นศลิ ป์

ศ๒3๑๐๓ ดนตรี และนาฏศลิ ป์ ศ๒3๑๐๔ ดนตรี และนาฏศลิ ป์ ๐.๕(๒๐)

ง ๒3๑๐๑ การงานอาชพี ง๒3๑๐๒ การงานอาชีพ ๐.๕(๒๐)

อ๒3๑๐๑ ภาษาองั กฤษ อ๒3๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๑.๕ (๖๐)
รวม ๑๑ (๔๔๐)
รวม
รำยวชิ ำเพิ่มเตมิ
รำยวชิ ำเพ่ิมเตมิ

อ๒3๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพิม่ เตมิ ๐.๕ (๒๐) อ๒3๒๐๒ ภาษาองั กฤษเพ่ิมเติม ๐.๕ (๒๐)
ต๒3๒๐๑ ภาษาจนี เพ่ิมเตมิ ๐.๕ (๒๐) ต๒3๒๐๒ ภาษาจีนเพมิ่ เตมิ ๐.๕ (๒๐)
ส๒3๒๐๑ อาเซยี นศึกษา ๐.๕ (๒๐) ส๒3๒๐๒ อาเซียนศกึ ษา ๐.๕ (๒๐)
ง๒3๒๐๑ การงานเพ่มิ เตมิ ๐.๕ (๒๐) ง๒3๒๐๒ การงานเพิม่ เติม ๐.๕ (๒๐)
ง๒3๒๐๓ ทอ้ งถ่นิ ของเรา ๐.๕ (๒๐) ง๒3๒๐๔ ท้องถ่ินของเรา ๐.๕ (๒๐)

รวม ๒.๕ (๑๐๐) รวม ๒.๕ (๑๐๐)
กจิ กรรมพัฒนำผ้เู รียน ๖๐ กิจกรรมพัฒนำผู้เรยี น ๖๐

 กจิ กรรมแนะแนว ๒๐  กิจกรรมแนะแนว ๒๐

 ชุมนุม ๒๐  ชุมนมุ ๒๐

ลูกเสอื - เนตรนารี ๒๐ ลกู เสือ - เนตรนารี ๒๐
กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน์

รวมเวลำเรยี นทั้งสน้ิ ๖๐๐ รวมเวลำเรียนทงั้ สนิ้ ๖๐๐

หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนติยุทธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ หน้า ๑๕

ทำไมต้องเรียนภำษำไทย

ภาษาไทยเป็นเอกลกั ษณข์ องชาตเิ ป็นสมบตั ิทางวัฒนธรรมอันก่อใหเ้ กิดความเป็นเอกภาพและเสรมิ สร้าง
บุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทยเป็นเครื่องมือในการติดต่อส่ือสารเพื่อสร้างความเข้าใจและ
ความสมั พันธท์ ่ีดตี อ่ กนั ทาให้สามารถประกอบกิจธรุ ะการงาน และดารงชีวติ รว่ มกันในสังคมประชาธิปไตยได้อยา่ ง
สันติสุขและเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่างๆเพ่ือพัฒนาความรู้
พฒั นากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสรา้ งสรรค์ให้ทันตอ่ การเปล่ียนแปลงทางสงั คมและความกา้ วหนา้ ทาง
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มคี วามม่ันคงทางเศรษฐกิจนอกจากน้ียังเป็นสื่อ
แสดงภมู ิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรมประเพณแี ละสุนทรียภาพเป็นสมบตั ิล้าค่าควรแก่การเรียนรู้อนุรกั ษ์
และสืบสาน ใหค้ งอยคู่ ่ชู าติไทยตลอดไป

เรยี นรอู้ ะไรในภำษำไทย

ภาษาไทยเป็นทักษะท่ีต้องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสาร การเรียนรอู้ ย่างมี
ประสิทธภิ าพ และเพือ่ นาไปใชใ้ นชีวติ จรงิ

 กำรอ่ำน การอ่านออกเสียงคาประโยคการอา่ นบทร้อยแก้วคาประพันธช์ นิดต่างๆการอ่านในใจเพื่อ
สร้างความเขา้ ใจและการคดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากสงิ่ ที่อา่ นเพอื่ นาไปปรบั ใช้ในชีวิตประจาวนั

 กำรเขียน การเขียนสะกดตามอกั ขรวิธีการเขียนส่อื สารโดยใชถ้ ้อยคาและรปู แบบต่างๆของการเขียนซ่ึง
รวมถึงการเขียนเรียงความย่อความรายงานชนิดต่างๆการเขียนตามจินตนาการ วิเคราะห์วิจารณ์และเขียนเชิง
สรา้ งสรรค์

 กำรฟงั กำรดู และกำรพูด การฟังและดูอยา่ งมวี ิจารณญาณการพูดแสดงความคดิ เห็นความรู้สกึ พูด
ลาดับเรือ่ งราวตา่ งๆอยา่ งเป็นเหตุเป็นผลการพูดในโอกาสต่างๆทั้งเปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการและการพดู เพ่ือ
โน้มนา้ วใจ

 หลักกำรใช้ภำษำไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทยการใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสมกับ
โอกาสและบุคคลการแตง่ บทประพนั ธ์ประเภทตา่ งๆ และอทิ ธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

 วรรณคดีและวรรณกรรม วเิ คราะห์วรรณคดแี ละวรรณกรรมเพ่อื ศึกษาขอ้ มลู แนวความคิด คุณค่าของ
งานประพันธ์และความเพลิดเพลินการเรียนร้แู ละทาความเข้าใจบทเห่บทร้องเล่นของเดก็ เพลงพ้ืนบ้านที่เป็นภูมิ
ปญั ญาทีม่ ีคณุ ค่าของไทยซึ่งไดถ้ ่ายทอดความรู้สกึ นึกคดิ ค่านิยมขนบธรรมเนยี มประเพณีเรื่องราวของสังคมในอดีตและ
ความงดงามของภาษาเพื่อให้เกิดความซาบซึ้งและภมู ใิ จในบรรพบรุ ุษที่ได้สั่งสมสบื ทอดมาจนถงึ ปจั จุบนั

หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนติยุทธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หน้า ๑๖

คณุ ภำพผเู้ รยี น

จบช้นั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๓

 อา่ นออกเสียงคา คาคล้องจอง ข้อความ เรอื่ งสั้น ๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ได้ถูกต้องคล่องแคล่ว
เข้าใจความหมายของคาและข้อความที่อ่าน ต้ังคาถามเชิงเหตุผล ลาดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุป
ความรู้ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน ปฏิบัติตามคาส่ัง คาอธิบายจากเร่ืองที่อ่านได้ เข้าใจความหมายของข้อมูลจาก
แผนภาพ แผนทแี่ ละแผนภูมิ อ่านหนงั สืออย่างสม่าเสมอ และมีมารยาทในการอา่ น

 มีทกั ษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขยี นบรรยาย บนั ทึกประจาวนั เขียนจดหมายลาครู
เขยี นเรอ่ื งเก่ียวกับประสบการณ์ เขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการและมีมารยาทในการเขยี น

 เล่ารายละเอียดและบอกสาระสาคัญ ตั้งคาถาม ตอบคาถาม รวมท้ังพูดแสดงความคิดความรู้สึก
เก่ียวกับเร่ืองท่ีฟังและดู พูดสื่อสารเล่าประสบการณ์และพูดแนะนา หรอื พูดเชิญชวนให้ผู้อ่ืนปฏิบัติตาม และมี
มารยาทในการฟงั ดู และพดู

 สะกดคาและเข้าใจความหมายของคา ความแตกต่างของคาและพยางค์ หน้าท่ีของคาในประโยค มี
ทกั ษะการใชพ้ จนานุกรมในการคน้ หาความหมายของคา แต่งประโยคงา่ ย ๆ แตง่ คาคลอ้ งจอง แต่งคาขวัญ และเลือกใช้
ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ

 เข้าใจและสามารถสรุปขอ้ คิดทไ่ี ดจ้ ากการอ่านวรรณคดแี ละวรรณกรรมเพ่ือนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีทอ่ี ่าน รู้จักเพลงพ้ืนบ้าน เพลงกล่อมเด็ก ซ่ึงเป็นวัฒนธรรมของทอ้ งถิ่น ร้องบทร้อง
เล่นสาหรบั เด็กในทอ้ งถน่ิ ท่องจาบทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมคี ณุ ค่าตามความสนใจได้

