The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คลังความรู้จากการจัดการความรู้ของบุคลากรตึกหญิง 7 และ ชาย 1 ในการให้สุขภาพจิตศึกษาแบบ D-METHOD กับผู้ป่วยโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว ปี 2555

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yaowaluxlol, 2021-04-06 01:34:28

การให้สุขภาพจิตศึกษาโรคอารมณ์แปรปรวน แบบ D-METHOD

คลังความรู้จากการจัดการความรู้ของบุคลากรตึกหญิง 7 และ ชาย 1 ในการให้สุขภาพจิตศึกษาแบบ D-METHOD กับผู้ป่วยโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว ปี 2555

Keywords: ฺBipolar,การให้สุขภาพจิตศึกษา,ผู้ป่วยโรคอารม

คาํ นาํ

คู่มือการใหส้ ุขภาพจิตศึกษาในรูปแบบ D-METHOD มีวตั ถุประสงค์เพือให้บุคลากรทีดูแลผปู้ ่ วย
โรคอารมณ์แปรปรวนสองขวั ได้ใช้เป็ นแนวทางในการให้สุขภาพจิตศึกษาแก่ผูป้ ่ วย ญาติทีตอ้ งการการ
ช่วยเหลือทางจิตใจ ก่อนจาํ หน่ายออกจากโรงพยาบาล โดยใหค้ วามรู้ความเขา้ ใจและเพิมทกั ษะในการเผชิญ
ปัญหา ขจดั ความคิด ความเชือทีไม่ถูกตอ้ ง ร่วมกบั การประคบั ประคองจิตใจร่วมดว้ ยใหผ้ ปู้ ่ วยสามารถดูแล
ตนเอง ทาํ หน้าทีทางจิตสังคมและมีคุณภาพชีวติ ทีดีขึน ป้ องกนั อาการกาํ เริบและลดการกลบั มารักษาซาํ ใ
โรงพยาบาล

ขอขอบคุณผเู้ ขา้ ร่วมแลกเปลียนเรียนรู้ ผูท้ รงคุณวฒุ ิทุกท่านทีไดใ้ ห้คาํ แนะนาํ ขอ้ เสนอแนะเพือให้
คู่มือเล่มนีมีความความสมบูรณ์มากยงิ ขึน ซึงจะเป็ นประโยชน์สําหรับบุคลากรของหน่วยงานและผทู้ ีสนใจ
นาํ ไปปรับใช้

บุคลากรตึกหญิง7และตึกชาย1

กนั ยายน 2555

สารบญั

คาํ นํา

บทที 1 บทนํา 1
ความเป็ นมาและความสําคญั 1
วตั ถุประสงค์ 2
ผลทคี าดว่าจะได้รับ 2

บท ที 2 แนวคดิ การให้สุขภาพจิตศึกษา 3
3
โรคอารมณ์แปรปรวนชนิดสองขัว 12
13
ปัญหาในการดูแลผู้ป่ วย 14
16
การพยาบาลผู้ป่ วย 16
22
รูปแบบ D-METHOD 28
30
บท ที 3 แนวทางการให้สุขภาพจิตศึกษาในรูปแบบ D-METHOD 35
38
แผนการสอนที 1 เรืองโรคอารมณ์แปรปรวนชนิดสองขัว 41
45
แผนการสอนที 2 เรืองข้อควรรู้เกยี วกบั ยารักษาโรคอารมณ์แปรปรวนฯ 46
47
แผนการสอนที 3 เรืองสิงแวดล้อมและเศรษฐกจิ 50

