The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การดูแลเมื่อเจ็บป่วยด้วยวิถีชีวิตมุสลิม.doc

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yaowaluxlol, 2021-04-22 00:05:38

การดูแลเมื่อเจ็บป่วยด้วยวิถีชีวิตมุสลิม.doc

การดูแลเมื่อเจ็บป่วยด้วยวิถีชีวิตมุสลิม.doc

คลงั ความรู้

การจดั การผู้ป่ วยที่พฤตกิ รรมจ้ากเี้ จ้าการ

การจดั การความรู้จากประสบการณ์การทางานของบุคลากรตึกหญิง 2
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
ปี 2551

ความสาคัญของปัญหา
ตึกหญิง 2 เป็นตึกที่รับผปู้ ่ วยหลายลกั ษณะ เช่น โรคลมชกั ผปู้ ่ วยจิตเวชทวั่ ไป ผปู้ ่ วยสาร
เสพติด ผปู้ ่ วยจิตเวชวยั รุ่น ผปู้ ่ วยคดี และรับฝากนอนผปู้ ่ วยสารเสพติด ซ่ึงจากการดูแลผปู้ ่ วย
หลายประเภทพบวา่ ผปู้ ่ วยมีพฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การที่สร้างความยงุ่ ยากในการปฏิบตั ิงานและพบวา่
บุคลากรไม่ไดใ้ หก้ ารดูแลผปู้ ่ วยไปในทางเดียวกนั ทาใหเ้ กิดความยงุ่ ยากในการปฏิบตั ิงานและ
เกิดความเสี่ยงกบั ผปู้ ่ วยและบุคลากร ตึกหญิง 2 จึงเห็นความสาคญั ของปัญหาและนามาพฒั นา
โดยการจดั ทา KM เพื่อแลกเปล่ียนความรู้สึกซ่ึงกนั และกนั ระหวา่ งบุคลากรในหน่วยงาน

วตั ถุประสงค์
- เพื่อป้องกนั ความเสี่ยงท่ีเกิดข้ึน
- เพอ่ื เกิดแนวปฏิบตั ิในการดูแลผปู้ ่ วยท่ีมีพฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การ
- เพื่อแลกเปล่ียนความรู้สึกซ่ึงกนั และกนั
- เพ่อื ใหบ้ ุลากรมีสมั พนั ธภาพท่ีดีซ่ึงกนั และกนั

ข้ันตอน
- รวบรวมปัญหา
- ประชุมบุคลากร
- จดั ประชุมเร่ืองเล่า 4 คร้ัง RN 2 คร้ัง Aid 2 คร้ัง
- รวบรวมขอ้ มูล
- จดั ทาแนวปฏิบตั ิ

เอกสารและทฤษฎที ่เี กย่ี วข้อง
ความหมาย

พฤติกรรมเจ้าก้ีเจา้ การ (manipulative behavior) ปรากฎอยู่ในความสัมพนั ธ์ของมนุษย์
หลายๆรูปแบบ บางคร้ังใหผ้ ลในเชิงสร้างสรรค์ บางคร้ังเป็นอุปสรรคต่อการเจริญและการพฒั นา
ความสมบูรณ์ทางจิตใจ บางคร้ังให้ผลร้ายมีลกั ษณะของการทาลายตามมาโดยมีผูใ้ ห้ความหมาย
ของพฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การ ไวด้ งั น้ี

คณาจารยส์ ถาบนั พระบรมราชนก (2541) กล่าวว่า พฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การ เป็ นวิธีการ
ควบคุมเพื่อป้องกนั ความลม้ เหลวหรือความคบั ขอ้ งใจของตนเอง หรืออีกขอ้ หน่ึงเป็นพฤติกรรมที่
ทาให้ตนเองมีอานาจเหนือกว่าผูอ้ ื่น บุคคลจะแสดงการควบคุมหรือบงการให้ผูอ้ ่ืนปฏิบตั ิหรือ
แสดงพฤติกรรมตามที่ตนเองตอ้ งการ โดยไม่คานึงถึงความถูกตอ้ งหรือความเดือดร้อนของผูอ้ ่ืน
วิธีท่ีแสดงในการบงการผูอ้ ื่นน้นั อาจจะใชค้ วามกา้ วร้าว ข่มข่โู ดยตรง หรืออาจใชว้ ิธีการหว่านลอ้ ม
ดว้ ยเพทุบายต่างๆ ถา้ ไม่สมหวงั จะเกิดความโกรธแคน้ อาฆาต ความตอ้ งการของบุคคลเหล่าน้ีก็
คือ การมีอานาจเหนือผอู้ ื่น สามารถบงการผอู้ ื่นได้

แผ จนั ทร์สุข (2540) กล่าวว่า พฤติกรรมควบคุมผูอ้ ่ืนหรือเจา้ ก้ีเจา้ การ หมายถึง ลกั ษณะ
ของบุคคลที่พยายามวางแผนควบคุมผอู้ ่ืน พูดหรือกระทาไปตามความปรารถนาของตนเองดว้ ยวิธีการ
ชกั จูง พูดคุยอยา่ งสุภาพ แต่แฝงไปดว้ ยเล่ห์กลเพื่อสนองความตอ้ งการของตนเองเป็ นวิธีการควบคุม
เพื่อป้องกนั ความลม้ เหลวหรือความคบั ขอ้ งใจ ทาให้ตนเองรู้สึกมีอานาจเหนือผูอ้ ื่นถา้ ไม่สมหวงั จะ
เกิดความโกรธแคน้ อาฆาต มุ่งร้าย