จบชนั้ ประถมศกึ ษำปีที่ 6

 อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองเป็นทานองเสนาะได้ถูกต้อง อธิบายความหมายโดยตรง
และความหมายโดยนัยของคา ประโยค ข้อความ สานวนโวหารจากเร่ืองท่ีอ่านเข้าใจคาแนะนาคาอธิบายในคู่มือ
ตา่ ง ๆ แยกแยะข้อคิดเห็นและข้อเทจ็ จรงิ รวมทง้ั จับใจความสาคญั ของเรือ่ งท่ีอ่าน และนาความรู้ความคดิ จากเรอ่ื ง
ที่อ่าน ไปตัดสินใจแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตได้ มีมารยาทและมีนิสัยรักการอ่าน และเห็นคุณค่าสิ่งท่ีอ่าน มี
ทักษะในการ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสะกดคา แต่งประโยค และเขียนข้อความ
ตลอดจนเขียนส่ือสาร โดยใช้ถอ้ ยคาชัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพ โครงเรอ่ื งและแผนภาพความคดิ เพ่ือพัฒนา
งานเขียน เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ จดหมายส่วนตัว กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนแสดงความรูส้ ึกและความ
คดิ เหน็ เขยี นเรือ่ งตามจินตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์ และมีมารยาทในการเขยี น

 พูดแสดงความรู้ ความคดิ เกย่ี วกบั เรอ่ื งท่ีฟังและดู เลา่ เรอ่ื งยอ่ หรอื สรปุ จากเรื่องที่ฟังและดู ต้งั คาถาม
ตอบคาถามจากเร่ืองท่ีฟังและดู รวมท้ังประเมินความน่าเช่ือถือจากการฟังและดูโฆษณาอย่างมีเหตุผล พูด
ตามลาดับขัน้ ตอนเรื่องตา่ ง ๆ อย่างชัดเจน พูดรายงานหรอื ประเด็นคน้ คว้าจากการฟงั การดู การสนทนา และพูด
โน้มน้าวได้อยา่ งมเี หตผุ ล รวมท้งั มีมารยาทในการดแู ละพดู

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนติยทุ ธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ หน้า ๑๗

 สะกดคาและเขา้ ใจความหมายของคา สานวน คาพังเพยและสุภาษิต รู้และเข้าใจชนิดและหน้าท่ีของ
คา ในประโยค ชนดิ ของประโยคและคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใชค้ าราชาศพั ท์และคาสภุ าพไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
แต่งประโยค แตง่ บทรอ้ ยกรองประเภทกลอนส่ี กลอนสุภาพ และกาพยย์ านี ๑๑

 เข้าใจและเห็นคุณค่าวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอ่าน เล่านิทานพนื้ บ้าน ร้องเพลงพืน้ บ้านของท้องถ่ิน
นาขอ้ คดิ เห็นจากเร่ืองทีอ่ ่านไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจรงิ และท่องจาบทอาขยานตามทกี่ าหนดได้

จบชั้นมัธยมศกึ ษำปีที่ ๓
 อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะได้ถูกต้อง เข้าใจความหมายโดยตรง
และความหมาย โดยนยั จับใจความสาคัญและรายละเอียดของสิ่งท่ีอ่าน แสดงความคิดเห็นและข้อโต้แย้งเก่ยี วกับ
เรอ่ื งทอี่ ่าน และเขียนกรอบแนวคดิ ผังความคิด ย่อความ เขียนรายงานจากสิ่งท่ีอ่านได้ วิเคราะห์ วิจารณ์อย่างมี
เหตุผลลาดับความอย่างมีข้ันตอน และความเป็นไปได้ของเรื่องท่ีอ่าน รวมท้ังประ เมินความถูกต้องของข้อมูล
สนบั สนนุ จากเรอ่ื งทอี่ า่ น
 เขยี นสอื่ สารดว้ ยลายมอื ท่อี ่านงา่ ยชัดเจน ใชถ้ อ้ ยคาไดถ้ ูกต้องเหมาะสมตามระดับภาษา เขียนคาขวัญ
คาคม คาอวยพรในโอกาสต่าง ๆ โฆษณา คติพจน์ สนุ ทรพจน์ ชีวประวัติ อัตชีวประวัติและประสบการณ์ต่าง ๆ
เขียนยอ่ ความ จดหมายกจิ ธรุ ะ แบบกรอกสมคั ร งานเขยี นวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ความคิดหรือโตแ้ ย้ง
อยา่ งมเี หตผุ ล เขยี นรายงานจากการศกึ ษาคว้าและเขยี นโครงงาน
 พดู แสดงความคดิ เห็นวิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินสิ่งที่ได้จากการฟงั และดู นาข้อคิดไปประยุกต์ใช้ใน
ชวี ิต ประจาวัน พูดรายงานเรื่องหรอื ประเด็นที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ มีศิลปะในการพูด พูดใน
โอกาส ต่าง ๆ ได้ตรงตามวตั ถุประสงค์ และพดู โนม้ น้าวอย่างมีเหตผุ ลนา่ เช่ือถือ มีมารยาทในการฟงั ดแู ละพูด
 เข้าใจและใช้ราชาศัพท์ คาบาลี สันสกฤต คาภาษาถิ่น คาภาษาต่างประเทศ คาทับศัพท์ และศัพท์
บัญญัติในภาษาไทย วิเคราะห์ความแตกต่างในภาษาพูดภาษาเขียน โครงสร้างของประโยครวม ประโยคซ้อน
ลักษณะภาษาทเี่ ปน็ ทางการก่งึ ทางการและไม่เป็นทางการ แตง่ บทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสภุ าพ กาพย์ และโคลง
สสี่ ภุ าพ
 สรุปเน้ือหาจากวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน วิเคราะห์ตัวละครสาคัญวิถีชีวิตไทย และคุณค่าท่ี
ได้รบั จากวรรณคดีวรรณกรรมและบทอาขยาน พรอ้ มทง้ั สรปุ ความรู้ขอ้ คิดเพอ่ื นาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ จรงิ

หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หนา้ ๑๘

มำตรฐำนกำรเรยี นรู้

๔๔เ

การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและ พหุปัญญา หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน จึงกาหนดให้ผเู้ รยี นเรยี นรู้ ๘ กล่มุ สาระการเรียนรู้ ดงั นี้

๑. ภาษาไทย
๒. คณติ ศาสตร์
๓. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

๔. สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
๕. สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา
๖. ศลิ ปะ

๗. การงานอาชีพ
๘. ภาษาตา่ งประเทศ
โดยในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสาคัญ ของการพัฒนา

คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุส่งิ ที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ และ มีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์อย่างไร
เมอ่ื จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรยู้ งั เป็นกลไกสาคัญในการขับเคลอ่ื นพัฒนาการศกึ ษา
ท้ังระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร

รวมท้งั เปน็ เคร่ืองมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศกึ ษาโดยใชร้ ะบบการประเมิน คุณภาพภายใน
และการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพื้นท่ี การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ
ระบบการตรวจสอบเพื่อประกันคุณภาพดังกล่าว เป็นส่ิงสาคัญท่ีช่วยสะท้อนภาพการจัดการศึกษาว่าสามารถ

พฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคุณภาพ ตามทมี่ าตรฐานการเรยี นรกู้ าหนดเพียงใด

หลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หนา้ ๑๙

ตวั ชว้ี ัด

ตวั ชีว้ ดั ระบสุ งิ่ ทน่ี กั เรยี นพึงร้แู ละปฏิบัติได้ รวมทงั้ คุณลักษณะของผเู้ รียนในแต่ละระดบั ชัน้ ซ่ึง
สะทอ้ นถงึ มาตรฐานการเรยี นรู้ มคี วามเฉพาะเจาะจงและมคี วามเป็นรปู ธรรม นาไปใช้ ในการกาหนดเนอ้ื หา จัดทา
หน่วยการเรียนรู้ จดั การเรยี นการสอน และเปน็ เกณฑส์ าหรบั การวดั และประเมนิ ผลเพอื่ ตรวจสอบคณุ ภาพผู้เรียน
ตัวช้วี ดั ชนั้ ปี จงึ เปน็ เปา้ หมายในการพฒั นาผู้เรียนแตล่ ะชั้นปใี นระดับการศึกษาภาคบงั คับ

รายวชิ า ตำรำงแสดงตวั ชวี้ ัดของกลุม่ สำระกำรเรยี นรจู้ ำแนกตำมชน้ั ปี
ภาษาไทย ระดบั ชนั้ (จานวนตัวช้ีวดั )

ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓
๒๒ ๒๗ ๓๑ ๓๓ ๓๓ ๓๔ ๔๒ ๓๒ ๓๒

โครงสร้ำงกล่มุ สำระกลมุ่ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย ระดบั ประถมศึกษำ

รำยวชิ ำพ้ืนฐำน ภาษาไทย ๒๐๐ ชั่วโมงต่อปี ๕ ชัว่ โมง
ท๑๑๑๐๑
ภาษาไทย ๒๐๐ ชั่วโมงตอ่ ปี ๕ ชั่วโมง
ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ชั่วโมงตอ่ ปี ๕ ชวั่ โมง
ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ชั่วโมงต่อปี ๔ ช่วั โมง
ท๑๔๑๐๑
ภาษาไทย ๑๖๐ ชั่วโมงต่อปี ๔ ชัว่ โมง
ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ชั่วโมงตอ่ ปี ๔ ชั่วโมง
ท๑๖๑๐๑
รำยวชิ ำเพ่ิมเตมิ

-

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนติยทุ ธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ หน้า ๒๐

โครงสร้ำงกลมุ่ สำระกลุม่ สำระกำรเรยี นรูภ้ ำษำไทย ระดบั มธั ยมศกึ ษำ

รำยวชิ ำพื้นฐำน ๓ ชั่วโมงต่อสปั ดาห์ ๑.๕ หน่วยกติ
ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑
๓ ชัว่ โมงตอ่ สปั ดาห์ ๑.๕ หน่วยกิต
ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ๓ ชั่วโมงต่อสปั ดาห์ ๑.๕ หน่วยกิต
ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๓ ชวั่ โมงตอ่ สปั ดาห์ ๑.๕ หน่วยกติ
ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔
๓ ชั่วโมงตอ่ สปั ดาห์ ๑.๕ หน่วยกติ
ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๓ ชั่วโมงต่อสปั ดาห์ ๑.๕ หน่วยกติ
ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖

รำยวชิ ำเพ่ิมเติม
-

หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนติยทุ ธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ หน้า ๒๑

สำระและมำตรฐำนกำรเรยี นรู้

กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย

สำระที่ ๑ กำรอ่ำน
มำตรฐำน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการ

ดาเนนิ ชีวิตและมีนิสยั รกั การอา่ น

สำระท่ี ๒ กำรเขียน
มำตรฐำน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราวใน

รูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

สำระที่ ๓ กำรฟงั กำรดู และกำรพดู
มำตรฐำน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงั และดอู ย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ ความรสู้ ึกใน

โอกาสต่าง ๆ อยา่ งมวี ิจารณญาณ และสรา้ งสรรค์

สำระท่ี ๔ หลกั กำรใชภ้ ำษำไทย
มำตรฐำน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา

ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ

สำระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มำตรฐำน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคณุ คา่ และ

นามาประยุกต์ใช้ในชีวติ จริง

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ุทธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ หนา้ ๒๒

ตวั ชี้วัดและสำระกำรเรยี นรู้
กลุม่ สำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย

หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ หนา้ ๒๓

ชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๑

สำระที่ ๑ กำรอำ่ น
มำตรฐำน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิดเพอ่ื นาไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปญั หาในการดาเนินชวี ิต
และมนี สิ ยั รกั การอ่าน

รหสั ตัวช้ีวดั ตวั ชีว้ ดั สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรู้ท้องถิ่น/ ต้องรู้ ควรรู้
จุดเน้นของโรงเรียน

ท ๑.๑ ป.๑/๑ อา่ นออกเสยี งคา   การอ่านออกเสียงและบอก หลกั ปรัชญำของเศรษฐกจิ 

คาคล้องจอง และ ความหมายของคา คาคล้องจอง พอเพียงและกำรอนุรักษ์

ขอ้ ความสนั้ ๆ และขอ้ ความทป่ี ระกอบด้วย พันธพุ์ ชื ในสถำนศึกษำ

คาพ้ืนฐาน คือ คาทใ่ี ช้ในชีวติ - มดขยนั กบั จกั จน่ั เสยี งใส

ประจาวนั ไมน่ ้อยกวา่ ๖๐๐ - ฝา้ ยเกบ็ ออม

คา รวมท้ังคาที่ใชเ้ รียนรใู้ น - ต้นไมเ้ พ่ือนรกั

กลมุ่ สาระการเรียนร้อู ืน่ - กล้วย อ้อย (อาหารของ

ประกอบด้วยคาทม่ี รี ปู วรรณยุกต์ ช้าง จากหน่วยที่ ๖ ไป

และไม่มรี ปู วรรณยกุ ต์ คาท่ีมี โรงเรียน)

ตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ กำรเรยี นรูเ้ ชิงรุก(Active

ตรงตามมาตรา คาทีม่ พี ยัญชนะ Learning)

ควบกลา้ คาที่มีอักษรนา - วเิ คราะห์คาศัพท์จากภาพ

ท ๑.๑ ป.๑/๒ บอกความหมายของ  การอา่ นออกเสียงและบอก หลักปรัชญำของเศรษฐกิจ 

คา และขอ้ ความที่ ความหมายของคา คาคลอ้ งจอง พอเพียงและกำรอนุรกั ษ์

อา่ น และข้อความทป่ี ระกอบดว้ ย พนั ธพุ์ ชื ในสถำนศกึ ษำ

คาพืน้ ฐาน คอื คาทใี่ ช้ในชวี ิต - มดขยันกบั จกั จนั่ เสยี งใส

ประจาวนั ไม่น้อยกว่า ๖๐๐ - ฝ้ายเกบ็ ออม

คา รวมทง้ั คาทใี่ ช้เรียนรใู้ น - ตน้ ไมเ้ พอื่ นรัก

กล่มุ สาระการเรยี นรู้อื่น - กล้วย ออ้ ย (อาหารของ

ประกอบด้วยคาทม่ี รี ปู วรรณยุกต์ ชา้ ง จากหนว่ ยท่ี ๖ ไป

และไม่มรี ปู วรรณยุกต์ คาท่ีมี โรงเรียน)

ตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่

ตรงตามมาตรา คาทมี่ พี ยญั ชนะ

ควบกลา้ คาที่มีอักษรนา

หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หนา้ ๒๔

รหัสตัวชีว้ ดั ตวั ชี้วัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรู้ทอ้ งถ่ิน/ ตอ้ งรู้ ควรรู้
จดุ เน้นของโรงเรยี น 
ท ๑.๑ ป.๑/๓ ตอบคาถาม  การอา่ นจับใจความจากส่อื 
เก่ยี วกบั เรือ่ งที่อ่าน ตา่ งๆ เชน่ หลกั ปรชั ญำของเศรษฐกิจ
พอเพียงและกำรอนรุ ักษ์ 
- นทิ าน
- เรอ่ื งสั้น ๆ พนั ธพ์ุ ชื ในสถำนศกึ ษำ หนา้ ๒๕
- บทร้องเลน่ และบทเพลง - มดขยนั กับจักจั่นเสยี งใส
- ชุดเติบโตตามรอยพ่อ: คดิ
- เรื่องราวจากบทเรียนใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย แบบในหลวง
และกลุ่มสาระการเรียนรอู้ ืน่ - ต้นไมเ้ พอื่ นรกั
- กล้วย อ้อย (อาหารของ
ท ๑.๑ ป.๑/๔ เลา่ เรื่องยอ่ จากเร่อื ง  การอา่ นจับใจความจากสอื่
ทีอ่ ่าน ตา่ งๆ เชน่ ชา้ ง จากหน่วยท่ี ๖ ไป
- นทิ าน โรงเรยี น)

- เรอ่ื งสั้น ๆ หลกั ปรัชญำของเศรษฐกจิ
- บทร้องเลน่ และบทเพลง
- เรอื่ งราวจากบทเรยี นใน พอเพยี งและกำรอนุรกั ษ์
พนั ธ์ุพชื ในสถำนศึกษำ
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย - มดขยนั กับจักจนั่ เสียงใส
และกลมุ่ สาระการเรยี นรอู้ ่ืน
- ชุดเติบโตตามรอยพอ่ : คดิ
ท ๑.๑ ป.๑/๕ คาดคะเนเหตกุ ารณ์  การอา่ นจับใจความจากสอื่ แบบในหลวง
จากเรื่องท่อี ่าน ตา่ ง ๆ เช่น - ต้นไม้เพอื่ นรกั

