The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียน นักศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maoat288, 2022-06-14 03:55:47

คู่มือนักเรียน นักศึกษา 2565

คู่มือนักเรียน นักศึกษา 2565

ANGTHONGSTUDENT HANDBOOTEKCHN2I0CA2L2COLLEGE

ประกาศวิทยาลัยเทคนคิ อา่ งทอง
เรื่อง วธิ ีปฏบิ ตั ิการร่วมกิจกรรมหน้าเสาธง
เพอื่ ใหก้ ารเขา้ รว่ มกจิ กรรมหนา้ เสาธงของนกั เรยี น นกั ศกึ ษา ปฏบิ ตั ใิ หเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บฯ และเกดิ ความเรยี บรอ้ ย
จึงไดก้ ำ�หนดวธิ ปี ฏิบตั ิกจิ กรรมดงั กล่าว ไว้ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. นกั เรยี น นกั ศึกษา ตอ้ งเข้ารว่ มกิจกรรมหน้าเสาธง ดงั นี้
1.1 นักเรียน นกั ศกึ ษา เรยี นภาคเชา้ เข้ารว่ มกิจกรรมหน้าเสาธง เวลา 07.50 - 08.20 น.
2. วธิ ีปฏิบัติการเขา้ รว่ มกจิ กรรมหนา้ เสาธง
2.1 เข้าแถวตอนเรียงหนึ่ง เรียงตามแผนก ระดบั ชน้ั ปี และกล่มุ
2.2 นกั ศึกษาองค์การหรอื ผทู้ ่ไี ด้รบั มอบหมายสั่ง “จดั แถว” หัวหนา้ กลุ่มหรือรองหวั หน้ากลมุ่ หรือผทู้ ี่ไดร้ ับ
มอบหมายในกลุม่ ตรวจเช็คผู้ที่มาเข้าแถว
2.3 ครเู วรประจำ�วัน อบรมหรือแจง้ ขา่ วสารขอ้ คดิ ทีเ่ ปน็ ประโยชนต์ ่อนกั เรียน นักศกึ ษา
2.4 ตัวแทนนักเรียน นกั ศึกษา นำ�รอ้ งเพลงชาติ สวดมนต์ สงบนง่ิ แผเ่ มตตา กล่าวปรชั ญาวทิ ยาลัยฯ และ
เฉพาะวนั ศุกร์ รอ้ งเพลงสรรเสรญิ พระบารมี
2.5 นกั เรียน นักศกึ ษา แยกยา้ ยกนั เป็นแถวเพื่อพบครทู ีป่ รึกษา เป็นเวลา 10 นาที
3. นักเรียน นักศึกษา จะต้องเข้าร่วมกิจกรรมหน้าเสาธงไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ต่อภาคเรียนจึงผ่านกิจกรรม
หน้าเสาธง และมีสทิ ธิไดร้ บั การพิจารณาเกยี่ วกับทุนการศกึ ษา, ทนุ กยู้ มื เพือ่ การศกึ ษา, โควตาศกึ ษาต่อ, หนงั สือรบั รอง
ความประพฤตแิ ละสิทธพิ ิเศษอน่ื ๆ
4. นักเรียน นักศึกษา ท่ีไม่ผ่านกิจกรรมหน้าเสาธง ต้องแก้ผลกิจกรรมด้วยระยะเวลา 1 ภาคเรียน และมีสิทธิ
แก้ผลกิจกรรมไดภ้ าคเรียนละ 1 กจิ กรรม
5. เม่ือมปี ัญหาเกีย่ วกับประกาศนี้ ให้รองผู้อ�ำ นวยการฝา่ ยพฒั นากจิ การนักเรยี น นกั ศึกษา และหรอื หัวหน้างาน
กจิ กรรมนกั เรยี น นักศึกษา เป็นผวู้ นิ ิจฉัยช้ขี าด
ประกาศ ณ วนั ท่ี 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

(นายประสงค์ อุบลวัตร)
ผู้อ�ำ นวยการวิทยาลัยเทคนคิ อ่างทอง

100

ANGTHONGSTUDENT HANDBOOTEKCHN2I0CA2L2COLLEGE

ประกาศวทิ ยาลัยเทคนคิ อ่างทอง
เร่อื ง วิธปี ฏิบตั ิการรว่ มกจิ กรรมชมรม
เพอื่ ใหก้ ารเขา้ รว่ มกจิ กรรมหนา้ เสาธงของนกั เรยี น นกั ศกึ ษา ปฏบิ ตั ใิ หเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บฯ และเกดิ ความเรยี บรอ้ ย
จึงได้กำ�หนดวธิ ีปฏิบตั ิกจิ กรรมดงั กลา่ ว ไวด้ งั ตอ่ ไปนี้
1. นกั เรยี น นักศกึ ษา ต้องเขา้ ร่วมกิจกรรมชมรมทุกภาคเรยี น ตามหลักสตู รก�ำ หนด ดังน้ี
1.1 นักเรียน นักศึกษา ระดับช้ัน ปวช.1 เข้ารว่ มสงั กัดชมรมลกู เสอื วิสามัญเท่านน้ั
1.2 นักเรียน นกั ศกึ ษา ระดบั ชัน้ ปวช.2 เข้ารว่ มสงั กดั ชมรมอสิ ระ
1.3 นักเรียน นักศึกษา ระดับชั้น ปวช.3, ปวส.1 และ ปวส.2 เข้าร่วมสังกัดชมรมองค์การวิชาชีพของ
แต่ละแผนก
1.4 นกั ศึกษาวิชาทหาร สังกัดชมรมนักศกึ ษาวิชาทหาร (และตอ้ งสังกดั ชมรมตาม 1.1-1.3 ดว้ ย กรณีที่ นศท.
เรียนจบหลกั สูตรก่อน)
2. เข้ารว่ มกิจกรรมชมรม ในทกุ วันองั คาร ตงั้ แต่เวลา 10.30 น. - 12.30 น. ณ สถานทต่ี ้งั ของชมรม
3. นักเรียน นักศึกษา จะต้องเข้าร่วมกิจกรรมชมรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ต่อภาคเรียนจึงผ่านกิจกรรมชมรม
และมสี ทิ ธไิ ดร้ บั การพจิ ารณาเกย่ี วกบั ทนุ การศกึ ษา, ทนุ กยู้ มื เพอ่ื การศกึ ษา, โควตาศกึ ษาตอ่ , หนงั สอื รบั รองความประพฤติ
และสิทธพิ ิเศษอื่น ๆ
4. นักเรียน นักศึกษา ท่ีไม่ผ่านกิจกรรมชมรม ต้องแก้ผลกิจกรรมด้วยระยะเวลา 1 ภาคเรียน และมีสิทธิ
แก้ผลกิจกรรมได้ภาคเรียนละ 1 กิจกรรม
5. เม่อื มีปัญหาเก่ยี วกบั ประกาศน้ี ใหร้ องผอู้ ำ�นวยการฝา่ ยพัฒนากิจการนกั เรยี น นกั ศึกษา และหรอื หวั หนา้ งาน
กจิ กรรมนักเรยี น นักศกึ ษา เปน็ ผู้วินิจฉัยชี้ขาด
ประกาศ ณ วนั ที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

(นายประสงค์ อบุ ลวัตร)
ผูอ้ ำ�นวยการวิทยาลยั เทคนคิ อ่างทอง

101

ANGTHONGSTUDENT HANDBOOTEKCHN2I0CA2L2COLLEGE

การสมัครเป็นนักศกึ ษาวิชาทหาร นกั เรียน นกั ศกึ ษา ระดบั ปวช.