สถาบนั สุขภาพจิต (2536) กล่าวว่าพฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การ (manipulative behavior) หมายถึง
พฤติกรรมที่บุคคลหน่ึงพยายามให้บุคคลอื่นกระทาตามความตอ้ งการของตน โดยการใชอ้ านาจ
หรืออิทธิพลที่เหนือกวา่ ควบคุมบงั คบั ให้กระทาตามหรือโดยการหลอกล่อเรียกร้องใหก้ ระทาเพ่ือ
ประโยชนข์ องตน

สุวนีย์ เก่ียวก่ิงแกว้ (2544) ไดใ้ ห้ความหมาย Manipulative ในภาษาไทยว่าการควบคุมผูอ้ ่ืน
อยา่ งแยบยล และกล่าววา่ การควบคุมผูอ้ ่ืนอยา่ งแยบยล (manipulative behavior) เป็นรูปแบบหน่ึง
ของพฤติกรรมที่พบในกระบวนการปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลหรือกลุ่มบุคคลโดยที่ฝ่ ายหน่ึงมีการ
ควบคุมผอู้ ื่นอยา่ งแยบยล เพื่อให้ไดม้ าในสิ่งท่ีตวั เองตอ้ งการ โดยไม่นึกถึงความคิดความรู้สึกของ
ผอู้ ่ืนและเม่ือไดใ้ นสิ่งที่ตอ้ งการแลว้ จะเกิดความรู้สึกพอใจ ขณะเดียวกนั ก็ไม่ไดต้ ระหนกั ในพฤติกรรม
แยบยลในการควบคุมผอู้ ื่น

สรุปพฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การ เป็นพฤติกรรมที่บุคคลหน่ึงพยายามจะแสดงการควบคุมผอู้ ่ืน
ใหก้ ระทาตามความตอ้ งการของตนเองโดยไม่คานึงถึงความถูกตอ้ งเหมาะสม หรือความเดือดร้อน
ของผูอ้ ื่น โดยการใช้อานาจหรืออิทธิพลท่ีเหนือกว่า การหลอกล่อหรือก้าวร้าว ข่มขู่โดยตรง
เพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซ่ึงความพอใจและประโยชนข์ องตน

ลกั ษณะของผู้มพี ฤตกิ รรมเจ้ากเี้ จ้าการ
สุวนีย์ เกี่ยวกิ่งแกว้ (2544) กล่าววา่ พฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การมี 2 ลกั ษณะคือ
1. พฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การในทางสร้างสรรค์ (contructive manipulation)คือการที่บุคคลหน่ึง
ใช้ความสามารถด้านการสร้างสัมพันธภาพเสริ มสร้างให้เกิดความสัมพันธภาพท่ีดีเป็ น
กระบวนการท่ีเกิดในจิตสานึกเป็นการส่ือสารในระดบั จิตสานึกของคนสองคน คือผคู้ วบคุมและผู้
ถูกควบคุม บุคคลที่ควบคุมรู้วา่ เขากาลงั ควบคุมผอู้ ่ืนและผถู้ ูกควบคุมกร็ ู้วา่ เขากาลงั ถูกควบคุมการ
ส่ือความหมายระหวา่ งบุคคลท้งั สองเป็ นไปอยา่ งเปิ ดเผยและจริงใจเขาตระหนกั และสนใจในการ
กระทาหรือกล่าวอีกนยั หน่ึงการกระทาอยใู่ นจิตสานึกตลอดเวลาและพร้อมท่ีจะรับผดิ ชอบในส่ิงท่ี
เกิดข้ึน
2. พฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การในทางทาลาย(distructive manipulation)คือการส่ือสารท่ีใช้ผูอ้ ่ืน
เพ่ือสร้างผลประโยชน์ใหก้ บั ตวั เองผทู้ ่ีทาการสื่อสารในลกั ษณะเช่นน้ีสร้างปัญหาและความยงุ่ ยาก
ใหก้ บั ผเู้ กี่ยวขอ้ งและบนั่ ทอนสัมพนั ธภาพในที่สุด บุคคลที่มีการสื่อสารท่ีมีการควบคุมผอู้ ่ืนอยา่ ง
แยบยลในกลุ่มน้ีเป็ นผูท้ ี่มีพฒั นาการด้านวุฒิภาวะทางอารมณ์ต่า การสื่อสารของเขามักจะมี
เง่ือนงาซ่อนเร้นและแยบยลจนผูค้ วบคุมไม่ตระหนักในกลไกของพฤติกรรมแต่จะรับรู้ถึง
ความรู้สึกไม่มีความสุขที่เกิดข้ึน กล่าวง่ายๆคือสามารถรับรู้ความรู้สึกทางดา้ นลบที่เกิดข้ึนไดแ้ ละ
ในท่ีสุดก็จะตอบโตด้ ว้ ยความโกรธและถอนตวั จากบุคคลผูท้ ี่มีพฤติกรรมควบคุมผูอ้ ่ืนอยา่ งแยบ
ยล ซ่ึงมีผลทาใหผ้ ทู้ ี่ควบคุมผอู้ ่ืนเกิดความรู้สึกวา่ ตนเองไม่เป็นท่ีตอ้ งการและถูกทอดทิ้ง ทาใหเ้ กิด
ความกงั วลเพิ่มข้ึนและทาใหเ้ กิดความรู้สึกที่จะตอ้ งควบคุมผอู้ ื่นมากยงิ่ ข้ึนต่อไป

สาเหตุและกลไกการพฤติกรรมเจ้ากเี้ จ้าการ
นงคราญ ผาสุก(2535) ไดก้ ล่าวถึงการเกิดพฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การไวว้ า่ จะเกิดข้ึนเม่ือ
1. ความตอ้ งการ(need) ไม่สมหวงั
2. เกิดความวิตกกงั วล( anxity)
3. เกิดความตอ้ งการโดยไม่คิดถึงความตอ้ งการหรือเป้าหมายของผใู้ ด