- นิทาน - กล้วย อ้อย (อาหารของ
- เร่ืองส้นั ๆ ชา้ ง จากหน่วยท่ี ๖ ไป
- บทร้องเล่นและบทเพลง โรงเรยี น)

- เรอื่ งราวจากบทเรียนใน กำรเรียนรู้เชงิ รุก(Active
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย Learning)
และกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ นื่ - เล่านทิ านจากภาพ

หลักปรัชญำของเศรษฐกิจ
พอเพียงและกำรอนุรักษ์
พันธพ์ุ ชื ในสถำนศกึ ษำ

- มดขยันกับจักจั่นเสียงใส
- ชุดเตบิ โตตามรอยพอ่ : คิด
แบบในหลวง

- ต้นไมเ้ พ่ือนรกั
- กล้วย อ้อย (อาหารของ
ชา้ ง จากหนว่ ยท่ี ๖ ไป

โรงเรยี น)

หลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนติยุทธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

รหัสตัวชีว้ ัด ตวั ชวี้ ัด สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน/ ตอ้ งรู้ ควรรู้
จุดเน้นของโรงเรยี น 
ท ๑.๑ ป.๑/๖ อา่ นหนังสือตาม  การอ่านหนงั สือตามความ _

ความสนใจอย่าง สนใจ เชน่ กำรอนรุ ักษพ์ ันธ์ุพชื ใน
สถำนศึกษำ 
สม่าเสมอและ - หนงั สอื ทนี่ กั เรียนสนใจและ - ต้นไม้เพอ่ื นรัก

นาเสนอเรอ่ื งทอ่ี ่าน เหมาะสมกับวัย _

- หนงั สือทคี่ รูและนักเรียน

กาหนดรว่ มกัน

ท ๑.๑ ป.๑/๗ บอกความหมายของ  การอ่านเครื่องหมายหรอื

เครือ่ งหมาย หรอื สญั ลกั ษณ์ ประกอบดว้ ย

สัญลกั ษณ์สาคัญท่ี - เครื่องหมายสัญลกั ษณต์ ่าง ๆ

มกั พบเหน็ ใน ทีพ่ บเห็นในชวี ติ ประจาวนั

ชีวิตประจาวนั - เคร่ืองหมายแสดงความ

ปลอดภยั และแสดงอันตราย

ท ๑.๑ ป.๑/๘ มีมารยาท ในการ  มารยาทในการอ่าน เชน่
อ่าน - ไม่อา่ นเสียงดังรบกวนผู้อื่น
- ไมเ่ ลน่ กันขณะที่อา่ น
- ไมท่ าลายหนงั สือ

รวม ๘ ตัวชว้ี ัด

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ หนา้ ๒๖

สำระท่ี ๒ กำรเขยี น
มำตรฐำน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขยี นเขยี นสอื่ สาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขียนเรอื่ งราวในรปู แบบต่าง ๆ

เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

รหัสตวั ชวี้ ัด ตวั ชวี้ ดั สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น/ ตอ้ งรู้ ควรรู้
จดุ เน้นของโรงเรียน

ท ๒.๑ ป.๑/๑ คดั ลายมือตวั บรรจงเตม็  การคดั ลายมอื ตวั บรรจงเต็ม _

บรรทัด บรรทัดตามรูปแบบการเขยี นตวั

อักษรไทย

ท ๒.๑ ป.๑/๒ เขยี นสื่อสารดว้ ยคาและ  การเขียนสะกดคาพนื้ ฐานไม่ การอนรุ กั ษพ์ นั ธ์ุพชื ใน 

ประโยคงา่ ย ๆ นอ้ ยกว่า ๖๐๐ คา สถานศกึ ษา

- - คาทใ่ี ช้ในชีวิตประจาวัน - ตน้ ไมเ้ พอ่ื นรัก

- คาพืน้ ฐานในบทเรียน - เร่ืองกล้วย...กลว้ ย

- คาคลอ้ งจอง กำรใช้เทคโนโลยีดิจิทัล

- ประโยคงา่ ย ๆ - ฝึกเขียนพยัญชนะและสระ

ด้วย Application 

ท ๒.๑ ป.๑/๓ มมี ารยาทในการเขยี น   มารยาทในการเขียน เชน่ _

- - เขียนใหอ้ า่ นง่าย สะอาด

ไม่ขดี ฆา่

- - ไม่ขดี เขยี นในท่ีสาธารณะ

- - ใช้ภาษาเขยี นเหมาะสมกับ

เว สถานที่ และบุคคล

รวม ๓ ตัวชี้วดั

หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ หน้า ๒๗

สำระที่ ๓ กำรฟงั กำรดู และกำรพดู
มำตรฐำน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอยา่ งมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคดิ และความรู้สกึ ในโอกาส

ตา่ ง ๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสรา้ งสรรค์

รหสั ตัวช้วี ัด ตวั ช้ีวัด สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง สำระกำรเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน/ ต้องรู้ ควรรู้
จุดเน้นของโรงเรียน  
ท ๓.๑ ป.๑/๑ ฟังคาแนะนา คาสั่ง  การฟงั และปฏิบัติตาม
_ 
งา่ ย ๆ และปฏบิ ัตติ าม คาแนะนา คาสัง่ งา่ ยๆ
ท ๓.๑ ป.๑/๒ต ตอบคาถามและเล่า  การจบั ใจความจากเรือ่ งทีฟ่ ัง หลกั ปรชั ญำของ
เศรษฐกิจพอเพียง และ
เร่อื งทฟ่ี งั และดทู ัง้ ที่ และดู ท้งั ทเ่ี ป็นความรแู้ ละความ กำรอนุรักษพ์ ันธพุ์ ืชใน
เปน็ ความรแู้ ละความ บันเทงิ เช่น สถำนศึกษำ
บนั เทงิ - เรอ่ื งเลา่ และสารคดสี าหรับเด็ก - สงิ โตเบาปญั ญา
- ฝ้ายเกบ็ ออม
- นทิ าน - เร่ืองกล้วย...กล้วย
- การต์ นู หลกั ปรชั ญำของ
เศรษฐกิจพอเพียง และ
ท ๓.๑ ป.๑/๓น พูดแสดงความ ก การจบั ใจความจากเร่อื งทฟี่ งั และ กำรอนรุ ักษ์พันธ์พุ ืชใน
คดิ เหน็ และความรู้สกึ ดู ทัง้ ท่เี ปน็ ความร้แู ละความ สถำนศกึ ษำ
จากเร่ืองทฟ่ี งั และดู บันเทงิ เช่น - สงิ โตเบาปญั ญา
- ฝ้ายเกบ็ ออม
- เรือ่ งเลา่ และสารคดสี าหรบั เดก็ - เรอื่ งกลว้ ย...กลว้ ย
- นิทาน กำรใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั
- - การ์ตูน - บันทกึ วิดโี อการเล่า
นิทานผ่านสอื่
ท ๓.๑ ป.๑/๔ พดู สื่อสารไดต้ าม  การพดู สื่อสารใน อเิ ลก็ ทรอนิกส์
วตั ถปุ ระสงค์ ชีวติ ประจาวัน เช่น _
- การแนะนาตนเอง
- การกล่าวคาทักทาย

หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนติยทุ ธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หน้า ๒๘

รหสั ตวั ชี้วดั ตวั ช้วี ดั สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง สำระกำรเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น/ ตอ้ งรู้ ควรรู้
จุดเน้นของโรงเรยี น 
ท ๓.๑ ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟงั  มารยาทในการฟงั เชน่
การดู และการพดู - ตั้งใจฟงั ตามองผู้พดู _
- ไม่รบกวนผอู้ นื่ ขณะทีฟ่ งั
- ไม่ควรนาอาหารหรอื เครอ่ื งดื่มไป

รบั ประทานขณะทีฟ่ งั
- ให้เกยี รติผพู้ ดู ดว้ ยการปรบมอื
- ไมพ่ ูดสอดแทรกขณะทฟ่ี งั

รวม ๕ ตวั ชวี้ ดั

หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนติยุทธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ หน้า ๒๙

สำระท่ี ๔ หลกั กำรใชภ้ ำษำไทย
มำตรฐำน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษาและพลังของภาษาภมู ิ

ปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิของชาติ

รหสั ตวั ช้วี ัด ตวั ชี้วัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง สำระกำรเรยี นร้ทู ้องถิ่น/ ตอ้ งรู้ ควรรู้
จดุ เน้นของโรงเรยี น