นักเรียน ปวช.1 ท่ีสำ�เร็จการศึกษาช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 หรือเทียบเท่ามีการผลการเรียน ต้ังแต่ 1.00 ขึ้นไป
และมอี ายไุ มเ่ กนิ 22 ปี มสี ทิ ธส์ิ มคั รเขา้ รบั การคดั เลอื กเขา้ เปน็ นกั ศกึ ษาวชิ าทหาร โดยสทิ ธปิ ระโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั คอื นกั เรยี น
ไมต่ ้องเข้ารับการเกณฑท์ หารตามกฎหมาย

นักเรยี นท่สี นใจสามารถรบั ใบสมคั รได้ทีง่ านกิจกรรมนักเรยี น นักศกึ ษา วนั เวลา การรบั สมคั ร ทางงานกิจกรรมฯ
จะประกาศใหท้ ราบสัปดาห์แรกของการเปดิ ภาคเรียน

คณุ ลักษณะของผ้สู มคั รเป็น นศท. ชนั้ ปีที่ 1
1. เปน็ ชายหรือหญงิ มีสญั ชาตไิ ทย
2. อายไุ มเ่ กนิ 22 ปบี รบิ รู ณ์ นบั ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการรบั ราชการทหารและตอ้ งไดร้ บั ค�ำ ยนิ ยอมจากบดิ า มารดา
หรอื ผู้ปกครอง
3. ไม่พิการทุพพลภาพ หรือมีโรคซึ่งไม่สามารถจะรับราชการทหารได้ตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร
พ.ศ. 2497
4. ไม่เปน็ บคุ คลซึง่ ไมม่ คี ุณวุฒิทีจ่ ะเปน็ ทหารได้เฉพาะบางท้องที่ ตามกฎหมายที่ออกตามความในมาตรา 13 (3)
แหง่ พระราชบัญญตั ริ บั ราชการทหาร พ.ศ. 2497
5. มดี ชั นคี วามหมายของรา่ งกาย (BMI) อยใู่ นเกณฑป์ กติ และตอ้ งไมอ่ ยใู่ นภาวะโรคอว้ น ซงึ่ มดี ชั นคี วามหนาของ
รา่ งกาย ต้งั แต่ 35 กิโลกรัม ต่อตารางเมตรขน้ึ ไป ดัชนคี วามหนาของร่างกาย (BMI) = นํา้ หนกั ตวั (กก.) / ส่วนสงู (เมตร)
6. มนี าํ้ หนกั ขนาดรอบตวั ขนาดสว่ นสงู ไมต่ ่าํ กวา่ ตามสว่ นสมั พันธ์ ดงั น้ี

ชาย หญงิ
อาย /ุ ป ี ห คาวยาใมจขเขย้าา ยของหอากย(ใซจมออ.)ก นํา้ หนกั (กก.) สว่ นสูง (ซม. ) นํ้าหนัก (กก.) สว่ นสูง (ซม.)

ไมเ่ กิน 15 75 72 42 152 41 148
16 76 73 44 154 42 149
17 77 74 46 156 43 150
18 78 75 48 158 44 151
19-22 80 77 50 160 45 152

7. มีความประพฤติเรยี บรอ้ ย
8. ไมเ่ ปน็ ทหารประจ�ำ หรือถกู ก�ำ หนดตัวเข้ากองประจ�ำ การแลว้
คุณสมบัตขิ องผสู้ มคั รเข้าเป็น นศท. ชั้นปที ่ี 1
1. ก�ำ ลงั ศกึ ษาอยใู่ นสถานศกึ ษาทห่ี นว่ ยบญั ชาการกองก�ำ ลงั ส�ำ รองเปดิ ท�ำ การฝกึ วชิ าทหาร (มณฑลทหารบกท่ี 13)
2. ส�ำ เรจ็ การศึกษาตัง้ แตช่ นั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 หรือเทียบเท่าข้นึ ไป และมผี ลการศกึ ษาของชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3
หรือเทยี บเท่า ตัง้ แต่ 1.0 ข้ึนไป
เงอื่ นไขบงั คบั ตอ้ งปฏิบัตติ ามระเบยี บหน่วยบญั ชาการกองกำ�ลงั สำ�รอง ดังนี้
1. ต้องสมัครและรายงานตัวจงึ จะเข้ารบั การฝกึ ได้
2. ต้องชำ�ระเงินบำ�รงุ เพื่อส่งเสริมการฝึกวชิ าทหาร

102

ANGTHONGSTUDENT HANDBOOTEKCHN2I0CA2L2COLLEGE

3. ต้องไวท้ รงผมตามระเบยี บหน่วยบัญชาการกำ�ลังส�ำ รอง
4. ต้องแตง่ กายตามระเบียบฯ ทีก่ �ำ หนด
5. ต้องเชอ่ื ฟังและปฏบิ ัตติ ามคำ�สงั่ ระเบียบ ขอ้ บงั คับ โดยเคร่งครดั
6. ผสู้ มคั รเปน็ นศท. ช้นั ปีท่ี 1 (ชาย, หญิง) ต้องผ่านการทดสอบสมรรถภาพรา่ งกายตามระเบยี บฯ ทก่ี �ำ หนด
ดงั นี้

ล�ำ ด ับ การทดสอบ ชาย หญงิ เวลา
1 จำ�นวน เวลา จ�ำ นวน 2 นาที
ดนั พืน้ 22 ครงั้ 2 นาท ี 10 คร้ัง 2 นาที
2 ลุก-นง่ั 34 คร้งั 2 นาที 20 คร้ัง 5 นาที
3 วง่ิ 800 เมตร 3 นาที 15 วนิ าที 800 เมตร

หลกั ฐานการสมัครเป็น นศท. ชัน้ ปีท่ี 1
1. ใบสมัคร (ทบ. 349 - 001) ติดรปู ถ่ายขนาด 3 x 4 ซม. กรอกขอ้ ความในช่องของผสู้ มคั รให้ครบถว้ นถูกตอ้ ง
ชัดเจน โดยมหี ัวหนา้ สถานศึกษา และบดิ า มารดา หรือผ้ปู กครองลงนามใหค้ �ำ ยินยอมใหเ้ รียบรอ้ ย
2. ส�ำ เนาทะเบียนบ้านของผสู้ มัคร จ�ำ นวน 1 ฉบับ
3. หนงั สือเง่อื นไขประกอบการสมคั รเปน็ นศท. และหนงั สือให้คำ�ยินยอมของผปู้ กครอง จะตอ้ งเปน็ ผปู้ กครอง
คนเดยี วกับผู้ปกครองทีล่ งนามในใบสมัคร
4. หลักฐานการศึกษา รบ.1 ต. ผสู้ มัครตอ้ งถ่ายใบ รบ.1 ต. จากต้นฉบบั จริงของสถานศึกษาทีต่ นเองไดส้ มัคร
เขา้ รบั การศกึ ษาในชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 หรอื ปวช. ปี 1 ลงนามรบั รอง การถา่ ยส�ำ เนาและรบั รองคะแนนเฉลยี่ โดยหวั หนา้
สถานศึกษาหรอื นายทะเบยี นหรือผทู้ ีไ่ ดร้ บั มอบหมายจากหวั หน้าสถานศึกษาปัจจุบัน จงึ จะถือวา่ เปน็ เอกสารท่ถี กู ตอ้ ง
5. ใบรับรองการตรวจร่างกายออกใหโ้ ดยแพทยป์ ริญญาผจู้ ดทะเบียนประกอบโรคศลิ ป์แผนปจั จุบัน ชนั้ 1 สาขา
เวชกรรม จากโรงพยาบาลของรฐั หรอื โรงพยาบาลของทหาร