4. การปรับตวั เสีย คนเหล่าน้ีจะใชใ้ ห้บุคคลอื่นทางานทุกอยา่ งให้ตน ทาอะไรเองไม่ได้
เพราะกลวั จะลม้ เหลว ถา้ ผูใ้ ดไม่ยอมทาให้ก็จะแสวงหาไปเรื่อยๆตามวิธีการของเขาเช่นผูป้ ่ วย
พยายามเอาใจพยาบาล เพ่ือใหพ้ ยาบาลเกิดความพอใจและใหส้ ิทธิพเิ ศษแก่ตนเป็นตน้

แผ จนั ทร์สุข(2540) กล่าวถึง กลไกการเกิดพฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การไวว้ ่าผปู้ ่ วยประเภทน้ีถูก
เล้ียงในลักษณะของการควบคุม ไม่ให้เกียรติ(respect) เข้มงวดหรือพ่อแม่ตามใจจนไม่รู้จัก
ขอบเขตของความพอดี ขาดการยบั ย้งั เด็กตอ้ งการอะไรก็จะตอ้ งไดไ้ ม่ดว้ ยวิธีการใดวิธีการหน่ึง
เช่นการนอนลงดิ้นกบั พ้ืนเม่ือถูกขดั ใจไม่ใหซ้ ้ือของเล่น การร้องไม่ยอมหยดุ เม่ืออยากใหพ้ อ่ แม่อุม้
หรืออาละวาดถา้ ไม่สิ่งของตามที่ตอ้ งการ เด็กเกิดการเรียนรู้หนทางท่ีจะบงการให้ผูอ้ ื่นทาตาม
ความตอ้ งการของตนโดยไม่คานึงถึงวา่ ส่ิงที่ตนตอ้ งการน้นั จะขดั กบั ความตอ้ งการหรือความรู้สึก
ของผูอ้ ื่นเป็ นลกั ษณะของเด็กขาดวินัยขาดการเคารพตนเองและผูอ้ ื่น(mutual respect) ขาดการ
พจิ ารณา(consideration)ตลอดจนการคิดอยา่ งอิสระ(freedom)เป็นผลใหเ้ ด็กเกิดภาวะความคบั ขอ้ ง
ใจเก็บกดไวใ้ นจิตไร้สานึกแสดงออกมาในรูปแบบของการพ่ึงยา(depend on) ปฏิเสธความจริง
(denial)และยา้ ยที่(displacement)ไม่สามารถควบคุมตนเองไดต้ นตอ้ งปลดปล่อยพลงั งานออกมา
ในรูปของการควบคุมผอู้ ่ืน(manipulation behavior) ในท่ีสุด

อุบล นิวตั ิชยั (2536) ไดอ้ ธิบายกลไกการเกิดพฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การ ไวว้ า่ เนื่องมาจากบุคคลมี
พ้ืนฐานการพฒั นาการเรื่องความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคลไม่ดีขาดฐานความรู้สึกในการเคารพความ
ตอ้ งการของตนอยา่ งขาดความยตุ ิธรรม เป็ นการเสริมความรู้สึกมนั่ คง และความปลอดภยั ในการ
ดารงชีวติ ( self security)ตามท่ีหวนั่ ไหวอยตู่ ลอดเวลา

คณาจารยส์ ถาบนั พระบรมราชนก(2541) กล่าวถึงกลไกการเกิดพฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การไวว้ า่
ในวยั เด็กบุคคลจะถูกเล้ียงดูในลกั ษณะของการถูกควบคุมให้อยใู่ นอานาจ เช่นผูป้ กครองบงั คบั
เขม้ งวดให้ปฏิบตั ิตามความตอ้ งการของพ่อแม่ โดยไม่ยึดความถูกตอ้ งหรือเกณฑ์ของสังคมหรือ
อาจถูกพ่อแม่ตามใจจนไม่รู้จกั ขอบเขตของการยบั ย้งั เด็กจะเติบโตข้ึนมาดว้ ยพฤติกรรมท่ีบงการ
พ่อแม่ และครูอาจารยโ์ ดยทางตรงหรือทางออ้ ม เช่นในวยั เด็กตอ้ งการสิ่งใดก็จะตอ้ งเอาให้ได้ ถา้
ไม่ไดเ้ ดก็ จะหาวธิ ีการและเรียนรู้หนทางท่ีจะใหบ้ ุคคลอื่นทาตามท่ีตนตอ้ งการ

ในรายที่มีอาการรุนแรงอาจจะต้องได้รับการบาบัดในโรงพยาบาล ซ่ึงมกั จะได้รับการ
วินิจฉัยโรคว่าเป็ นบุคลิกภาพแปรปรวนแบบต่อตา้ นสังคม พวกน้ีจะต่อตา้ นพวกที่มีอานาจเหนือ
ตนจะไม่ชอบและรังเกียจการทาโทษ ท้งั น้ีเน่ืองจากรู้สึกไม่ปลอดภยั และวิตกกงั วลเมื่อตอ้ งเผชิญ
กบั ผมู้ ีอานาจหรือภาวะท่ีตอ้ งพ่งึ พาตนเองซ่ึงสรุปไวใ้ นแผนภูมิไดด้ งั น้ี

แผนภูมิลาดบั การเกิดพฤติกรรมควบคุมผอู้ ื่นหรือเจา้ ก้ีเจา้ การ
เหตุส่งเสริม

ไม่รู้จกั ยบั ย้งั ชง่ั ใจ

แสวงหาวธิ ีการตอบสนองตนเอง

ไดร้ ับการตอบสนอง ไม่ไดร้ ับการตอบสนอง

รู้จกั เกณฑ์ ลาดบั การเกิดพฤติกรรม ควบคุมผอู้ ่ืน

พฤติกรรมเหมาะสม ยดึ ความพอใจ วิตกกงั วลเม่ือตอ้ ง สนองตนเองแบบ ต่อตา้ นผมู้ ีอานาจ