ท ๔.๑ บอกและเขียนพยญั ชนะ  พยญั ชนะ สระ และ _

ป.๑/๑ สระ วรรณยกุ ต์ และเลข วรรณยุกต์
ไทย  เลขไทย

ท ๔.๑ เขียนสะกดคาและบอก  หลักการแจกลกู สะกดคา _

ป.๑/๒ ความหมาย ของคา  หลักการใช้มาตราตวั สะกดทต่ี รง

ตามมาตราและไมต่ รงตาม

มาตรา

ท ๔.๑ เรียบเรียงคาเปน็ ประโยค  คาคล้องจอง กำรอนรุ ักษพ์ ันธพุ์ ืชใน 

ป.๑/๓ งา่ ย ๆ สถำนศึกษำ

- กลว้ ย ออ้ ย (อาหาร

ของชา้ ง จากหน่วยที่ ๖

ไปโรงเรียน)

กำรเรียนรเู้ ชิงรกุ

(Active Learning)

- จิ๊กซอว์ เรยี งคาใหเ้ ป็น

ประโยค

รวม ๓ ตวั ช้ีวดั

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ หน้า ๓๐

สำระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มำตรฐำน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เห็น วิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณคา่ และนามา

ประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ จรงิ

รหสั ตวั ชว้ี ดั ตวั ช้วี ดั สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น/ ตอ้ งรู้ ควรรู้
 
ท ๕.๑ ป.๑/๑ บอกข้อคิดท่ไี ด้จาก   วรรณกรรมรอ้ ยแก้วและร้อย จุดเน้นของโรงเรยี น
การอา่ นหรอื การฟงั กรองสาหรบั เด็ก เช่น
วรรณกรรมรอ้ ยแกว้ - นทิ าน หลักปรชั ญำของ
และร้อยกรองสาหรบั - เรอื่ งสน้ั งา่ ยๆ
เด็ก - ปรศิ นาคาทาย เศรษฐกจิ พอเพยี งและ
- บทร้องเลน่ กำรอนรุ ักษ์พันธพุ์ ืชใน
- บทอาขยาน สถำนศกึ ษำ
- บทรอ้ ยกรอง
- วรรณคดแี ละวรรณกรรมใน - ฝ้ายเกบ็ ออม
บทเรียน - ความลบั ของบวั หลวงท่ี
เราไม่เคยรู้
ท ๕.๒ ป.๑/๒ ทอ่ งจาบทอาขยาน  บทอาขยานและบทรอ้ ยกรอง
- บทอาขยานตามท่กี าหนด - เรอ่ื งกลว้ ย...กล้วย
ตามทก่ี าหนด และ - บทร้อยกรองตามความสนใจ - ดนิ โป่ง (อ่านคลอ่ งรอ้ ง
บทรอ้ ยกรองตาม เลน่ จากหนว่ ยท่ี ๑๐
ความสนใจ รวม ๒ ตัวชว้ี ัด
เพอื่ นร้ใู จ)
กำรเรยี นรู้เชิงรุก
(Active Learning)

- ทายปรศิ นา ประลอง
ปัญญา

-

หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนติยุทธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ หนา้ ๓๑

ช้นั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๒

สำระท่ี ๑ กำรอำ่ น

มำตรฐำน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพื่อนาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แก้ปญั หาในการดาเนนิ ชวี ิต

และมีนสิ ัยรักการอา่ น

รหัส ตัวช้วี ดั สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง สำระกำรเรยี นรู้ท้องถ่ิน / ตอ้ งรู้ ควรรู้
ตวั ชว้ี ัด จุดเน้น ของโรงเรียน

ท ๑.๑ อา่ นออกเสยี งคาคลอ้ งจอง  การอา่ นออกเสียงและการบอก หลักปรัชญำของเศรษฐกจิ 

ป.๒/๑ ข้อความและบทร้อยกรอง ความหมายของคา คาคล้องจอง พอเพียงและกำรอนุรกั ษ์

ท งา่ ยๆได้ถกู ต้อง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆ พนั ธุพ์ ืชในสถำนศึกษำ

ทปี่ ระกอบดว้ ยคาพ้ืนฐานเพมิ่ จาก - เด็กกบั ตน้ ไม้

ป.๑ไม่นอ้ ยกวา่ ๘๐๐ คารวมท้งั คา - ออมสนิ หนูดี

ท ๑.๑ อธิบายความหมายของคา ทีใ่ ช้เรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ - ชดุ เติบโตตามรอยพ่อ: คดิ
แบบในหลวง
ป.๒/๒ และขอ้ ความที่อา่ น อ่นื ประกอบด้วย

- คาท่ีมีรูปวรรณยุกต์และไม่มีรูป - นทิ านขนมแมเ่ อย๊ (ขนม

วรรณยุกต์คาที่มีตัวสะกดตรง กลว้ ย)

ตามมาตราและไม่ตรงตามาตรา กำรเรยี นรู้เชงิ รกุ

คาท่ีมีพยัญชนะควบกล้าคาท่ีมี (Active Learning)

อกั ษรนา คาท่ีมีตัวการันต์ คาที่มี - การวิเคราะห์

รร คาที่มีพยัญชนะและสระท่ีไม่ คาท่ีมีตัวสะกดตรงตาม

ออกเสียง มาตราและไม่ตรงตา

มาตรา

ท ๑.๑ ตัง้ คาถามและตอบคาถาม  การอ่านจบั ใจความจากสอื่ หลกั ปรัชญำของเศรษฐกิจ 

ป.๒/๓ เกีย่ วกบั เร่อื งท่ีอ่าน ตา่ งๆ เชน่ พอเพยี งและกำรอนรุ กั ษ์

ท ๑.๑ ระบใุ จความสาคญั และ - นทิ าน พันธพ์ุ ชื ในสถำนศกึ ษำ 

ป.๒/๔ รายละเอยี ดจากเรื่องที่อา่ น - เรือ่ งเล่าส้ัน ๆ - เดก็ กับต้นไม้

ท ๑.๑ แสดงความคิดเห็นและ - บทเพลงและบทร้อยกรอง - ออมสนิ หนูดี 

ป.๒/๕ คาดคะเนเหตุการณจ์ าก งา่ ย ๆ - ชดุ เติบโตตามรอยพอ่ : คดิ

เร่อื งทอี่ ่าน - เรื่องราวจากบทเรยี นในกลุ่ม แบบในหลวง

สาระการเรียนรู้ภาษาไทย และ - หา่ นกับไข่ทองคา

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้อื่น - ขนมกล้วยกระทงนอ้ ย

- ขา่ วและเหตกุ ารณป์ ระจาวัน กำรเรยี นรเู้ ชงิ รกุ

(Active Learning)

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ หนา้ ๓๒

รหัส ตวั ช้วี ดั สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง สำระกำรเรยี นรทู้ ้องถิ่น / ต้องรู้ ควรรู้
ตัวช้วี ดั จุดเน้น ของโรงเรียน

- วิเคราะห์เรอื่ งราวจาก

บทเรียน

ท ๑.๑ อา่ นหนังสอื ตามความ  การอ่านหนงั สือตามความสนใจ หลกั ปรชั ญำของเศรษฐกจิ 

ป.๒/๖ สนใจอย่างสมา่ เสมอและ เช่น พอเพยี งและกำรอนรุ กั ษ์

นาเสนอเรอ่ื งทีอ่ ่าน - หนงั สอื ท่นี ักเรียนสนใจและ พันธพ์ุ ชื ในสถำนศึกษำ

เหมาะสมกับวัย - บ้านเห็ดหอม

- หนงั สอื ที่ครูและนักเรียน - ลุงบญุ กบั ป้ามาลี (เศรษฐกจิ

กาหนดรว่ มกนั พอเพยี ง)

-นิทานขนมแมเ่ อย๊ (ขนม

กลว้ ย)