การขอผ่อนผนั การเกณฑท์ หาร
นักศึกษาที่อายุครบ 21 ปีบริบูรณ์ และไม่ได้เป็นนักศึกษาวิชาทหาร ทุกคนจะต้องไปรับหมายเรียกเพ่ือเข้ารับ
การเกณฑ์ทหารตามกฎหมาย สำ�หรับนักศึกษาทยี่ ังศกึ ษาอยู่จะตอ้ งย่นื เรื่องของผ่อนผนั การเกณฑท์ หารโดยน�ำ หลักฐาน
ดงั ตอ่ ไปนี้
1. ส�ำ เนาหมายเรยี ก สด.35 3. ส�ำ เนาทะเบยี นบ้าน
2. ส�ำ เนา สด.9 4. ส�ำ เนาบตั รประจำ�ตวั ประชาชน
นำ�เอกสารดังกล่าว (รับรองสำ�เนาถูกต้องด้วยตนเองทุกฉบับ) มาย่ืนเรื่องขอผ่อนผันการเกณฑ์ทหารได้ท่ีงาน
กจิ กรรมในระหวา่ งเดือนธนั วาคม ในปกี ารศึกษาทีไ่ ดย้ น่ื เร่อื งขอผอ่ นผนั ไว้จะตอ้ งไปรายงานตัวในวนั เวลา และสถานที่
ตามทร่ี ะบุในใบหมายเรยี ก มิฉะนัน้ จะถอื ว่าหลกี เล่ยี งการเกณฑท์ หาร ซึ่งจะมคี วามผดิ ตามกฎหมาย

หมายเหต ุ การทดสอบเพ่ือเข้าเป็น นศท. ชนั้ ปีท่ี 1 พจิ ารณา
1. การทดสอบ นศ.จะตอ้ งปฏบิ ตั ใิ หไ้ ดจ้ �ำ นวนครง้ั ของการทดสอบ จงึ จะมสี ทิ ธไ์ิ ดร้ บั การพจิ ารณา
2. การพิจารณาไดเ้ ป็น นศท. จะต้องผ่านการทดสอบสมรรถภาพร่างกาย คือ 1 ดันพนื้ ลกุ นั่ง
และว่ิงตามเงอ่ื นไข ซงึ่ ถา้ คนใดผ่านเกณฑ์ในจ�ำ นวนครง้ั มากทส่ี ุดกจ็ ะคัดเลือกบุคคลนัน้ กอ่ น

103

ANGTHONGSTUDENT HANDBOOTEKCHN2I0CA2L2COLLEGE

งานสวัสดกิ ารนกั เรียน นกั ศึกษา

บุคลากรงานสวสั ดกิ ารนกั เรียน นกั ศึกษา หวั หน้างานสวสั ดิการนักเรียน นกั ศกึ ษา
1. นางสาวบังอร มะเดื่อ ผชู้ ่วยงานสวสั ดกิ ารนักเรียน นักศึกษา
2. นายสทิ ธิพร แจม่ สวุ รรณ ผ้ชู ว่ ยงานสวัสดกิ ารนักเรยี น นกั ศึกษา
3. นางสิรยิ ล ปานแอ๊ด ผชู้ ่วยงานสวัสดิการนักเรยี น นกั ศึกษา
4. นางสาววิไลลักษณ์ โพธ์ปิ ระพนั ธ์ ผชู้ ่วยงานสวัสดิการนกั เรียน นกั ศึกษา
5. นายสธุ า แสงทบั ทมิ ผู้ช่วยงานสวสั ดกิ ารนกั เรียน นกั ศกึ ษา
6. นางสาวจิราพร นันทรักษ์ ผชู้ ่วยงานสวสั ดิการนักเรียน นกั ศกึ ษา
7. นางสาวสดุ ารัตน์ ประสานสงค์ เจ้าหน้าท่ีงานสวสั ดิการนักเรียน นักศึกษา
8. นางสาวเบญจมาศ เขียวฉอ้อน

ก�ำ หนดเวลาให้บริการแกน่ กั เรียน นกั ศึกษา
วนั จนั ทร์ - วันศกุ ร์ ช่วงเวลา 08.00 - 17.30 น.
(ปดิ บรกิ ารวนั เสาร์ - วันอาทิตย์ และวนั หยดุ นักขตั ฤกษ)์

งานสวสั ดกิ ารนักเรยี น นกั ศกึ ษา
งานสวัสดิการนักเรียน นักศึกษา คือ หน่วยงานที่ให้บริการด้านสุขอนามัย การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
การประกนั อุบตั ิเหตุหมู่ ใหแ้ ก่นักเรยี น นกั ศกึ ษา โดยแยกออกเปน็ บริการตา่ ง ๆ ดงั น้ี
* บริการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ในกรณีท่ีนักเรียน นักศึกษาเจ็บป่วยหรือได้รับอุบัติเหตุเล็กน้อย โดยจะให้
บริการ เบิกจา่ ยยายสามญั พน้ื ฐาน ท�ำ แผล หรือกรณที ่ีเจบ็ ปว่ ยไม่สามารถเรียนได้
* การดแู ลโรงอาหารของวิทยาลัยเทคนิคอา่ งทอง โดยค�ำ นึงถึงประโยชน์ ความสะอาด และมีความปลอดภัย
ของอาหารพรอ้ มเคร่อื งดืม่ และมีความยุติธรรมตอ่ ราคาอาหารและเคร่อื งดืม่
* กรณีนักเรียน นักศึกษาเกิดอุบัติเหตุฉุกเฉิน งานสวัสดิการฯ จะนำ�ส่งโรงพยาบาลและติดต่อผู้ปกครอง
ใหท้ ราบ

ระเบียบหลักเกณฑก์ ารทำ�ประกันอบุ ตั ิเหตุหมู่
1. ต้องเปน็ นักเรยี น นักศกึ ษาทกี่ �ำ ลังศกึ ษาอยใู่ นวทิ ยาลยั เทคนคิ อา่ งทอง
2. นกั ศกึ ษาทุกคนต้องทำ�ประกันอุบัตเิ หตุ
3. นกั เรยี น นกั ศึกษาทกุ คนต้องชำ�ระเบยี้ ประกันอบุ ตั ิเหตหุ มู่ คนละ 180 บาท
4. เมื่อนักเรียน นักศึกษา เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลแล้ว ให้รับใบเสร็จรับเงิน พร้อมใบรับรองแพทย์
ฉบับจริงเท่าน้ัน มาดำ�เนินการตามข้ันตอน เพ่ือยื่นเบิกขอรับเงินค่าสินไหมทดแทนได้ท่ีห้องพยาบาลของวิทยาลัยฯ
(จะไดร้ บั เงินตามวงเงนิ ในเสร็จรบั เงินแต่ไมเ่ กนิ วงเงนิ คุม้ ครอง)
5. ระยะเวลาการคมุ้ ครอง ตามเวลา วันที่ เดือน ปี ท่รี ะบใุ นบัตรประจำ�ตวั ผูป้ ระกันอุบตั ิเหตุหม่ทู บี่ รษิ ทั เปน็
ผอู้ อกให้