ถูกตอ้ ง ของตนเอง พ่ึงพาตนเอง ไม่เหมาะสม เหนือตน

การประเมินสภาวะของพฤตกิ รรมควบคุมผู้อ่ืนหรือเจ้ากเี้ จ้าการ
ฉวีวรรณ สัตยธรรม(2541) กล่าวว่าการท่ีบุคคลรู้สึกต่อตา้ นขดั ขืนผูท้ ่ีอานาจเหนือกว่าตน

เพราะวา่ ตอ้ งการพ่ึงพาผอู้ ื่น แต่วิธีการพ่ึงพาท่ีเกิดพร้อมกบั ภาวะวิตกกงั วลน้นั ทาใหก้ ารแสดงออก
ของตนเป็นแบบฉบบั การวางอานาจเหนือผอู้ ื่น ซ่ึงมีลกั ษณะการแสดงออกดงั น้ี

1. อารมณ์ มักจะควบคุมอารมณ์โกรธไม่ได้ ทนต่อความผิดหวงั ไม่ได้อารมณ์มีการ
เปล่ียนแปลงเร็วอาจจะมีอารมณ์เศร้าแต่ไม่ใช่ความรู้สึกผิด อารมณ์ขนั มกั จะเกิดจากการทาให้
ผอู้ ื่นเดือดร้อน เช่นการกล่าวตาหนิ หรือเสียดสีผอู้ ื่น

2. พฤติกรรมชอบการทาลายอาจเกิดแบบกะทันหัน อาจมีการฆ่าตวั ตาย หรือแสดง
พฤติกรรมรุนแรงขาดการยบั ย้งั มกั จะพบว่าทาผิดกฎหมายบ่อยๆไม่รู้ผิดชอบชวั่ ดีอาจจะพูดจา
สุภาพมีเหตุผลแต่พฤติกรรมไม่เปล่ียนตามที่พดู หรือสญั ญาไว้

3. การดูแลสุขภาพ บุคคลผูน้ ้ีจะไม่รักตนเองมักจะพบว่าติดสุรา สารเสพติด แสดง
พฤติกรรมทางเพศผดิ ปกติ

4. การมีสัมพนั ธภาพกบั ผอู้ ื่น มีสมั พนั ธภาพกบั ผอู้ ื่นไดย้ ากและการแสดงพฤติกรรมเจา้ ก้ี
เจา้ การจะเพ่ิมข้ึนถา้ ถูกปฏิเสธหรือทาโทษหรือเม่ือไม่มนั่ ใจว่าตนเองจะสามารถทาตามความ
ตอ้ งการของตนได้ เม่ือไดท่ีสามารถบงการผูอ้ ื่นหรือแสดงอิทธิพลเหนือผูอ้ ่ืนได้ จะทาให้รู้สึก
พอใจและเป็นมิตรกบั ผทู้ ่ียอมให้บงการ มกั จะต้งั ตวั เป็ นหวั หนา้ กลุ่ม ชอบยแุ หย่ ชอบการทะเลาะ
วิวาทตอ้ งการมีอภิสิทธ์ิเหนือผอู้ ่ืน

แนวปฏิบัตใิ นการดูแลผู้ป่ วยทม่ี พี ฤติกรรมเจ้ากเี้ จ้าการ
อุบล นิวตั ิชยั (2536) กล่าววา่ การพยาบาลผปู้ ่ วยพฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การควรปฏิบตั ิใน2ทางคือ

1. การป้องกันพฤติกรรมเจ้าก้ีเจ้าการ การป้องกันควรเร่ิมต้งั แต่การฝึ กหัดอบรมเด็ก
ดงั น้นั พยาบาลจึงควรเสนอแนะให้ความรู้แก่ประชาชนทวั่ ไป เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจถึงวิธีการปลูกฝังนิสัย
ที่เหมาะสมของบุตร โดยเฉพาะในเร่ืองของการเคารพสิทธิของผอู้ ื่น และของตนเอง การใหค้ วาม
รักความอบอุ่นแก่บุตร อยา่ งผทู้ ่ีเขา้ ใจธรรมชาติของชีวิต การฝึ กนิสัยในเรื่องวินยั และการควบคุม
ตนเองและเทคนิคการส่ือความตอ้ งการของตนเองอยา่ งเหมาะสมกบั กาลเทศะ

2. การควบคุมพฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การ ในการดูแลช่วยเหลือผูม้ ีพฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การน้นั
สิ่งแรกท่ีพยาบาลควรตระหนักคืออารมณ์ของตนเอง ท้งั น้ีเน่ืองจากพฤติกรรมของผูป้ ่ วยหลาย
ลกั ษณะชวนให้พยาบาลเกิดความรู้สึกอบั อายและเกิดอารมณ์ไดง้ ่าย และถา้ พยาบาลเกิดอารมณ์
เหล่าน้ีก็ควรจะมีวิธีควบคุมตนเอง โดยไม่ปล่อยให้ตนตกเป็ นเหยื่อความเจา้ ก้ีเจา้ การของผูป้ ่ วย
ข้นั ตอนต่อไปก็คือประเมินสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนว่าผูป้ ่ วยเขา้ ใจหรือรู้ตวั แค่ไหนว่าตนไดก้ ระทา

อะไรออกไป จากน้ันก็ควรตรวจสอบความเขา้ ใจจากผูท้ ่ีเก่ียวขอ้ งโดยตรงการพยาบาลผูป้ ่ วย
พฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การน้นั จะตอ้ งร่วมมือกนั เป็ นทีมดว้ ยความสามคั คีและไม่หยบิ ยกข้ึนมาเป็นสื่อ
ใหค้ วามขดั แยง้ เป็นปัญหามากข้ึน

การควบคุมพฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การของผปู้ ่ วยโดยทว่ั ไป มีวิธีปฏิบตั ิดงั น้ี
2.1 การติดต่อให้ความกบั ผูม้ ีพฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การ จะตอ้ งพยายามยึดมน่ั ในกฎระเบียบ

และปฏิบัติด้วยความสม่าเสมอหลีกเล่ียงการต่อรอง การโต้แยง้ เพิ่มความหนักแน่น อดทน
ระมดั ระวงั การล่อหลอกดว้ ยเหตุผลต่างๆท่ีผปู้ ่ วยยกข้ึนอา้ งเพ่อื ตนเอง

2.2 พยายามใช้คาพูดตรงไปตรงมา จะให้ผูป้ ่ วยปฏิบัติ อย่างไร ต้องบอกให้ชัดเจน
บางคร้ังจาเป็นตอ้ งใชก้ ารพูดแบบเผชิญหนา้ (confrontation)กต็ อ้ งทาเพ่ือใหเ้ กิดความเขา้ ใจตรงกนั
และระมดั ระวงั การระบายอารมณ์ของพยาบาลสู่ผปู้ ่ วย หรือใชว้ ธิ ีลงโทษเป็นการแกเ้ ผด็

2.3 ป้องกนั การเกิดพฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การโดยมีการกาหนดตารางเวลามีแผนการติดต่อ
กบั ผูป้ ่ วยอยา่ งชดั แจง้ เพ่ือให้ทุกคนปฏิบตั ิตามเวลา ตามตาราง เป็ นการหลีกเล่ียงการต่อรอง ไม่
แสดงตวั ให้เป็ นที่ชื่นชอบ โดยไม่จาเป็ นแก่ผูป้ ่ วยคนใดคนหน่ึงเป็ นพิเศษหรือรับของกานลั ท้งั น้ี
เป็นการปิ ดโอกาสของการขออภิสิทธ์ิ

2.4 สนับสนุนให้ผูป้ ่ วยไดค้ ิด พิจารณาผลกระทบจากการปฏิบตั ิของเขาหลีกเล่ียงการ
วิพากษว์ ิจารณ์ท่ีจะทาใหผ้ ปู้ ่ วยถูกคุกคามและไม่ยอมจานนต่อความเป็นจริง

2.5 ในกรณีผปู้ ่ วยเรียกร้องอยา่ งไม่เหมาะสม ควรลดความสนใจ ใหก้ าลงั ใจและชมเชยถา้
ผปู้ ่ วยสื่อความตอ้ งการของตนเองอยา่ งตรงไปตรงมาและเหมาะสมกบั เหตุการณ์

2.6 ในกรณีท่ีมีการบ่น การเรียกร้องเก่ียวกบั การเจบ็ ป่ วยควรสงั เกตอยา่ งใกลช้ ิดและสรุป
ให้ไดว้ ่าผูป้ ่ วยมีความตอ้ งการเร่ืองอะไรแฝงอยู่ จะไดต้ อบสนองความตอ้ งการให้ตรงเร่ืองและ
สอนใหผ้ ปู้ ่ วยใหใ้ ชช้ ีวิตตรงไปตรงมาแทน

2.7 พยายามใหค้ วามเสมอภาคกบั ผปู้ ่ วยทุกคน ในการเอ้ืออานวยความสะดวก

บรรณานุกรม
คณาจารยส์ ถาบนั พระบรมราชนก. (2541). การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช. พมิ พค์ ร้ังที่3.

นนทบุรี: ยทุ ธรินทร์การพมิ พ.์
ฉววี รรณ สตั ยธรรม. ( 2541) การพยาบาลจติ เวช และสุขภาพจิต. พิมพค์ ร้ังท่ี 3. นนทบุรี:

ยทุ ธรินทร์การพิมพ.์
นงคราญ ผาสุก.( 2535). หลกั การพยาบาลจิตเวช. กรุงเทพมหานคร: สุพรการพมิ พ.์
แผ จนั ทร์สุข.( 2541) การพยาบาลจติ เวช. สงขลา: วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สงขลา.
สุขภาพจิต, สถาบนั .(2536).มาตรฐานการพยาบาลสุขภาพจติ และจติ เวชเล่มที2่ . พิมพค์ ร้ังที่1.

กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พม์ หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์.
สุวนีย์ ก่ิงแกว้ .(2544). แนวคดิ พืน้ ฐานทางการพยาบาลจิตเวช. พมิ พค์ ร้ังที่3.พษิ ณุโลก:

คณะพยาบาลศาสตร์มหาวทิ ยาลยั นเรศวร.
อุบล นิวตั ิชยั .(2536). เอกสารการสอนชุดวชิ า กรณเี ลือกสรรการพยาบาลมารดาทารกและ

การพยาบาลจติ เวช. หน่วยท่ี10-15 เร่ืองพฤติกรรมที่เป็นปัญหาทางจิตอารมณ์และ
การพยาบาล. นนทบุรี: สานกั พมิ พส์ ุโขทยั ธรรมาธิราช.