แผนการสอนที 4 เรืองการรักษาโรคอารมณ์แปรปรวนชนิดสองขัว

แผนการสอนที 5 เรืองการมีสุขภาพทดี ี

แผนการสอนที 6 เรืองการมาตรวจตามนัด

แผนการสอนที 7 เรืองอาหารผ้ปู ่ วยโรคอารมณ์แปรปรวนชนิดสองขัว

เอกสารอ้างองิ

ภาคผนวก

แบบบนั ทกึ เรืองเล่า

รายชือผ้รู ่วมแลกเปลยี นเรียนรู้

บทที่

บทนํ า

ความเป็ นมาและความสาํ คญั

โรคอารมณ์แปรปรวนสองขวั (Bipolar disorder) เป็ นโรคทีมีความผิดปกติทางอารมณ์ชนิดหนึง
ลกั ษณะสําคญั ของโรค คือ มีความผิดปกติทางอารมณ์สองขวั อย่างเด่นชดั คือ อาจมีอารมณ์เศร้ามาก
ผิดปกติ ร้องไห้ รู้สึกไม่มีคุณค่า มีความคิดอยากตายหรือพยายามฆ่าตวั ตาย สลบั กบั การมีอารมณ์ดีมาก
ผดิ ปกติ รู้สึกเป็นสุข ครืนเครง ขาดความยบั ยงั ชงั ใจ มีความคิดมากมายหรือพรังพรู มีความตอ้ งการทาง
เพศมากขึน มีพฤติกรรมกา้ วร้าว (อรพรรณ ลือบุญธวชั ชยั , 2545) อาการทีเกิดขึนแต่ละช่วงอาจนานครังละ
2-3 สัปดาห์ หรืออาจนานถึง 2- 3 เดือนในบางราย และเป็ นไดห้ ลายครังตลอดชีวิต ปัจจุบนั มีการสํารวจพบ
การป่ วยดว้ ยโรคนีประมาณ 0.3 – 1.5 ของประชากรทวั โลก และมีแนวโนม้ เพิมสูงขึนเป็ นร้อยละ 1 ของ
ประชากร (Stuart et al., 2005) อีกทงั ยงั มีโอกาสเกดเป็ นซาํ ไดบ้ ่อย มากกวา่ ร้อยละ 90 ของผทู้ ีมีอาการครัง
แรกจะกลบั เป็ นซาํ ครังที 2 และร้อยละ 40 -50 ของผูป้ ่ วยจะเกิดการกลบั เป็ นซาํ ครังที 2 ในเวลา 2 ปี อีก
ประมาณร้อยละ 40 ของผูป้ ่ วยจะเกิดการกลบั เป็ นซาํ มากกวา่ 10 ครัง ในตลอดช่วงชีวิต และอีกร้อยละ 10
ของผปู้ ่ วยจะมีอาการเรือรัง ทาํ ให้ความสามารถในการใชช้ ีวิตในสังคมลดลง (Kaplan, & Sadock, 1997)
และองคก์ ารอนามยั โลกยงั จดั ให้เป็ นโรคทีก่อให้เกิดความพิการสูงเป็ นอนั ดบั 6 ของโรคทงั หมด (Wood,
2000)

จากลกั ษณะการดาํ เนินโรคทีเป็ นโรคเรือรัง ส่งผลใหผ้ ปู้ ่ วยมีปัญหาในการปรับตวั ขาดความคิดริเริม
สร้างสรรค์ หรือมีความคิดไม่อย่บู นพืนฐานของความเป็ นจริง ทาํ ใหผ้ ูป้ ่ วยตกอยใู่ นสภาพดอ้ ยความสามารถ
ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ อยใู่ นภาวะทีตอ้ งพึงพาผอู้ ืนและตอ้ งไดร้ ับการดูแล ส่งผลต่อการสูญเสียหน้าที
สัมพนั ธภาพของคู่สมรส อาชีพและคุณภาพชีวิต จากปัญหาการปฏิบตั ิงานในการดูแลผูป้ ่ วยโรคอารมณ์
แปรปรวนสองขวั พบว่า ผูป้ ่ วยมีปัญหาในเรืองการรับประทานยาไม่ต่อเนือง จึงทาํ ให้ผูป้ ่ วยมีโอกาสกลบั
เป็ นซาํ ไดบ้ ่อย และจากการประเมินผปู้ ่ วย ผปู้ ่ วยยงั ขาดความรู้ ความเขา้ ใจ เกียวกบั โรค การบาํ บดั รักษา ซึ
ส่งผลกระทบในการดูแลตนเองของผปู้ ่ วย อยา่ งไรก็ตามจากการทบทวนวรรณกรรมในการดูแลผูป้ ่ วยโรค
อารมณ์แปรปรวนสองขวั พบว่า การให้สุขภาพจิตศึกษา ร่วมกบั การบาํ บดั รักษา สามารถลดอาการกาํ เริบ
และการกลบั เป็ นซาํ ได้ และเพือช่วยใหผ้ ูป้ ่ วยไดม้ ีความพร้อมก่อนจาํ หน่ายออกจากโรงพยาบาล ตึกหญิง 7
และตึกชาย 1 จึงไดใ้ ห้ความสําคญั กบั การให้สุขภาพจิตศึกษาแก่ผปู้ ่ วยโรคอารมณ์แปรปรวนสองขวั ทีรับ
บริการใหเ้ หมาะสมและเกิดประสิทธิภาพ จึงไดจ้ ดั ทาํ คู่มือการให้สุขภาพจิตศึกษาสําหรับผปู้ ่ วยโรคอารมณ์



