104

ANGTHONGSTUDENT HANDBOOTEKCHN2I0CA2L2COLLEGE

แบบประกันอบุ ัติเหตหุ มู่ “โครงการโรงเรยี นอนุ่ ใจ” ปีการศึกษา 2565

ให้ความคุ้มครองอุบัตเิ หต ุ จำ�นวนเงินประกนั ภยั
1. กรณเี สยี ชีวติ จากอบุ ัตเิ หตุทั่วไป 60,000 บาท
2. หากคมุ้ ครองอบุ ัตเิ หตุทที่ ำ�ใหเ้ สียชีวิตหรือทุพพลภาพสนิ้ เชงิ (พกิ าร)
จากกจิ กรรมของวทิ ยาลัยทง้ั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษาเพิ่มอีก 1 เท่า 60,000 บาท รวมเปน็
เงนิ 120,000 บาท
3. อบุ ัตเิ หตุจากการขบั ขห่ี รือโดยสารรถจกั รยานยนต์ รวมไปถึงการถกู ฆาตกรรม สงู สดุ 6,000,000/ปี
และถูกลอบทำ�ร้าย
4. อบุ ัติเหตุทำ�ใหเ้ กิดทพุ พลภาพสนิ้ เชงิ (พกิ าร) 60,000 บาท
5. อุบตั เิ หตทุ �ำ ให้สูญเสียอวัยวะ ข้อมอื ข้อเทา้ หรอื ตาบอด รวมกนั ตงั้ แต่ 2 ขา้ ง 60,000 บาท
จา่ ย 100 เปอรเ์ ซ็นต์ 60,000 บาท
6. อบุ ัติเหตุทำ�ให้สญู เสยี อวยั วะ ข้อมือ ข้อเท้า หรอื ตาบอด 1 ข้าง 36,000 บาท
รวมกนั ตง้ั แต่ 2 ขา้ ง จา่ ย 60 เปอร์เซ็นต ์ 6,000 บาท
7. อบุ ัติเหตุได้รับบาดเจบ็ และเบิกค่ารักษาพยาบาลทงั้ โรงพยาบาลของรฐั และ
เอกชนคลินิก ได้ตามใบเสรจ็ และใบรบั รองแพทยฉ์ บบั จรงิ ตามวงเงินคมุ้ ครอง

เอกสารประกอบการเรยี กร้องคา่ สินไหม

ข้อควรปฏิบตั ิดงั น้ี
1. ถ้าได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ หรือสูญเสียอวัยวะ ข้อมือ ข้อเท้า และสายตา หรือถึงข้ันทุพพลภาพสิ้นเชิง
(พกิ าร) ให้ทางวิทยาลัยฯ สง่ เอกสารดงั ต่อไปนี้
1.1 แบบเรยี กรอ้ งค่าทดแทน
1.2 ใบรบั รองแพทย์ (ฉบบั จรงิ )
1.3 ใบเสร็จรับเงนิ (ฉบบั จรงิ )
กรณีเสียชวี ิต ให้ใช้เอกสารดงั ต่อไปนี้
1. แบบเรยี กรอ้ งค่าทดแทน
2. สำ�เนาบนั ทึกประจ�ำ วันของสถานีต�ำ รวจ
3. ส�ำ เนารายงานการชนั สูตรพลกิ ศพของเจ้าหน้าทีต่ �ำ รวจ
4. ส�ำ เนาหนงั สอื รบั รองการตายจากโรงพยาบาล
5. สำ�เนาใบมรณบตั ร (รับรองส�ำ เนาถูกต้อง)
6. ส�ำ เนาบตั รประจ�ำ ตัวประชาชนของผูเ้ สียชวี ติ (รับรองสำ�เนาถูกตอ้ ง)
7. ส�ำ เนาทะเบยี นบ้านผู้เสียชีวิต (ระบุ “ตาย”) (รบั รองสำ�เนาถกู ต้อง)
8. สำ�เนาบตั รประจ�ำ ตวั ผรู้ บั ประโยชน์ (บดิ า, มารดา) (รับรองสำ�เนาถกู ตอ้ ง)
9. สำ�เนาทะเบียนบ้านผ้รู บั ผลประโยชน์ (บดิ า, มารดา) (รบั รองส�ำ เนาถกู ตอ้ ง)
10. สำ�เนาทะเบียนสมรสของผรู้ ับผลประโยชน์ (บดิ า, มารดา) (รบั รองส�ำ เนาถูกต้อง)

105

ANGTHONGSTUDENT HANDBOOTEKCHN2I0CA2L2COLLEGE

งานแนะแนวอาชพี และจัดหางาน

คณะบคุ ลากรงานแนะแนวอาชพี และจดั หางาน
1. นางสาวอารมณ์ บญุ เชดิ ฉาย หัวหน้างานแนะแนวอาชพี และจดั หางาน
2. นางสาวสุนันท ์ ศรขี จรจิต ผู้ช่วยหัวหน้างานแนะแนวฯ
3. นางสาวเปรมปรี ยังคมุ้ ญาติ ผชู้ ว่ ยหวั หนา้ งานแนะแนวฯ
4. นางสาวสพุ ตั รา จำ�นงค์ศาสตร ์ ผชู้ ว่ ยหัวหนา้ งานแนะแนวฯ
5. นางสิรยิ ล ปานแอ๊ด ผูช้ ว่ ยหวั หน้างานแนะแนวฯ
6. นายเทิดพร รัตน์อมรชัย ผชู้ ว่ ยหวั หนา้ งานแนะแนวฯ
7. นายนิรุตต์ิ สระบวั ผ้ชู ว่ ยหัวหนา้ งานแนะแนวฯ
8. นายประวทิ ย์ พรมสทิ ธ ิ์ ผู้ชว่ ยหัวหนา้ งานแนะแนวฯ
9. นายสธุ า แสงทับทิม ผชู้ ว่ ยหวั หนา้ งานแนะแนวฯ
10. นางประไพ กระจ่างแจง้ เจ้าหนา้ ทงี่ านแนะแนวฯ
งานแนะแนวอาชพี และจดั หางาน
งานแนะแนวอาชพี และจดั หางาน เปน็ หนว่ ยงานทใี่ หบ้ รกิ ารและใหค้ �ำ ปรกึ ษาแกน่ กั เรยี น นกั ศกึ ษา หรอื ผปู้ กครอง
โดยแยกออกเป็นการบรกิ ารด้านต่าง ๆ ดงั นี้
• การจัดหางาน โดยการติดต่อประสานงานกับสถานประกอบการต่าง ๆ เพ่ือจัดหางานให้กับนักเรียน
นกั ศึกษา
• การจัดแนะแนวศึกษาต่อ
• การจดั สรรทนุ การศึกษา
• การจัดสรรโควตาศึกษาต่อ
• การบรกิ ารให้ค�ำ ปรึกษาแกน่ ักเรยี น นักศึกษา
• การติดตามประเมนิ ผลผสู้ �ำ เรจ็ การศึกษา
• การจดั บรกิ ารสนเทศ
• การจัดปฐมนเิ ทศ
• การจัดปจั ฉิมนิเทศ
• ดำ�เนนิ การเก่ียวกับกองทุนเงนิ ให้ก้ยู มื เพอื่ การศึกษา (กยศ.)
1. จัดหางานให้กับนกั เรียน นกั ศกึ ษา จะดำ�เนนิ การดังนี้
1.1 ตดิ ต่อสถานประกอบการทรี่ บั สมคั ร
1.2 แจ้งกำ�หนดการให้นักเรยี น นกั ศึกษาทราบ หรอื เขยี นใบสมคั ร
1.3 สง่ ใบสมคั รใหส้ ถานประกอบการ
1.4 แจ้งรายชอื่ ผ้ทู ีไ่ ดร้ ับการพิจารณาคดั เลอื กเขา้ สอบสมั ภาษณ์
2. การแนะแนวศึกษาตอ่
การแนะแนวศกึ ษาตอ่ วทิ ยาลยั ฯ จะจดั เปน็ รปู ของการจดั บอรด์ ประชาสมั พนั ธข์ า่ วสาร ตดิ ประกาศหรอื ประชาสมั พนั ธ์
เสียงตามสาย หรอื เปน็ การบรรยายใหค้ วามรู้เกย่ี วกับการศึกษาตอ่ โดยวิทยากรจากสถาบนั การศกึ ษาต่าง ๆ
3. การจัดสรรทุนการศกึ ษา
 จดั สรรทุนการศกึ ษาให้กับนักเรียน นกั ศกึ ษาทีม่ ีคุณสมบัติดังตอ่ ไปน้ี
- มฐี านะยากจน
- มผี ลการเรียนดี (เกรดเฉลี่ยไม่นอ้ ยกวา่ 2.00)

