The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by niputsaratn, 2019-12-03 03:11:33

nipat

กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์

กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์

นางสาว เกศนภา นอ้ ยบันดิษฐ 60010024

นางสาว นิภัสรา ไชยสิทธ์ 60012660

2.3.3 การรับรู้จากแนวเทียบ

แนวเทียบจะเปน็ การเปรยี บเทยี บของ 2 ระบบ ซงึ่ จะเนน้ ไปทีก่ ารเทียบเคยี งกระบวนการหรือ
ความสมั พันธ์ภายในระบบหน่ึงกบั กระบวนการหรอื ความสมั พนั ธ์ภายในระบบท่ี 2
แนวเทยี บ อาจหมายถงึ การเปรียบเทยี บระหว่างความเหมอื นของ 2 มโนมติ มโนมตทิ ี่คนุ้ เคย
เรียกว่า แนวเทียบ และมโนมตทิ ี่ไมค่ ุ้นเคย เรยี กวา่ เปา้ หมาย ท้งั 2 มโนมติ มีการใชค้ ณุ ลกั ษณะ
ตา่ งๆ รว่ มกันระหวา่ งแนวเทียบและเปา้ หมาย และสามารถบอกความต่างระหว่างทง้ั 2 ส่งิ ได้

2.3.4 การได้มาของความชานาญ

กจิ กรรมที่เกีย่ วกับความชา้ นาญสามารถเพมิ่ ข้ึนถ้าได้รบั ขอ้ มลู เดมิ ซ้าๆ จา้ นวนมากๆ ข้อมูล
จ้านวนมากจะถูกเก็บไว้ในความจ้าระยะส้ันได้ดี เนอ่ื งจากรบั ข้อมลู ตอ่ เนอ่ื งและจ้านวนมาก
ตัวอยา่ ง จากผ้แู ขง่ ขนั หมากรกุ ท่ีมีประสบการณ์มากกวา่ มกั จะร้วู ธิ เี ดินหมาก ใหไ้ ดเ้ ปรยี บ
คู่แข่ง เพราะได้เหน็ แนวทางในการเดินมากกว่าผแู้ ขง่ ท่ีมปี ระสบการณน์ อ้ ยกว่า

ความผิดพลาดและจิตใจมนุษย์

2.4.1 ความผิดพลาดของมนษุ ย์

 แบบท่ี 1 คอื การพลาด ผู้ใช้เข้าใจเปา้ หมายและระบบเป็นอยา่ งดี และกระท้าตง้ั ใจสรา้ ง
สตู รส้าเร็จถูกตอ้ ง แตก่ ารกระท้าจรงิ ๆ กลับท้าไม่ถกู ต้อง ทางแก้ไขคอื ต้องปรับปรงุ ส่วน
ต่อประสานให้ดีขึ้น

 แบบท่ี 2 คอื ความผิด ผใู้ ชอ้ าจไมเ่ ขา้ ใจเปา้ หมาย และระบบทางแกไ้ ข สรา้ งความเขา้ ใจ
ในระบบใหม้ ากข้นึ เกดิ จากความตัง้ ใจหรือความเข้าใจทผ่ี ิด บางครั้งเกดิ จากลางสังหรณ์
มากกว่าเหตผุ ลทส่ี รา้ งจากรูปแบบทางจิตใจอย่างมเี หตุผล

2.4.2 อารมณ์

จากงานวจิ ัยของ ไอรนี และโลแอนนสิ ใน ค.ศ.2010 การคน้ พบทางวิทยาศาสตร์ลา่ สุด
แสดงให้เหน็ ว่า อารมณ์เปน็ องค์ประกอบทีม่ ีความส้าคัญในการศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหวา่ ง
คอมพิวเตอรก์ ับมนษุ ย์ควรไดร้ บั การพจิ ารณา เม่ือมกี ารออกแบบระบบ การใชง้ านแบบ
ความคดิ สรา้ งสรรค์อารมณ์

2.4.3 การส่งผลกระทบต่อการทางาน

อารมณ์และการตอบสนอง สง่ ผลตอ่ ตวั กระตุ้น ท่ีกระท้าต่อร่างกาย และเกีย่ วกบั การจา้ ของมนษุ ย์
การตอบสนองต่อตัวกระตุ้นทางชีวภาพ เรียกว่า การส่งผลกระทบ
โดนอลด์ นอรแ์ มน ได้กล่าวไว้วา่ การสง่ ผลกระทบทางลบท้าให้การท้างานทีง่ า่ ยดยู ากข้ึน แต่การ
สง่ ผลกระทบทางบวกท้าใหส้ ามารถท้างานทีย่ ากได้งา่ ยข้นึ

ในการออกแบบสว่ นต่อประสานควรคานงึ ถึงความหลากหลาย ของผ้ใู ชง้ าน ดงั ตอ่ ไปนี้

1. ความหลากหลายของผใู้ ชง้ าน ทงั้ ทางกายภาพ และสภาพแวดลอ้ ม
2. บคุ ลิกของผู้ใชท้ ี่แตกต่างกัน
3. ความแตกตา่ งของสตปิ ัญญา
4. ความหลากหลายของเชอื้ ชาติ
5. ผ้ใู ชง้ านที่ไรค้ วามสามารถหรือพิการ
6. อายุของผใู้ ช้งาน
7. การออกแบบสาหรบั เดก็
8. การปรบั ซอฟแวรแ์ ละฮารด์ แวร์ใหเ้ ขา้ กนั ได้

2.4.4 ความแตกต่างของแต่ละบุคคล

ผู้เช่ียวชาญปฏิสัมพันธ์ ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนษุ ย์ ต้องตระหนักถงึ
ความแตกตา่ งตามลักษณะบุคคล เช่น เพศ สภาวะรา่ งกาย ความเจรญิ ทาง
สตปิ ญั ญา


Click to View FlipBook Version