ท ๑.๑ อา่ นขอ้ เขียนเชิงอธบิ าย  การอา่ นข้อเขยี นเชงิ อธบิ าย และ 

ป.๒/๗ และปฏบิ ัติตามคาสงั่ หรอื ปฏบิ ตั ติ ามคาสงั่ หรือขอ้ แนะนา

ขอ้ แนะนา - การใช้สถานท่ีสาธารณะ

- คาแนะนาการใชเ้ ครือ่ งใชท้ ่ี

จาเปน็ ในบ้านและในโรงเรียน

ท ๑.๑ มมี ารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอา่ น เช่น 

ป.๒/๘ - ไม่อา่ นเสยี งดงั รบกวนผู้อื่น

- ไมเ่ ลน่ กันขณะทอ่ี ่าน

- ไม่ทาลายหนังสอื

- ไม่ควรแย่งอา่ นหรอื ชะโงก

หนา้ ไปอา่ นขณะทผ่ี อู้ น่ื กาลังอ่าน

อยู่

รวม ๘ ตัวชวี้ ดั

หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนติยทุ ธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ หนา้ ๓๓

สำระที่ ๒ กำรเขียน
มำตรฐำน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นสอื่ สารเขียนเรยี งความ ย่อความและเขียนเรอ่ื งราวในรูปแบบตา่ ง ๆ

เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

รหัส ตัวช้ีวดั สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรทู้ ้องถิ่น/ ต้องรู้ ควรรู้
ตัวชี้วัด จุดเน้นของโรงเรยี น 

ท ๒.๑ คัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็  การคดั ลายมือตัวบรรจงเต็ม -

ป.๒/๑ บรรทดั บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตวั 

อักษรไทย

ท ๒.๑ เขียนเรอื่ งสน้ั ๆ เกย่ี วกบั  การเขยี นเรื่องส้ันๆ เกย่ี วกบั หลักปรัชญำของเศรษฐกจิ
ป.๒/๒ ประสบการณ์
ประสบการณ์ พอเพียงและกำรอนรุ กั ษพ์ ันธ์ุ

พืชในสถำนศกึ ษำ

- ลงุ บุญกบั ปา้ มาลี (เศรษฐกจิ

พอเพียง)

- เดก็ กบั ตน้ ไม้

- ตน้ โอ๊กผ้ยู ง่ิ ใหญ่

- ความลับของบวั หลวงทเี่ ราไม่

เคยรู้

กำรเรยี นรู้เชิงรุก

(Active Learning)

- วิเคราะหก์ ารคัดลายมอื ตวั

บรรจงเตม็ บรรทดั ตามรปู แบบ

ท ๒.๑ เขียนเร่ืองส้นั ๆ ตาม  การเขียนเรื่องส้ันๆ ตาม -
ป.๒/๓ จนิ ตนาการ
จนิ ตนาการ
ท ๒.๑ ป. มีมารยาทในการเขียน
๒/๔  มารยาทในการเขยี น เช่น -

- เขยี นใหอ้ ่านง่าย สะอาด ไมข่ ีดฆ่า

- ไม่ขีดเขยี นในทส่ี าธารณะ

- ใช้ภาษาเขยี นเหมาะสมกบั เวลา

สถานท่ี และบคุ คล

- ไม่เขยี นล้อเลียนผู้อน่ื หรอื ทาให้

ผอู้ ืน่ เสียหาย

รวม ๔ ตวั ช้วี ดั

หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนติยทุ ธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หน้า ๓๔

สำระท่ี ๓ กำรฟัง กำรดู และกำรพดู
มำตรฐำน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดอู ยา่ งมวี ิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และความร้สู กึ ใน

โอกาสตา่ งๆอยา่ งมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

รหสั ตวั ชีว้ ัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง สำระกำรเรยี นรู้ท้องถิ่น/ ต้องรู้ ควรรู้
ตัวชีว้ ดั จุดเน้นของโรงเรียน
 การฟงั และปฏบิ ตั ิตาคาแนะนา -
ท ๓.๑ ฟงั คาแนะนา คาส่ังที่ คาสง่ั ทซี่ บั ซอ้ น

ป.๒/๑ ซบั ซอ้ น และปฏิบตั ติ าม

ท ๓.๑ เลา่ เร่อื งทฟ่ี งั และดทู งั้ ทเี่ ป็น  การจบั ใจความและพูดแสดง หลักปรชั ญำของเศรษฐกจิ 

ป.๒/๒ ความรูแ้ ละความบนั เทงิ ความคดิ เห็น ความรู้สกึ จาก พอเพียงและกำรอนุรกั ษ์

เรือ่ งทฟี่ งั และดู ทง้ั ทีเ่ ปน็ พนั ธุ์พืชในสถำนศกึ ษำ

ท ๓.๑ บอกสาระสาคญั ของเรอ่ื งท่ี ความรู้และความบันเทิง เช่น - ชุดเติบโตตามรอยพ่อ คิด
- เร่ืองเล่าและสารคดีสาหรบั แบบในหลวง
ป.๒/๓ ฟงั และดู
เด็ก - ในหลวง: ชุดเติบโตตาม
ท ๓.๑ ต้ังคาถามและตอบคาถาม - นทิ าน การต์ ูน และเร่อื ง รอยพอ่
ป.๒/๔ เกีย่ วกบั เรอ่ื งท่ีฟงั และดู
ขบขนั - ปนิ่ โตสามคั คี

ท ๓.๑ พดู แสดงความคิดเหน็ และ - รายการสาหรบั เด็ก - ตน้ โอก๊ ผู้ยิ่งใหญ่
- ขา่ วและเหตกุ ารณป์ ระจาวัน - กล้วยสองปลี
ป.๒/๕ ความรูส้ ึกจากเรื่องท่ฟี งั
และดู - เพลง กำรเรียนรเู้ ชิงรุก
(Active Learning)

- การวิเคราะห์

ตง้ั คาถามและตอบคาถาม

เกย่ี วกบั เรื่องทีฟ่ งั และดู

ท ๓.๑ พดู ส่อื สารได้ชดั เจนตรงตาม  การพดู สอ่ื สารในชีวติ ประจาวัน

ป.๒/๖ วัตถปุ ระสงค์ เชน่

- การแนะนาตนเอง

- การขอความชว่ ยเหลอื

- การกลา่ วคาขอบคุณ

- การกล่าวคาขอโทษ

- การพูดขอรอ้ งในโอกาสต่างๆ

- การเล่าประสบการณใ์ น

ชีวิตประจาวนั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนติยุทธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หน้า ๓๕

รหสั ตัวชวี้ ดั สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง สำระกำรเรยี นรทู้ อ้ งถิ่น/ ต้องรู้ ควรรู้
ตวั ชีว้ ัด จดุ เน้นของโรงเรียน 
 มารยาทในการฟงั เชน่
ท ๓.๑ มมี ารยาทในการฟงั การดู - ตัง้ ใจฟงั ตามองผพู้ ูด -
- ไม่รบกวนผู้อ่นื ขณะท่ฟี งั
ป.๒/๗ และการพดู - ไม่ควรนาอาหารหรอื
เครื่องดมื่ ไปรบั ประทาน
ขณะท่ีฟงั
- ไม่พดู สอดแทรกขณะทฟ่ี งั

 มารยาทในการดู เชน่
- ตั้งใจดู
- ไมส่ ่งเสยี งดังหรอื แสดงอาการ
รบกวนสมาธิของผอู้ ่ืน

 มารยาทในการพดู เช่น
- ใชถ้ ้อยคาและกริ ิยาทสี่ ุภาพ
เหมาะสมกบั กาลเทศะ
- ใช้น้าเสยี งนุม่ นวล
- ไมพ่ ูดสอดแทรกในขณะท่ี
ผอู้ ื่นกาลังพดู
- ไมพ่ ูดล้อเลยี นให้ผอู้ นื่ ไดร้ บั
ความอบั อายหรือเสียหาย
รวม ๗ ตวั ชว้ี ดั

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนติยุทธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ หนา้ ๓๖

สำระที่ ๔ หลกั กำรใช้ภำษำไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิของชาติ

รหสั ตวั ชี้วดั สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรูท้ ้องถ่ิน/ ตอ้ งรู้ ควรรู้
ตัวชีว้ ดั จดุ เน้นของโรงเรยี น

ท ท ๔.๑ ๑ บอกและเขยี นพยญั ชนะ สระ  พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ - 