106

ANGTHONGSTUDENT HANDBOOTEKCHN2I0CA2L2COLLEGE

- มคี วามประพฤติดี เรียบรอ้ ย, ชว่ ยเหลอื กิจกรรมของวทิ ยาลัยฯ
- มคี วามพยายาม มานะ และอดทน
 วิธดี �ำ เนินการขอรับทุนการศกึ ษาดังน้ี
- รบั ใบสมคั รขอรบั ทนุ ท่ีงานแนะแนวฯ ตามประกาศ
- ย่นื ใบสมัครขอรบั ทุนการศึกษา ตามกำ�หนดเวลา
- สมั ภาษณ์ที่แผนกวิชา ตามวนั เวลา ทกี่ �ำ หนด
- ประกาศรายชอื่ ผทู้ ไ่ี ดร้ บั ทุนการศึกษา
- มอบทุนการศึกษาและเบิกจา่ ยทุนการศกึ ษาให้กบั นักเรียน นกั ศึกษา
4. การจัดสรรโควตาศกึ ษาตอ่ จะคดั เลอื กนักเรียน นักศึกษา ทมี่ คี ุณสมบัตติ ามเกณฑท์ ีก่ ำ�หนดการเขา้ ศึกษาต่อ
ของสถาบนั การศึกษาตา่ ง ๆ งานแนะแนวฯ จะด�ำ เนินการดงั นี้
4.1 แจง้ แผนกวชิ าใหพ้ จิ ารณาคดั เลอื กนกั เรยี น นกั ศกึ ษา ทสี่ นใจสมคั รโควตาตามระเบยี บและเกณฑท์ ก่ี �ำ หนด
ของแต่ละสถาบันการศกึ ษาต่าง ๆ
4.2 นกั เรียน นักศกึ ษาทีไ่ ดร้ บั การพจิ ารณาคัดเลือก จะต้องเตรียมเอกสารดงั ตอ่ ไปน้ี
- สำ�เนา รบ. (3 หรอื 5 ภาคเรยี น)
- รปู ถา่ ย
- สำ�เนาบตั รประจำ�ตัวประชาชน ส�ำ เนาทะเบียนบ้าน
- อน่ื ๆ (ถา้ ม)ี
5. การจัดบริการให้ค�ำ ปรกึ ษา
คอื การบรกิ ารทจ่ี ดั ขน้ึ เพอ่ื ใหค้ วามชว่ ยเหลอื นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ทมี่ ปี ญั หา โดยมจี ดุ มงุ่ หมายทจ่ี ะชว่ ยใหน้ กั เรยี น
นักศกึ ษาไดร้ ูจ้ กั และเขา้ ใจตนเอง สามารถเลือกและตดั สนิ ใจได้อย่างถกู ต้อง
6. การติดตามและประเมินผล
คือ การติดตามผลของผู้สำ�เร็จการศึกษาว่านักเรียน นักศึกษา ที่จบการศึกษาไปแล้ว ได้ศึกษาต่อ มีงานทำ�
รองาน ว่างงาน กเ่ี ปอรเ์ ซน็ ต์ มากนอ้ ยเพยี งใด เพอ่ื ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในลำ�ดับตอ่ ไป
7. การจดั บรกิ ารสนเทศ
คอื การใหข้ อ้ มลู ขา่ วสาร ความรู้ ความเขา้ ใจดา้ นการศกึ ษา การประกอบอาชพี สว่ นตวั สงั คมภาวะตลาดแรงงาน
แก่นักเรียน นักศึกษา เพื่อประโยชน์ในการนำ�มาประกอบการพิจารณาตัดสินใจเลือกแนวทางการดำ�เนินชีวิตได้อย่าง
ถูกต้องและเหมาะสมกบั ตนเองมากทส่ี ุด
8. การปฐมนเิ ทศ
คอื การแนะน�ำ ใหน้ กั เรยี น นกั ศกึ ษาใหมไ่ ดท้ ราบถงึ การปฏบิ ตั ติ วั ทเี่ หมาะสมและถกู ตอ้ งของนกั เรยี น นกั ศกึ ษา
ที่เข้ามาอยู่ในวิทยาลัยฯ การปฐมนิเทศนับว่าเป็นกิจกรรมท่ีมีความสำ�คัญยิ่ง ท่ีจะต้องจัดข้ึน เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา
ได้ทราบถึงประวัติความเป็นมาของวิทยาลัยฯ โครงสร้างขององค์กร ผู้บริหารและบุคลากร รับทราบถึงกฎระเบียบ
ข้อบังคับ วินัย การปฏิบัติตัวของนักเรียน นักศึกษา ตลอดจนช่วยปลูกฝังทัศนคติ ให้มีความรู้สึกที่ดีต่อวิทยาลัย
และเพื่อนนักเรียน นกั ศกึ ษา
9. การปัจฉมิ นเิ ทศ
คอื การแนะน�ำ หรอื ชแี้ จงครง้ั สดุ ทา้ ยกอ่ นผเู้ รยี นจะส�ำ เรจ็ การศกึ ษาเชน่ เมอ่ื ส�ำ เรจ็ การศกึ ษาการปจั ฉมิ นเิ ทศ
จะเปน็ การใหโ้ อวาท อวยพร ใหแ้ นวทางในการวางตน เพอื่ กา้ วสกู่ ารเปลย่ี นแปลงทางบทบาทหนา้ ทจี่ ากนกั เรยี น นกั ศกึ ษา
ไปเปน็ ผใู้ หญว่ ยั ท�ำ งานพรอ้ มเขา้ สโู่ ลกของอาชพี สสู่ งั คมความเปน็ จรงิ ใหแ้ นวทางการพฒั นาตนหรอื ศกึ ษาตอ่ ในระดบั สงู
ข้นึ ไป ตลอดจนถึงการสร้างความสมั พันธ์อนั ดี ปลูกฝังความรักความศรทั ธาระหว่างองคก์ ร