-พดู คุยมากผดิ ปกติ พดู เร็ว เสียงดงั

-เปลียนเรืองบ่อย

-หวั เราะง่ายโดยไม่มีเหตุผล

-เจา้ กีเจา้ การ

-กระสบั กระส่าย อยไู่ ม่นิง เคลือนไหวตลอดเวลา

-ความตอ้ งการนอนลดลง(ไม่ใช่นอนไม่หลบั )หมกมุ่นกบั กิจกรรมสนุกสนานเพลิดเพลิน(โดยเนน้
เฉพาะกิจกรรมทีเสียงอนั ตราย)

-มีแผนการมากแต่ขาดการไตร่ตรอง เช่น เอาเงินไปลงทุนทาํ ธุรกิจทีตนเองไม่มีความรู้

-ใชจ้ ่ายเงินฟ่ ุมเฟื อย เช่นซือของโดยไม่ยบั ยงั ชงั ใจ หรือแจกเงินใหค้ นอืน

-หมกมุ่นกบั เรืองทางเพศ แสดงออกทางเพศไม่เหมาะสม

สาเหตขุ องโรคอารมณส์ องขวั

ปัจจุบนั เชือวา่ สาเหตุเป็ นจากปัจจยั ดา้ นชีวภาพ ซึงพบเกียวขอ้ งกบั ปัจจยั ดา้ นพนั ธุกรรมค่อนขา้ งสูง
และเกียวขอ้ งกบั สารเคมีในสมอง ในแง่ของสารสือนาํ ประสาทในสมองหลายตวั โดยพบวา่ ในระยะทีมี
อารมณ์เศร้า มีสารสารสือนาํ ประสาทนอร์อิพเิ นฟรินและซีโรโทนินลดลง และในระยะอารมณ์คลงั มีนอร์
อิพิเนฟรินสูง

การรกั ษา

รับไวร้ ักษาในโรงพยาบาลในรายทีอาการรุนแรง เช่น กา้ วร้าว ทาํ ลายขา้ วของมีอาการโรคจิต
หรือไม่พกั ผอ่ น รบกวนคนในครอบครัวหรือผอู้ ืน ญาติควบคุมพฤติกรรมไม่ได้

ยาหลกั ใน การรักษา ไดแ้ ก่ ลิเทียม ใหข้ นาด 600-900 มก./วนั โดยให้ระดบั ยาในเลือดอยรู่ ะหวา่ ง
0.8-1.4 mEq/ลิตร ในรายทีมีอาการมากในช่วงแรกจาํ เป็ นตอ้ งใหย้ ารักษาโรคจิต หรือยาในกลุ่มเบนโซไดอะ
ซีปี นในขนาดสูงร่วมไปดว้ ย เพือควบคุมพฤติกรรม ลดอาการวนุ่ วาย กา้ วร้าว เมืออาการดา้ นอารมณ์ลดลงจึง
ค่อยๆ ลดยารักษาโรคจิตลงจนหยดุ ผปู้ ่ วยอารมณ์คลงั ทีมีอาการโรคจิตร่วมดว้ ยนนั ตอ้ งใหก้ ารรักษาดว้ ยยา
รักษา โรคจิต และลดยาลงเมือหายอาการเช่นกนั

หลงั จากผปู้ ่ วยอาการกลบั สู่ปกติแลว้ ใหล้ ิเทียมต่อไปอีก 3-4 เดือน แลว้ ลดยาลงจนหยดุ ในผปู้ ่ วยที
มีประวตั ิเคยเป็นมาแลว้ 2 ครังขึนไป ควรใหก้ ารรักษาแบบดูแลต่อเนือง เพอื ป้ องกนั การเกิดโรคซาํ โดยม
ระยะเวลาทีใหค้ วรนานอยา่ งนอ้ ย 2 ปี ขึนไป
ปัจจยั ทที าํ ใหป้ ่ วยซาํ