ที่ หวั ขอ้ เรื่องเล่า

1 ประเมินผทู้ ่ีมีพฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การ สมศรี : หาสมคั รพรรดพวก,ช่างฟ้อง

พรทิพย์ : พฤติกรรมพดู มาก,ยงุ่ ทุกเร่ือง

ละเอียด : ช่างฟ้อง,ฟ้องทุกอยา่ ง

ศุภลกั ษณ์ : ทาตวั เป็นหวั หนา้ หอ้ ง

ประไพ : เรียกร้องมาก,เรียกร้องเกินกวา่ เหตุโดยไม่

คานึงถึงความเดือดร้อนของผอู้ ่ืน,มีนิสยั แอบฟัง

เจา้ หนา้ ท่ีพูด,บริหารจดั การผอู้ ื่น แสดงการเจ็บป่ วยทาง

กาย เพอื่ ใหเ้ จา้ หนา้ ที่ตอ้ งไปดูแลโดยใชค้ วามออ่ นแอ

เป็นตวั ต่อรองใหท้ าตามท่ีตอ้ งการ ,ประเมินจากอาชีพ

เช่น ตารวจ จะแสดงบทบาทตามท่ีเคยปฏิบตั ิก่อนป่ วย

บุญเรียม : แนะนาเพ่อื น,ทุบตีเพอื่ น

ลาวลั ย์ : ทาตวั เหนือผอู้ ื่น,สง่ั การผอู้ ่ืน

ชุลีพร : ยแุ หยเ่ พอื่ น,ไม่ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ

พกิ ลุ สุขทา : จากการเล้ียงดูของครอบครัวโดยมารดา

หรือผปู้ กครองจดั การทุกเร่ือง

พกิ ลุ : มีนิสยั เอาเร่ืองคนโนน้ มาเล่าคนน้ี เอาเร่ืองคนน้ี

ไปเล่าคนโนน้

เพญ็ ศรี : เรียกร้องใหท้ าเพอ่ื ประโยชนข์ องตน จดั การ

แทนเจา้ หนา้ ที่

ฉววี รรณ์ : ชอบแกม้ ดั ใหผ้ ปู้ ่ วยอ่ืน,ชอบอาสา เจอมาก

ในผปู้ ่ วยลมชกั

จรรยา : จดั การแทนเจา้ หนา้ ที่ เช่น เจอผปู้ ่ วยอื่นมี

อาการจะลอ็ กคอทนั ที ตอนเชา้ ปลุกผอู้ ื่นทากิจวตั ร

จิตรลดา : สาคญั ตวั ผดิ ส่วมมากผปู้ ่ วยอยขู่ า้ งนอกและ

ช่วยงานตึก

สารภี : ต่ืนเชา้ ๆช่วยจดั ถาด ถา้ ผอู้ ่ืนทาแทนจะเอาถาด

มาจดั ใหม่

ท่ี หวั ขอ้ เรื่องเล่า

ดารัฐ : มกั เจอในผปู้ ่ วยแมนิค อวดร่าอวดรวยทาตวั

เหมือนเจา้ หนา้ ที่

ปลดา : แตกต่างจากผปู้ ่ วยกา้ วร้าว มีพฤติกรรมข่มขู่

บงั คบั เพื่อน สีหนา้ แววตาไม่เป็นมิตร กา้ วร้าวเพอื่ นจะ

แสดงพฤติกรรมเหมือนผปู้ ่ วยGlander

ผอ่ งพิศ: บงั คบั เพือ่ นโดยการกระทา,คาพูด พยายาม

ออกคาสัง่ ทาตวั เป็นหวั หนา้ ทะเลาะเบาะแวง้

ศรีกญั ญา : ผปู้ ่ วยจะมีความรู้ จะถามกฎระเบียบ

อุดมศกั ด์ิ : ออกคาสง่ั เลียนแบบ อาสาแทนเจา้ หนา้ ที่

อุบลรัตน์ : เสียงดงั เรียกร้องสิทธ์ิ ข่มข่ผู ปู้ ่ วยอ่ืน

บุปผา : ถา้ เป็นผปู้ ่ วยเก่ามาหลายคร้ังจะทาตวั เป็นผคู้ ุม

วราภรณ์ : เสียงดงั แสดงออกทางน้าเสียง มีพฤติกรรม

กา้ วร้าวตามมา

อาพชั รินทร์ : ช่างพดู ฉอเลาะเจา้ หนา้ ที่ ทาหนา้ ที่แทน

เจา้ หนา้ ท่ี เตือนเจา้ หนา้ ที่ใหท้ างานตามตารางเวลา

ธญั ญากร : เอาเร่ืองของเจา้ หนา้ ที่อีกคนหน่ึงมาฟ้องกบั

เจา้ หนา้ ที่ ที่มีบทบาทสูงกวา่ ในกรณีท่ีเจา้ หนา้ ท่ีทาไม่

เหมาะสม ไม่ถูกตอ้ ง หรือตนเองไม่ถูกใจ

เสาวลกั ษณ์ : แสดงอานาจเหนือผอู้ ื่น แสดงออก 2

ลกั ษณะ คือ คาพดู และกริยาท่าทาง ถา้ ไม่สามารถ

จดั การดว้ ยตนเองไดจ้ ะใชค้ นท่ีมีอานาจเหนือกวา่ เช่น

ฟ้องเจา้ หนา้ ที่

กญั ญา : เจอจากพฤติกรรมเจา้ ก้ีเจา้ การของผปู้ กครอง

จะอา้ งวา่ เคยคน้ จาก Internet วา่ จะตอ้ งทาอยา่ งไร

(อวดรู้)

ที่ หวั ขอ้ เร่ืองเล่า

2 การจดั การผปู้ ่ วยท่ีมีพฤติกรรมเจา้ ก้ี กญั ญา : เงียบๆ มองอยหู่ ่างๆ สงั เกตพฤติกรรมต่อ