107

ANGTHONGSTUDENT HANDBOOTEKCHN2I0CA2L2COLLEGE

108

ANGTHONGSTUDENT HANDBOOTEKCHN2I0CA2L2COLLEGE

กยศ. เพิ่มโอกาสทางการศกึ ษา
พรอ้ มให้ก้ยู ืม 4 ลักษณะ

กองทนุ เงนิ ใหก้ ยู้ มื เพอ่ื การศกึ ษา (กยศ.) เตรยี มพรอ้ มใหก้ ยู้ มื ครบ 4 ลกั ษณะ ในปกี ารศกึ ษา 2564 ลดอตั ราดอกเบย้ี
สำ�หรบั ผทู้ ่ีขาดแคลนทนุ ทรพั ย์ เพ่อื ส่งเสรมิ ใหเ้ รยี นสาขาวิชาท่เี ป็นความตอ้ งการหลัก สาขาวชิ าขาดแคลน และให้กูย้ มื
ในระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตและปริญญาโท สำ�หรับผู้กู้ท่ีเรียนดี โดยพัฒนาระบบการจัดการการให้กู้ยืมแบบดิจิทัล
เพื่อเพมิ่ ความสะดวกรวดเร็วในการย่นื กยู้ มื เงนิ ใหน้ กั เรยี น นักศึกษาเขา้ ถงึ โอกาสทางการศึกษามากขนึ้

ตามพระราชบญั ญตั กิ องทนุ เงนิ ใหก้ ยู้ มื เพอื่ การศกึ ษา พ.ศ. 2560 โดยก�ำ หนดหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขเกย่ี วกบั
การใหก้ ยู้ มื เงนิ เพอื่ การศกึ ษาและการช�ำ ระเงนิ คนื กองทนุ คณุ สมบตั เิ ฉพาะของนกั เรยี น นกั ศกึ ษา อตั ราดอกเบยี้ ขอบเขต
การใหเ้ งนิ กยู้ มื ประเภทวชิ า สถานศกึ ษาหรอื ระดบั ชนั้ การศกึ ษา และหลกั สตู รทจี่ ะใหเ้ งนิ กยู้ มื เพอ่ื การศกึ ษาทง้ั 4 ลกั ษณะ
ดงั นี้

ลกั ษณะที่ 1 นกั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษาทขี่ าดแคลนทนุ ทรพั ย์ เปน็ ผกู้ ยู้ มื ทมี่ รี ายไดค้ รอบครวั ตอ่ ปไี มเ่ กนิ 360,000 บาท
ให้กยู้ มื เงนิ เปน็ คา่ เล่าเรยี น ค่าใช้จ่ายทเ่ี กยี่ วเน่อื งกบั การศกึ ษา คา่ ครองชีพ ในระดับมธั ยมปลาย ปวช. ปวท./ปวส. และ
อนปุ รญิ ญา/ปริญญาตรี โดยก�ำ หนดชำ�ระเงินคนื ภายใน 15 ปี ระยะเวลาปลอดหน้ี 2 ปี ภายหลังส�ำ เร็จการศึกษา อตั รา
ดอกเบย้ี 1% ตอ่ ปี

ลักษณะที่ 2 นักเรียนหรือนักศึกษาที่ศึกษาในสาขาวิชาที่เป็นความต้องการหลัก ซ่ึงมีความชัดเจนของการผลิต
ก�ำ ลงั คนและมคี วามจำ�เป็นต่อการพฒั นาประเทศ และ

ลักษณะที่ 3 นกั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษาทศ่ี กึ ษาในสาขาวชิ าขาดแคลน หรอื ท่กี องทุนมงุ่ สง่ เสรมิ เปน็ พเิ ศษ ให้เงินกู้ยมื
เงนิ เปน็ คา่ เลา่ เรยี น คา่ ใชจ้ า่ ยทเี่ กยี่ วเนอ่ื งกบั การศกึ ษา ระดบั ปวช. ปวท./ปวส. และอนปุ รญิ ญา/ปรญิ ญาตรี โดยก�ำ หนด
ช�ำ ระเงนิ คนื ภายใน 15 ปี ระยะเวลาปลอดหนี้ 2 ปี ภายหลงั ส�ำ เรจ็ การศกึ ษา อตั ราดอกเบย้ี 1% ตอ่ ปี หากเปน็ ผทู้ ม่ี รี ายได้
ครอบครัวต่อปีไมเ่ กิน 360,000 บาท จะสามารถก้ยู มื ค่าครองชีพไดแ้ ละได้รบั อตั ราดอกเบ้ยี พเิ ศษ 0.75% ตอ่ ปี

ลกั ษณะที่ 4 นกั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษาทเ่ี รยี นดเี พอ่ื สรา้ งความเปน็ เลศิ ใหก้ ยู้ มื เงนิ เปน็ คา่ เลา่ เรยี น คา่ ใชจ้ า่ ยทเี่ กย่ี วเนอื่ ง
กับการศึกษา ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตและปริญญาโท เพ่ือสร้างความเป็นเลิศด้านการวิจัยและสร้างนวัตกรรม
เพื่อพัฒนาประเทศไทย ผู้กู้ต้องสำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีมีเกรดเฉล่ียไม่ต่ํากว่า 3.00 โดยกำ�หนดชำ�ระเงินคืน
ภายใน 10 ปี ระยะเวลาปลอดหนี้ 1 ปี ภายหลงั สำ�เรจ็ การศึกษา อัตราดอกเบีย้ 1% ตอ่ ปี หากเป็นผทู้ ่มี รี ายไดค้ รอบครัว
ตอ่ ปีไมเ่ กนิ 360,000 บาท จะสามารถกูย้ ืมคา่ ครองชพี ไดแ้ ละไดร้ บั อัตราดอกเบ้ยี พเิ ศษ 0.50% ต่อปี

ท้ังน้ี กองทุนอยู่ระหว่างการพัฒนาระบบจัดการการให้กู้ยืมแบบดิจิทัล ท่ีใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ สนับสนุนการ
ด�ำ เนนิ การใหก้ ยู้ มื ทง้ั กระบวนการ ตง้ั แตก่ ารยน่ื กู้ พจิ ารณาอนมุ ตั ิ การจดั ท�ำ สญั ญากยู้ มื เงนิ ซง่ึ จะเรมิ่ ด�ำ เนนิ การพรอ้ มกบั
การใหก้ ยู้ มื ทงั้ 4 ลกั ษณะดังกล่าวในปีการศกึ ษา 2564 สถานศึกษาและผ้กู ู้ยมื จะได้รบั ความสะดวกรวดเร็วในการก้ยู ืม
มากย่ิงข้ึนอย่างแน่นอน ผู้ท่ีสนใจสามารถดูรายละเอียดเพ่ิมเติมได้ที่ www.studentloan.or.th ผู้จัดการกองทุนฯ
กลา่ วในท่สี ดุ

109

ANGTHONGSTUDENT HANDBOOTEKCHN2I0CA2L2COLLEGE

110

ANGTHONGSTUDENT HANDBOOTEKCHN2I0CA2L2COLLEGE

ภาพรวมข้นั ตอนการดำ�เนนิ งานระบบจัดการการให้กู้ยมื แบบดิจทิ ัล (LOS)
สำ�หรบั ผู้ก้ยู มื เงนิ

1. การเตรียมการให้กู้ยมื เงิน 2. การรายงานสถานภาพการศกึ ษา
- การเตรยี มการโดยสถานศกึ ษา เปน็ ขั้นตอน - รายงานโดยสถานศกึ ษา *เป็นข้นั ตอน

การดำ�เนนิ งานของสถานศกึ ษา การดำ�เนนิ งานของสถานศึกษา
- รายงานโดยผกู้ ยู้ ืมเงนิ