ป.๒/๑ วรรณยุกต์ และเลขไทย  เลขไทย

ท ๔.๑ เขียนสะกดคาและบอก  การสะกดคา การแจกลกู และ - 

ป.๒/๒ ความหมาย ของคา การอา่ นเปน็ คา

 มาตราตัวสะกดที่ตรงตาม

มาตราและไมต่ รงตามมาตรา
 การผนั อักษรกลาง อกั ษรสงู

และอกั ษรตา่
 คาท่ีมตี วั การนั ต์

 คาทีม่ พี ยญั ชนะควบกลา้
 คาท่มี อี กั ษรนา

 คาท่ีมีความหมายตรงขา้ มกัน

 คาทม่ี ี รร
 ความหมายของคา

ท ท๔.๑ เรยี บเรยี งคาเปน็ ประโยคได้  การแต่งประโยค บรู ณำกำรกำรใช้ 

ป.๒/๓ ตรงตามเจตนาของการ  การเรียบเรยี งประโยคเป็น เทคโนโลยีดิจิทัล

สอื่ สาร ข้อความสนั้ ๆ -การเรยี บเรียงประโยคเป็น

ขอ้ ความส้ันๆ

ท ๔.๑ บอกลักษณะคาคล้องจอง  คาคล้องจอง -

ป.๒/๔

ท ๔.๑ เลอื กใชภ้ าษาไทยมาตรฐาน  ภาษาไทยมาตรฐาน หลกั ปรัชญำของเศรษฐกิจ

ป.๒/๕ และภาษาถ่นิ ไดเ้ หมาะสมกบั  ภาษาถิน่ พอเพยี งและกำรอนุรกั ษ์

กาลเทศะ  การเลอื กใช้ภาษาไทยและ พนั ธพ์ุ ชื ในสถำนศกึ ษำ

ภาษาถนิ่ ไดเ้ หมาะสมกับ - บา้ นพอเพยี ง

กาลเทศะ เช่น ภาษาไทย

ภาษามอญ

หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ุทธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ หน้า ๓๗

รหสั ตัวชีว้ ัด สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง สำระกำรเรยี นร้ทู ้องถ่ิน/ ตอ้ งรู้ ควรรู้
ตัวชีว้ ดั รวม ๕ ตวั ชีว้ ดั จุดเน้นของโรงเรยี น 

- ปน่ิ โตสามัคคี
กำรเรยี นร้เู ชิงรกุ
(Active Learning)
- การวิเคราะหม์ าตรา
ตวั สะกดที่ตรงตามมาตรา
และไมต่ รงตามมาตรา

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หนา้ ๓๘

สำระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มำตรฐำน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็ คณุ คา่ และนามา

ประยุกต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ

รหัส ตวั ช้วี ัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง สำระกำรเรยี นรทู้ อ้ งถิ่น/ ต้องรู้ ควรรู้
ตัวช้ีวดั จุดเน้นของโรงเรียน 

ท ท ๕.๑ ระบขุ ้อคิดที่ไดจ้ ากการอ่าน  วรรณกรรมร้อยแกว้ และร้อย หลกั ปรชั ญำของเศรษฐกจิ
พอเพียงและกำรอนุรักษ์
ป.๒/๑ หรอื การฟงั วรรณกรรมสาหรบั กรองสาหรบั เด็ก เชน่ พนั ธพ์ุ ืชในสถำนศึกษำ
- ออมสินหนดู ี
เด็กเพอ่ื นาไปใชใ้ น - นิทาน

ชีวิตประจาวัน - เร่ืองสนั้ ง่ายๆ - หา่ นกบั ไขท่ องคา

ท ๕.๑ ร้องบทรอ้ งเลน่ สาหรับเดก็ ใน - ปริศนาคาทาย - ลุงบญุ กบั ปา้ มาลี (เศรษฐกจิ
ป.๒/๒ ท้องถิ่น - บทอาขยาน พอเพียง)
- บทรอ้ ยกรอง
- ปิน่ โตสามัคคี
กำรเรียนรเู้ ชิงรุก

- วรรณ คดีและวรรณ กรรมใน (Active Learning)
- การวิเคราะห์ วรรณคดแี ละ
บทเรียน วรรณกรรมในบทเรียน

 บทร้องเลน่ ทมี่ ีคณุ ค่า หลกั ปรชั ญำของเศรษฐกจิ 
- บทร้องเลน่ ในท้องถิน่
- บทรอ้ งเลน่ ในการละเลน่ ของ พอเพยี งและกำรอนุรักษ์
พนั ธ์ุพชื ในสถำนศกึ ษำ
- กาดา (กลอนดอกสร้อย

เดก็ ไทย สภุ าษติ จาก วรรณคดลี านา

 บทรอ้ งเพลงและการละเล่นของ บทท่ี ๑)
เดก็ ในท้องถ่นิ ปทมุ ธานี เชน่ - นกขมน้ิ เหลืองอ่อน (กลอน
มอญซอ่ นผ้า จ้าจม้ี ะเขือเปราะ
ดอกสร้อยสุภาษิต จาก
วรรณคดลี านาบทที่ ๑)

แมงมมุ

หลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ หนา้ ๓๙

รหัส ตัวช้ีวัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรู้ท้องถิ่น/ ต้องรู้ ควรรู้
ตวั ชี้วดั จุดเน้นของโรงเรยี น 

ท ท ๕.๑ ทอ่ งจาบทอาขยานตามที่  บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองท่มี ี หลักปรชั ญำของเศรษฐกจิ
พอเพียงและกำรอนุรกั ษ์
ป.๒/๓ กาหนด และบทรอ้ ยกรองทม่ี ี คุณค่า พันธพ์ุ ชื ในสถำนศึกษำ

คณุ ค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามทีก่ าหนด - กาดา (กลอนดอกสร้อย

- บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ สภุ าษิต จาก วรรณคดีลานา
บทที่ ๑)

- นกขมิ้นเหลอื งอ่อน (กลอน

ดอกสร้อยสภุ าษติ จาก

วรรณคดีลานาบทที่ ๑)

รวม ๓ ตัวช้ีวัด

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนติยทุ ธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หนา้ ๔๐

ชน้ั ประถมศกึ ษำปที ี่ ๓

สำระท่ี ๑ กำรอ่ำน
มำตรฐำน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคิดเพอื่ นาไปใช้ตัดสินใจ แกป้ ัญหาในการดาเนินชวี ิต
และมนี สิ ัยรกั การอ่าน

รหัส ตวั ชวี้ ัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง สำระกำรเรยี นรทู้ ้องถิ่น / ต้องรู้ ควรรู้
ตัวชว้ี ดั จุดเน้นของโรงเรียน 

ท ๑.๑ อา่ นออกเสียงคา ข้อความ  การอา่ นออกเสยี งและการ รายละเอียดเกีย่ วกบั ที่ตง้ั และ 

ป.๓/๑ เรื่องสั้นๆ และบทรอ้ ยกรอง บอกความหมายของคา คา การแบง่ เขตการปกครอง ของ

ง่ายๆ ได้ถูกต้อง คลอ่ งแคลว่ คล้องจอง ขอ้ ความ และบทรอ้ ย อาเภอลาลูกกา และสถานท่ี

กรองงา่ ยๆ ทปี่ ระกอบด้วยคา สาคญั ต่างๆในจงั หวดั

ท ๑.๑ อธิบายความหมายของคา พืน้ ฐานเพมิ่ จาก ป.๒ ไมน่ อ้ ย ปทุมธานี เชน่ องคก์ าร
ป.๓/๒ และขอ้ ความท่ีอ่าน
กว่า ๑,๒๐๐ คา รวมทงั้ คาท่ี พพิ ธิ ภัณฑว์ ทิ ยาศาสตร์

เรยี นรใู้ นกล่มุ สาระการเรยี นรอู้ ่ืน แหง่ ชาติ ฯลฯ

ประกอบด้วย หลกั ปรัชญำของเศรษฐกิจ

- คาทีม่ ตี วั การันต์ พอเพยี งและกำรอนุรกั ษ์

- คาท่ีมี รร พันธกุ รรมพชื ในสถำนศกึ ษำ

- คาทม่ี ีพยัญชนะและสระ - บา้ นเหด็ หอม

ไมอ่ อกเสยี ง - พอเพียง แค่เพียงพอ

- คาพ้อง กำรเรยี นรเู้ ชงิ รกุ

- คาพเิ ศษอ่นื ๆ เชน่ คาท่ใี ช้ (Active Learning)

ฑ ฤ ฤๅ - วเิ คราะห์การอา่ นออกเสยี ง

และการบอกความหมายของ

คา

ท ๑.๑ ตง้ั คาถามและตอบคาถาม  การอา่ นจับใจความจากสือ่ -
_
ป.๓/๓ เชิงเหตุผลเก่ยี วกบั เรื่องท่ี ต่างๆ เช่น