เจา้ การ ยอมรับพฤติกรรมน้นั จากการอบรมเดก็ วยั รุ่น ใชว้ ธิ ี

นง่ั สมาธิ ฝึกการหายใจ ในผปู้ ่ วยปัญญาอ่อนที่ชอบ

จดั การมอบหมายงานใหท้ า ใหเ้ ป็น Model ในช่วง

แรกๆจะไม่ไดผ้ ล แต่จะดีข้ึนใน section ท่ี5,6

กาญจนา : ช้ีแจงใหข้ อ้ มูล บทบาทของผปู้ ่ วยใหช้ ดั เจน

วา่ เจา้ หนา้ ท่ีเขามีหนา้ ท่ีอยแู่ ลว้ ส่งต่อเวร บอกให้

หวั หนา้ ตึกทราบกจ็ ะไดผ้ ลมากข้ึน เพราะไม่สามารถ

ไปจดั การในเวรอื่นได้

เสาวลกั ษณ์ : บอกกฎเกณฑข์ อ้ บงั คบั ระเบียบการอยู่

ร่วมกนั มอบหมายใหด้ ูแลผปู้ ่ วยที่ช่วยตนเองไม่ไดโ้ ดย

เสริมความมีคุณค่าในตนเอง เสริมแรงโดย ชมเชยเม่ือ

เขาทาไดเ้ หมาะสมอยใู่ นกติกา/ถา้ เขาทนไม่ได้ (ใช้

เพ่ือนไม่ทา) ใหบ้ อกเจา้ หนา้ ท่ี โดยใชพ้ ฤติกรรมบาบดั

และทาขอ้ ตกลง

ปลดา : ผปู้ ่ วยปัญญาอ่อน ใหข้ อ้ มูลซ้าๆ มีขอ้ ตกลงถา้

ไม่สามารถจดั การพฤติกรรมได้ จะใหอ้ ยรู่ ะเบียงหลงั

เพือ่ ใหเ้ กิดการเรียนรู้ และตอ้ งใหต้ ามขอ้ ตกลง ถา้ ไม่ทา

ตามขอ้ ตกลงกใ็ หอ้ ยหู่ อ้ งแยก,ฉีดยา โดยวางเง่ือนไข

เป็ นระบบ

เพญ็ ศรี : ในผปู้ วย Epilepcy เอาแต่ใจตวั เอง ประชด

ประชนั เรียกร้อง วางแผนร่วมกบั นกั จิตวิทยา ในการ

ดูแลจนผปู้ ่ วยเขา้ ใจ,ยอมรับในพฤติกรรมท่ีเป็นปัญหา

และวางแผนปรับอารมณ์พฤติกรรม โดยหา้ มปราม,

ใหน้ บั 1-10 ,นง่ั สมาธิ,คิดในทางบวก ในช่วงแรกๆจะ

ทาไดย้ าก หลงั จากน้นั ประเมินร่วมกบั นกั จิตวิทยา

นกั จิตนดั ผปู้ ่ วยคุย นดั ทาครอบครัวทาครอบครัวบาบดั

ท่ี หวั ขอ้ เรื่องเล่า

ผอ่ งพศิ : บางคร้ังกใ็ ชพ้ ฤติกรรมเจา้ กเ้ จา้ การใหเ้ ป็น

ประโยชน์ โดยมอบหมายงานใหท้ า เช่น ทาความ

สะอาดหอ้ งน้า เพ่ือใชเ้ วลาใหห้ มดไป ไม่ใชเ้ วลาไป

เจา้ ก้ีเจา้ การผอู้ ื่น “ใชว้ กิ ฤตใหเ้ ป็นประโยชน์”

ถนอมศรี : ช้ีแจงใหท้ ราบถึงกฎระเบียบ บทบาทหนา้ ที่

ของผปู้ ่ วย บทบาทหนา้ ท่ีของเจา้ หนา้ ท่ี ช้ีแจงเจา้ หนา้ ที่

ไม่ใหเ้ สริมพฤติกรรมแสดงออกทางลบ ใหแ้ รงเสริม

ทางบวกถา้ มีพฤติกรรมทางบวก ถา้ มีพฤติกรรมทาง

ลบกม็ ีการลงโทษ

ธญั ญากร : ใชพ้ ฤติกรรมบาบดั ทากลุ่มเพอื่ นช่วยเพอ่ื น

โดยใชก้ ลุ่มเป็นตวั สะทอ้ น,ตดั สินใหป้ รับเปลี่ยน,ลด

พฤติกรรมโดยหอ้ งแยก,ฉีดยา หาแนวทางกบั ผปู้ ่ วย

และเจา้ หนา้ ท่ีไดผ้ ล 80%

บุปผา : ทีมงานเจา้ หนา้ ที่ตกลงกนั โดยตอ้ งปฏิบตั ิให้

เหมือนกนั ไปในแนวทางเดียวกนั

อุบลรัตน์ : เขียนช่ือท่ีกระดาน o.k. เวรบอกเวลาในการ

จดั การจดั การพฤติกรรมไวช้ ดั เจน ช่วยไดบ้ างส่วนโดย

สงั คมบาบดั (โดยผา่ นที่ประชุมทีม)