3. การย่ืนคำ�ขอกู้ยืมเงินและอนุมตั ิคำ�ขอ 4. การจดั ท�ำ สัญญากู้ยมื เงิน และการลงนาม
กยู้ มื เงิน สญั ญากยู้ ืมเงน
- ผกู้ ยู้ ืมเงินบนั ทกึ ขอ้ มลู เพิ่มเตมิ กอ่ นลงนาม
- นกั เรียน / นกั ศึกษายนื่ คำ�ขอกยู้ ืมเงนิ
- สถานศึกษาตรวจสอบคำ�ขอกู้ยืมเงนิ สญั ญากู้ยมื เงิน
- ระบบหรือกองทุนอนุมตั ิค�ำ ขอกยู้ มื เงิน - การลงนามสัญ

5. การเบกิ เงนิ กู้ยมื รายภาคเรยี น 6. การลงนามแบบยืนยันการเบิกเงนิ กู้ยืม
- สถานศกึ ษาบันทกึ คา่ เลา่ เรียนฯ ตามท่ี รายภาคเรยี น
- การลงนามแบบยนื ยันการเบกิ เงนิ
ลงทะเบียนจริง
- ผู้กู้ยมื เงนิ ยนื ยนั การเบิกเงนิ ก้ยู มื
- สถานศึกษาเรียกดูข้อมลู การโอนเงนิ

7. การคืนเงนิ โดยผู้ก้ยู ืมเงนิ

- กรณียกเลิกสญั ญากูยืมเงนิ
- กรณียกเลกิ แบบยนื ยันการเบกิ เงนิ กู้ยมื
รายภาคเรียน (แลว้ แตก่ รณ)ี

หมายเหตุ : รายละเอยี ดการด�ำ เนนิ ขัน้ ตอนการกยู้ มื ฯ ตดิ ตอ่ สอบถามไดท้ ีง่ านแนะแนวฯ ได้ตามระยะเวลาท่ีงาน
แนะแนวฯ ก�ำ หนดใหด้ �ำ เนนิ การ

111

ANGTHONGSTUDENT HANDBOOTEKCHN2I0CA2L2COLLEGE

112

ANGTHONGSTUDENT HANDBOOTEKCHN2I0CA2L2COLLEGE

113

ANGTHONGSTUDENT HANDBOOTEKCHN2I0CA2L2COLLEGE

ระเบยี บคณะกรรมการกองทุนเงนิ ใหก้ ยู้ มื เพื่อการศึกษา
วา่ ดว้ ยหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเง่ือนไขเก่ียวกบั การใหเ้ งนิ ก้ยู มื
เพ่ือการศึกษาและการชำ�ระเงนิ คนื กองทนุ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2564

โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบคณะกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ือการศึกษา ว่าด้วยหลักเกณฑ์
วธิ กี าร และเง่ือนไขเกย่ี วกับการให้เงินกยู้ มื เพ่อื การศกึ ษาและการชาํ ระเงนิ คืนกองทนุ พ.ศ. 2563 ใหม้ คี วามเหมาะสม
มากยิง่ ข้ึน

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 19 (7) และ (17) มาตรา 39 มาตรา 40 มาตรา 41 มาตรา 44 และมาตรา 50
แห่งพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ือการศึกษา พ.ศ. 2560 คณะกรรมการ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ือการศึกษา
ในการประชมุ คร้งั ท่ี 7/2564 เม่ือวันท่ี 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 ไดม้ ีมตใิ ห้ออกระเบยี บไว้ ดังนี้

ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการกองทุนเงนิ ใหก้ ูย้ มื เพือ่ การศึกษา วา่ ดว้ ย หลักเกณฑ์ วธิ ีการ
และเงื่อนไขเกย่ี วกบั การให้เงนิ กู้ยมื เพือ่ การศกึ ษาและการชําระเงนิ คนื กองทุน (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2564”

ขอ้ 2 ระเบยี บน้ใี หใ้ ชบ้ งั คับตงั้ แตว่ นั ประกาศเปน็ ต้นไป
ขอ้ 3 ระเบียบนใ้ี ห้ใช้บงั คบั กับผู้กู้ยืมเงนิ ดังตอ่ ไปน้ี
(1) ผกู้ ยู้ มื เงนิ กองทนุ ทยี่ นื่ คาํ ขอกยู้ มื เงนิ ไดร้ บั อนมุ ตั ใิ หก้ ยู้ มื เงนิ กยู้ มื เพอ่ื การศกึ ษา และทาํ สญั ญากยู้ มื เงนิ
ต้งั แต่ปีการศึกษา 2564 เปน็ ต้นไป
(2) ผู้กู้ยืมเงินกองทุน ที่ยังไม่ครบกําหนดชําระเงินคืนและครบกําหนดชําระเงินคืน กองทุนต้ังแต่งวด
การช�ำ ระ ในวนั ที่ 5 กรกฎาคม 2565 เป็นต้นไป
ขอ้ 4 ให้ยกเลกิ ความในข้อ 18 แห่งระเบียบคณะกรรมการกองทุนเงนิ ให้ก้ยู มื เพ่ือการศกึ ษา วา่ ด้วยหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการให้เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาและการชําระเงินคืนกองทุน พ.ศ. 2563 และให้ใช้ความ
ต่อไปน้แี ทน
“ข้อ 18 หากในวนั ครบกําหนดชาํ ระเงนิ กยู้ ืมคืนกองทนุ ตามข้อ 16 ผ้กู ู้ยืมเงนิ ในลกั ษณะท่ี 1 ลกั ษณะ
ท่ี 2 และลกั ษณะที่ 3 ตามขอ้ 7 (1) (2) และ (3) ไมส่ ามารถชาํ ระเงนิ กยู้ มื คนื กองทนุ ไดท้ ง้ั จาํ นวน กองทนุ อาจใหผ้ กู้ ยู้ มื เงนิ
ผ่อนชําระเงินคืนกองทุนเป็นงวดรายเดือน โดยต้องชําระให้เสร็จสิ้น ภายในระยะเวลาสามสิบปีนับแต่วันท่ีครบกําหนด
ชาํ ระเงนิ ก้ยู ืมคืนกองทุน โดยในการชําระงวดสุดทา้ ย ผกู้ ู้ยืมเงินจะตอ้ งมีอายไุ มเ่ กิน 60 ปีบรบิ ูรณ์
สําหรับผู้กู้ยืมเงินในลักษณะที่ 4 ตามข้อ 7 (4) หากไม่สามารถชําระเงินกู้ยืมคืนกองทุนได้ท้ังจํานวน
กองทนุ อาจใหผ้ กู้ ยู้ มื เงนิ ผอ่ นชาํ ระเงนิ คนื กองทนุ เปน็ งวดรายปี โดยตอ้ งชาํ ระ ใหเ้ สรจ็ สนิ้ ภายในระยะเวลาสบิ ปี นบั แตว่ นั ท่ี
ครบกําหนดชาํ ระเงินกู้ยมื คืนกองทุน”

114

ANGTHONGSTUDENT HANDBOOTEKCHN2I0CA2L2COLLEGE

ขอ้ 5 ให้ยกเลิกความในขอ้ 19 แห่งระเบยี บคณะกรรมการกองทนุ เงินใหก้ ยู้ มื เพ่อื การศกึ ษา ว่าดว้ ยหลกั เกณฑ์
วิธีการ และเง่ือนไขเกี่ยวกับการให้เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาและการชําระเงินคืนกองทุน พ.ศ. 2563 และให้ใช้ความ
ตอ่ ไปนแ้ี ทน