อ่าน - นิทานหรอื เร่อื งเกี่ยวกบั

ทอ้ งถน่ิ

ท ๑.๑ ลาดับเหตุการณแ์ ละ - เรอื่ งเล่าสน้ั ๆ

ป.๓/๔ คาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเรอ่ื ง - บทเพลงและบทรอ้ ยกรอง

ท่ีอา่ นโดยระบเุ หตุผล - บทเรียนในกล่มุ สาระการ

ประกอบ เรียนร้อู ่ืน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ุทธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หน้า ๔๑

รหสั ตวั ชี้วัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง สำระกำรเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น / ต้องรู้ ควรรู้
ตัวช้วี ดั จดุ เน้นของโรงเรียน

ท ๑.๑ สรปุ ความรู้และข้อคิดจาก - ขา่ วและเหตกุ ารณ์ใน _

ป.๓/๕ เร่ืองทอี่ า่ นเพือ่ นาไปใชใ้ น ชีวิตประจาวันในท้องถิ่นและ

ชวี ิตประจาวนั ชมุ ชน

ท ๑.๑ อา่ นหนงั สือตามความสนใจ  การอ่านหนงั สือตามความ กำรเรยี นรู้เชิงรกุ 

ป.๓/๖ อยา่ งสมา่ เสมอและนาเสนอ สนใจ เช่น (Active Learning)

เรอ่ื งทอ่ี ่าน - หนงั สอื ที่นักเรียนสนใจ - การวิเคราะห์การอ่านหนังสอื

และเหมาะสมกบั วยั ตามความสนใจ

- หนังสอื ทค่ี รูและนกั เรยี น

กาหนดร่วมกนั

ท ๑.๑ อ่านขอ้ เขียนเชงิ อธบิ ายและ  การอ่านข้อเขียนเชิงอธบิ าย _ 

ป.๓/๗ ปฏิบัติตามคาสง่ั หรือ และปฏบิ ัติตามคาสั่งหรอื

ข้อแนะนา ขอ้ แนะนา

- คาแนะนาตา่ งๆ ใน

ชวี ิตประจาวัน

- ประกาศ ป้ายโฆษณา

และคาขวัญ

ท ๑.๑ อธิบายความหมายของขอ้ มูล  การอ่านขอ้ มูลจากแผนภาพ _ 

ป.๓/๘ จากแผนภาพ แผนท่ี และ แผนท่ี และแผนภมู ิ

แผนภมู ิ

ท ๑.๑ มมี ารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอา่ น เช่น _ 

ป.๓/๙ - ไม่อา่ นเสยี งดังรบกวนผอู้ ื่น

- ไมเ่ ล่นกันขณะทอี่ า่ น

- ไม่ทาลายหนงั สอื

- ไม่ควรแยง่ อา่ นหรอื ชะโงกหน้า

ไปอา่ นขณะที่ผูอ้ ่ืนกาลงั อ่าน

รวม ๙ ตัวช้ีวัด

หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนติยุทธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หนา้ ๔๒

สำระที่ ๒ กำรเขียน
มำตรฐำน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี นเขียนสอื่ สาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเร่อื งราวในรปู แบบต่าง ๆ

เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

รหสั ตวั ชีว้ ัด สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรทู้ อ้ งถิ่น / ตอ้ งรู้ ควรรู้
ตัวช้ีวดั
ท ๒.๑ คัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็ จดุ เน้นของโรงเรียน
ป.๓/๑ บรรทดั
 การคัดลายมอื ตวั บรรจง คดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ 
ท ท ๒.๑ เขียนบรรยายเกี่ยวกับส่ิงใด
ป.๓/๒ ส่ิงหนงึ่ ไดอ้ ย่างชัดเจน เต็มบรรทดั ตามรปู แบบการ บรรทดั ตามรปู แบบ

ท ๒.๑ เขียนบนั ทึกประจาวัน เขยี น ตัวอกั ษรไทย กระทรวงศึกษาธิการ
ป.๓/๓
ท ๒.๑ เขยี นจดหมายลาครู  การเขยี นบรรยายเกย่ี วกบั กำรเรียนรเู้ ชงิ รุก 
ป.๓/๔
ท ๒.๑ เขียนเร่อื งตามจนิ ตนาการ ลกั ษณะของ คน สตั ว์ สิ่งของ (Active Learning)
ป.๓/๕
สถานท่ี - วเิ คราะห์การเขยี นบรรยาย
ท ๒.๑ มีมารยาทในการเขยี น
ป.๓/๖ เกยี่ วกบั ลกั ษณะของ คน

สตั ว์ สงิ่ ของ สถานที่

 การเขียนบนั ทึกประจาวัน _ 

 การเขียนจดหมายลาครู _ 

 การเขียนเรื่องตาม ประวัติความเป็นมาของ 

จนิ ตนาการจากคา ภาพ จงั หวัดปทุมธานี

และหวั ขอ้ ทกี่ าหนด

 มารยาทในการเขยี น เช่น _

- เขียนให้อ่านง่าย สะอาด

ไม่ขีดฆ่า

- ไม่ขดี เขียนในที่สาธารณะ

- ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกบั

เวลา สถานท่ี และบุคคล

- ไม่เขียนล้อเลียนผู้อนื่ หรอื

ทาใหผ้ ูอ้ ืน่ เสียหาย

รวม ๖ ตวั ชวี้ ัด

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ขจรเนตยิ ทุ ธ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ หน้า ๔๓

สำระท่ี ๓ กำรฟงั กำรดู และกำรพดู
มำตรฐำน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดูอย่างมีวจิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคดิ และความรสู้ กึ ในโอกาส

ต่าง ๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์

รหัส ตัวชว้ี ัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง สำระกำรเรยี นรูท้ ้องถ่ิน / ตอ้ งรู้ ควร
ตวั ช้ีวัด รู้
ท ๓.๑ จุดเน้นของโรงเรยี น
ป.๓/๑
เลา่ รายละเอียดเกย่ี วกับเรอ่ื งทฟี่ งั  การจบั ใจความและพูด หลกั ปรชั ญำของ 
ท ๓.๑ และดทู ัง้ ทีเ่ ป็นความรแู้ ละความ
ป.๓/๒ บันเทงิ แสดงความคดิ เห็นและ เศรษฐกจิ พอเพียงและ
ความรูส้ ึกจากเร่ืองทีฟ่ ังและดู
ท ๓.๑ บอกสาระสาคัญจากการฟงั และ ทง้ั ทเ่ี ป็นความรู้และความ กำรอนุรักษพ์ ันธกุ รรมพืช
ป.๓/๓ การดู
บนั เทงิ เชน่ ในสถำนศกึ ษำ
ท ๓.๑ ตัง้ คาถามและตอบคาถาม - เรื่องเล่าและสารคดี
ป.๓/๔ เกีย่ วกับเรื่องท่ีฟงั และดู สาหรบั เดก็ - นิทานพอเพียง จาก

ท ๓.๑ พดู แสดงความคิดเหน็ และ - นทิ าน การต์ ูน เรื่องขบขัน ครอบครัวพอเพียง
ป.๓/๕ ความรสู้ กึ จากเร่อื งทีฟ่ ังและดู - รายการสาหรบั เด็ก
- ข่าวและเหตกุ ารณใ์ น - ต้นไม้ผใู้ ห้

ชวี ิตประจาวัน - อนรุ กั ษป์ ่าไม้
- เพลง
- ขนมแมเ่ อย๊

- ขนมกล้วยกระทงนอ้ ย

กำรเรียนร้เู ชงิ รกุ

(Active Learning)

- วเิ คราะห์ตั้งคาถามและ

ตอบคาถามเกี่ยวกบั เร่ืองท่ี

ฟังและดู

พูดส่ือสารได้ชดั เจนตรงตาม  การพดู สอ่ื สารใน บูรณำกำรกำรใช้ 
วัตถุประสงค์ ชวี ิตประจาวัน เชน่
- การแนะนาตนเอง เทคโนโลยีดิจิทลั

- การแนะนาสถานทใ่ี น -การพูดส่ือสารในชีวติ
โรงเรยี นและในชมุ ชน
- การแนะนา/เชิญชวน ประจาวนั เช่น การ

เก่ียวกบั การปฏบิ ัติตนในด้าน แนะนาตนเอง
ตา่ งๆ เช่น การรักษาความ
สะอาดของร่างกาย

- การเล่าประสบการณใ์ น
ชีวิตประจาวัน

หลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนเทศบาล ๑ (ขจรเนติยทุ ธ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลาการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หน้า ๔๔


Click to View FlipBook Version