อุดมศกั ด์ิ : ใชพ้ ฤติกรรมบาบดั มองลึกถึงจิตใจใหร้ ู้จกั

ตนเอง เกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมเพราะเขา้

ใจความตอ้ งการท่ีแทจ้ ริงของตนเอง มอบหมายงานให้

ทาในขอบเขต ใหพ้ อดีกบั ศกั ยภาพเพื่อใหอ้ ยใู่ นเกณฑ์

เหมือนคนอื่น ทาจิตบาบดั

จากประสบการณ์ความรู้ของบุคลากรตึกหญิง 2 ตามวนั และ เวลา ดงั น้ี

วนั ท่ี 30 สิงหาคม 2551

คุณอานวย นางจนั ทนา เทศวฒั นา พยาบาลวิชาชีพ

นางชุลีพร คนั ธินทระ พยาบาลวชิ าชีพ

คุณลิขิต นางศรีรัตน์ มาเจริญ พยาบาลวิชาชีพ

นางจรรยา ณรงค์ พยาบาลวิชาชีพ

คุณร้อยเรียง นางศรีรัตน์ มาเจริญ พยาบาลวิชาชีพ

ผเู้ ล่าเร่ือง 1. น.ส.เพญ็ ศรี ไชยุ พยาบาลวชิ าชีพ

2. น.ส.ประไพ ทยายทุ ธ พยาบาลวิชาชีพ

3. นางพิกลุ สุขทา พยาบาลวชิ าชีพ

4. นางสารภี คุม้ รักษ์ พยาบาลวิชาชีพ

5. น.ส.ฉวีวรรณ แสงสุวรรณ์ พยาบาลวชิ าชีพ

6. น.ส.พวงรัตน์ ภูพ่ ิชญาพนั ธ์ พยาบาลวิชาชีพ

7. นางศุภลกั ษณ์ เทือกสุบรรณ พยาบาลวชิ าชีพ

8. นางกลั ยา เพช็ รสุข พยาบาลวชิ าชีพ

9. นางจิตรลดา ทองดี พยาบาลวชิ าชีพ

10. น.ส.ดารัฐ ไชยชนะ พยาบาลวชิ าชีพ

11. น.ส.พกิ ลุ ระเห็จหาญ ผชู้ ่วยเหลือคนไข้

12. น.ส.ศศินภา กาเดน็ ผชู้ ่วยเหลือคนไข้

13. น.ส.บุญเรียม อกั ษรชื่น ผชู้ ่วยเหลือคนไข้

14. นางลาวลั ย์ นามตาปี ผชู้ ่วยเหลือคนไข้

15. นางชุติมา ปิ่ นสมนาม ผชู้ ่วยเหลือคนไข้

16. นางโสพนา มาฆทาน ผชู้ ่วยเหลือคนไข้

17. นางละเอียด เลิศศกั ด์ิ ผชู้ ่วยเหลือคนไข้

18. นางพรทิพย์ บญุ ซา้ ย ผชู้ ่วยเหลือคนไข้

19. นางญาตา เกษเกสร ผชู้ ่วยเหลือคนไข้

20. น.ส.กลั ยาณี ทิพยบ์ รรพต ผชู้ ่วยเหลือคนไข้

21. นางรัชนิดา บุญปลอ้ ง ผชู้ ่วยเหลือคนไข้

22. นางสมศรี รัตนสุทธิกานต์ ผชู้ ่วยเหลือคนไข้

จากประสบการณ์ความรู้กลุ่มพยาบาลวิชาชีพแต่ละ Ward

1 ต.ค. 51 นดั ประชุมของพยาบาลวิชาชีพแต่ละ Ward

คุณอานวย นางจนั ทนา เทศวฒั นา พยาบาลวชิ าชีพ

นางชุลีพร คนั ธินทระ พยาบาลวชิ าชีพ

คุณลิขิต นางศรีรัตน์ มาเจริญ พยาบาลวิชาชีพ

นางจรรยา ณรงค์ พยาบาลวชิ าชีพ

ผเู้ ล่าเร่ือง 1. นางสุรัตน์ สุภากลุ พยาบาลวชิ าชีพ5 จิตเวชเดก็

2. น.ส.กลั ยา ชูประเสริฐ พยาบาลวิชาชีพ7 จิตเวชเดก็

3. นางวราพร กรดแกว้ พยาบาลวชิ าชีพ7 ตึกหญิง 6

4. นางนิตยา ศรีภิรมยม์ ิตร พยาบาลวิชาชีพ7 ตึกหญิง 6

5. นางผอ่ งพิศ อินทร์วเิ ศษ พยาบาลวิชาชีพ7 ตึกชาย 11

6. นายอุดมศกั ด์ิ สุขภกั ดี พยาบาลวชิ าชีพ7 ตึกชาย 11

7.นางกริณี สังขป์ ระคอง พยาบาลวชิ าชีพ7 ตึกหญิง 5

8. นางถนอมศรี ศรีครินทร์ พยาบาลวชิ าชีพ7 ตึกหญิง 5

9. นางสุภาวดี สมุทรเก่า พยาบาลวชิ าชีพ7 ตึกชาย 3

10. น.ส. ปลดา เหมโลหะ พยาบาลวชิ าชีพ7 ตึกชาย 3

11.น.ส. อุบลรัตน์ ธุลีราช พยาบาลวชิ าชีพ7 ตึกชาย 4

12. นางบุปผา จนั ทร์รุ่งเรือง พยาบาลวชิ าชีพ7 ตึกชาย 1

13. นางศิริพร ชวลิต พยาบาลวชิ าชีพ7 ตึกชาย 12

14. นางกาญจนา รุ่งแกว้ พยาบาลวชิ าชีพ6 ตึกชาย 8

15. นายพิทยา ทองแดง พยาบาลวิชาชีพ6 ตึกชาย 8

16. นางเบญญาภา โดยประกอบ พยาบาลวชิ าชีพ5 ตึกชาย 10

17. น.ส. ประทุมวนั ชยั ยนั ต์ พยาบาลวิชาชีพ6 ตึกชาย 7

18. นางศรีกญั ญา ดีสมทุ ร พยาบาลวิชาชีพ7 ตึกหญิง 7

19. นางเสาวลกั ษณ์ ยมิ้ เย้อื น พยาบาลวิชาชีพ7 ศนู ยเ์ ตรียม

ความพร้อม

20. นายธนั ยากร คงเนียม พยาบาลเทคนิค6 ศูนยส์ าธิต

21. นางอาพฒั ชริน บุญญาธิการ พยาบาลวิชาชีพ7 ตึกชาย 8

22. นางวราภรณ์ สวสั ดิวงค์ พยาบาลวชิ าชีพ6 ตึกชาย 6


Click to View FlipBook Version