“ข้อ 19 การผ่อนชําระเงินกู้ยืมคืนกองทุน ตามข้อ 14 ให้ผู้กู้ยืมเงินชําระเงินกู้ยืมคืน กองทุนงวดแรก
เต็มจํานวนซึ่งเป็นการชําระคืนเฉพาะเงินต้นไม่มีดอกเบี้ยในวันท่ีครบกําหนดชําระเงินกู้ยืมคืน กองทุนตามท่ีกําหนด
ในข้อ 16 วรรคสาม

สําหรับการชําระเงินกู้ยืมคืนกองทุนในงวดต่อ ๆ ไป ให้ผู้กู้ยืมเงินชําระเงินกู้ยืมคืน กองทุนตามจํานวน
ทก่ี าํ หนด ซง่ึ เปน็ การชาํ ระคนื เงนิ ตน้ พรอ้ มดอกเบย้ี หรอื คา่ ธรรมเนยี มจดั การเงนิ กใู้ น อตั รารอ้ ยละหนง่ึ ตอ่ ปี หรอื ในอตั รา
ที่กองทุนประกาศกําหนด โดยผู้กู้ยืมเงินในลักษณะที่ 1 ลักษณะท่ี 2 และ ลักษณะที่ 3 ตามข้อ 7 (1) (2) และ (3)
ให้ชาํ ระภายในวันที่ 5 ของทกุ เดือน สาํ หรบั ผู้กู้ยมื เงินในลักษณะที่ 4 ตาม ข้อ 7 (4) ใหช้ ําระภายในวนั ท่ี 5 กรกฎาคม
ของแตล่ ะปี โดยวิธีการชาํ ระให้เปน็ ไปตามทกี่ ําหนดในข้อ 20

การคิดดอกเบี้ยหรือค่าธรรมเนียมจัดการเงินกู้ ให้เริ่มคิดตั้งแต่วันครบกําหนดชําระ เงินกู้ยืมของเงินต้น
ที่เหลือหลังจากชําระงวดแรกแล้ว”

ข้อ 6 ให้ยกเลกิ ความในข้อ 20 แห่งระเบียบคณะกรรมการกองทนุ เงินให้กู้ยมื เพอ่ื การศึกษา วา่ ด้วยหลกั เกณฑ์
วิธีการ และเง่ือนไขเก่ียวกับการให้เงินกู้ยืมเพ่ือการศึกษาและการชําระเงินคืนกองทุน พ.ศ. 2563 และให้ใช้ความ
ตอ่ ไปนีแ้ ทน

“ข้อ 20 ให้ผูก้ ้ยู มื เงนิ ในลักษณะที่ 1 ลกั ษณะท่ี 2 และลกั ษณะที่ 3 ตามขอ้ 7 (1) (2) และ (3) ผ่อนชาํ ระ
เงนิ กยู้ มื คืนกองทนุ เป็นรายเดอื น ในจาํ นวนเงนิ ท่เี ทา่ กันทุกเดอื น โดยในการชาํ ระเงินกู้ยมื คนื กองทุนงวดสดุ ท้าย ผู้ก้ยู ืม
เงินจะต้องมีอายไุ มเ่ กินกว่า 60 ปีบรบิ รู ณ์ และมีระยะเวลาการผ่อนชาํ ระตามจํานวนเงนิ กยู้ ืม ดงั นี้

จ�ำ นวนเงนิ กยู้ มื ไม่เกนิ 100,000 100,001 - 200,000 200,001 – 350,000 มากกว่า 350,000
(บาท) ข้ึนไป
ระยะเวลาผอ่ น
ช�ำ ระ (ปี) 10 – 15 16 – 20 21 - 25 26 – 30

ใหผ้ กู้ ู้ยมื เงินท่กี ู้ยมื เงินในลักษณะท่ี 4 ตามข้อ 7 (4) ผ่อนชาํ ระเงนิ ก้ยู มื คนื กองทุน โดยจํานวนเงนิ ต้นท่ี
ตอ้ งชําระในแต่ละงวด ตอ้ งไมต่ �ำ่ กวา่ อตั รา ดังนี้

งวดทช่ี าํ ระ (ปีท่ี) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
รอ้ ยละของเงินต้น
ท่ีตอ้ งช�ำ ระ 4.0 5.0 7.0 9.0 10.0 11.0 12.0 13.0 14.0 15.0

นอกจากการชาํ ระเงนิ กยู้ ืมคืนกองทุนงวดแรกซึง่ ต้องชําระเตม็ จาํ นวนตามข้อ 19 วรรคหนึง่ ในการชําระ
เงนิ กู้ยืมคืนกองทนุ ในงวดตอ่ ๆ ไป ตามข้อ 19 วรรคสอง ผู้กู้ยมื เงนิ ในลักษณะที่ 4 ตามข้อ 7 (4) อาจแบง่ ชาํ ระเงินใน
แตล่ ะงวดรายปนี ้ัน เป็นรายเดอื นกไ็ ด้

115

ANGTHONGSTUDENT HANDBOOTEKCHN2I0CA2L2COLLEGE

ผู้กู้ยมื เงินคนใดไม่ชําระหนใ้ี ห้ครบจาํ นวนในงวดใดงวดหนึง่ ผู้กยู้ ืมเงินคนน้ัน จะตกเปน็ ผู้ผดิ นัดชาํ ระหนี้
และต้องชําระเงินเพิ่มตามท่ีกําหนดในข้อ 21 ท้ังนี้ ในการแบ่งชําระเป็นรายเดือน ในแต่ละงวด หากผู้กู้ยืมเงินคนใด
ไมส่ ามารถชาํ ระเงนิ คนื ไดต้ ามจาํ นวนทกี่ าํ หนดใหต้ อ้ งชาํ ระในแตล่ ะเดอื น แตผ่ กู้ ยู้ มื เงนิ คนนน้ั ไดช้ าํ ระเงนิ กยู้ มื คนื กองทนุ
ครบทงั้ จํานวนสาํ หรับงวดน้ัน ผู้กู้ยืมเงินจะไมเ่ ป็นผผู้ ิดนัดชาํ ระหน้ใี นงวดน้ัน

ในกรณีท่ีผู้กู้ยืมเงินตามวรรคหนึ่งรายใดไม่สามารถมีระยะเวลาการผ่อนชําระตามที่กําหนดไว้ เน่ืองจาก
ในการชาํ ระเงนิ ก้ยู ืมคืนกองทนุ งวดสุดทา้ ย ผู้ก้ยู ืมเงินรายนนั้ มีอายเุ กินกวา่ หกสิบปีบรบิ ูรณ์ กองทนุ จะตอ้ งกาํ หนดระยะ
เวลาการผ่อนชําระและจาํ นวนเงนิ ผ่อนชาํ ระใหเ้ ป็นรายกรณีไป”

ขอ้ 7 ให้ขอ้ ความในขอ้ 18 ข้อ 19 และขอ้ 20 แหง่ ระเบยี บคณะกรรมการกองทุนเงนิ ให้ ก้ยู ืมเพ่ือการศึกษา
ว่าด้วย หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการให้เงินกู้ยืมเพ่ือการศึกษาและการชําระเงินคืนกองทุน พ.ศ. 2523
ยงั คงมีผลผูกพนั ผูก้ ยู้ ืมเงินกองทนุ นอกเหนอื จากที่กําหนดไวใ้ นข้อ 3 (1) และ (2) ของระเบยี บน้ี

ประกาศ ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

(นายกฤษฎา จีนะวิจารณะ)
ปลัดกระทรวงการคลัง

ประธานกรรมการกองทุนเงินใหก้ ยู้ ืมเพ่อื การศกึ ษา

116


Click to View FlipBook Version