ปัจจยั ทางดา้ นจิตใจและสังคมเป็นปัจจยั เสริม หรือตวั กระตุน้ ใหเ้ กิดอาการเช่น
1. ความเครียด เช่น เครียดจากงาน เครียดจากปัญหาเศรษฐกิจ เครียดต่างๆ นาๆ และเครียดใน
ความสัมพนั ธ์ เช่นการสูญเสียคนทีตวั เองรัก ซึงขอ้ นีคนรอบขา้ งจะตอ้ งคอยเป็ นกาํ ลงั ใจให้
2. การอดนอน เพราะการอดนอนทาํ ใหส้ ารเซโรโตนิน ถูกเผาไป การอดนอนมีหลายสาเหตุ เช่น
หมกมุ่นสนใจอยกู่ บั สิงใดสิงหนึงมากจนเกินไป
3. การใชย้ า อยา่ งเช่น บางคนอยากลดนาํ หนกั จึงตอ้ งใชย้ า โดยยานนั กลบั ไปส่งผลต่อระบบประสา
จนเป็นโรค Bipolar
การป้ องกนั และการดูแลตนเอง
1. เรืองการพกั ผอ่ น นอนใหเ้ พยี งพอ กาํ หนดเวลานอนและเวลาตืน แลว้ ปฏิบตั ิใหไ้ ด้ นอนใหไ้ ด้ 8
ชวั โมง
2. การออกกาํ ลงั กาย ควรออกกาํ ลงั กายใหไ้ ดอ้ ยา่ งนอ้ ยสัปดาห์ละ 3 วนั ขึนไป ครังละประมาณ 30
นาทีทาํ ใหร้ ่างกายแขง็ แรงแลว้ บุคลิกดี มีความวอ่ งไว
3. อาหารรับประทานใหถ้ ูกสุขลกั ษณะ รับประทานใหพ้ อดี หลีกเลียงสิงทีทาํ ลายสุขภาพ เช่น
แอลกอฮอล์ เหลา้ เบียร์ ไวน์ อาหารหมกั ดอง อาหารมนั จดั จนเกินไป
4. การมีวนิ ยั ในการรักษาและรับประทานยาอยา่ งสมาํ เสมอ

สญั ญานเตือนในการกลบั มาป่ วยซาํ
-แบบแผนการนอนหลบั ผดิ แปลกไป คือจะไม่ยอมนอน หรือนอนมาก

เกินไป
-นิสยั ในการดาํ เนินชีวติ เปลียนแปลงไป
-แสดงพฤติกรรมแปลกๆ
-กงั วลและอ่อนไหวมากเกินไป
-มีสีหนา้ และนาํ เสียงแปลกๆ

แผนการสอนที่ 2

ขอ้ ควรรูเ้ กียวกบั ยารกั ษาโรคอารมณแ์ ปรปรวนสองขวั (M=Medicine)

เนือหา
1.ยาทีใชร้ ักษาโรคอารมณ์แปรปรวนสองขวั
2.ระยะเวลาในการรักษาดว้ ยยา
3.อาการขา้ งเคียงและการจดั การ
4.การปฏิบตั ิตวั ขณะไดร้ ับยารักษาโรคอารมณ์แปรปรวนสองขวั
5.ขอ้ ควรระวงั ในการใชย้ า

วตั ถุประสงค์
เพือใหผ้ ปู้ ่ วย
1.มีความรู้เกียวกบั เรืองยาทีใชใ้ นการรักษาโรคอารมณ์แปรปรวนสองขวั อาการขา้ งเคียงจากยาและ

การจดั การ
2.เห็นความสาํ คญั ของการรับประทานยาและร่วมมือในการรับประทานยาอยา่ งต่อเนือง

สาระสาํ คญั
ในปัจจุบนั ความกา้ วหนา้ ทางการแพทยท์ าํ ใหส้ ามารถรักษาโรคนีใหห้ ายขาดได้ เพราะ ตน้ ตอของ

โรครู้ไดช้ ดั วา่ เกิดจากปัจจยั ทางชีววทิ ยาดา้ นสารเคมีในสมอง เมือทราบวา่ สารเคมีตวั ไหนขาดหรือมีมาก
เกินไปแพทยจ์ ะแกไ้ ขตรงจุดโดยใหย้ าไปควบคุมสารเคมีตวั นนั กบั ผปู้ ่ วย โดยแพทยจ์ ะใหค้ วามมนั ใจกบั
ผปู้ ่ วย วา่ ถา้ หากมีวนิ ยั ในการรักษาและรับประทานยาอยา่ งสมาํ เสมอจะสามารถกลบั มาใชช้ ีวติ ไดต้ ามปกติ



































ต่อไปยงั โรงพยาบาลชุมชน หรือโรงพยาบาลอาํ เภอ จากโรงพยาบาลชุมชนก็ส่งต่อไปยงั โรงพยาบาล
ทวั ไป จากโรงพยาบาลทวั ไป ส่งต่อไปยงั โรงพยาบาลศนู ยห์ รือโรงพยาบาลสวนสราญรมย์

แผนการสอนที่ 7

เรอื งอาหารผปู้ ่ วยโรคอารมณแ์ ปรปรวนสองขวั (D=Diet)

เนือหา

การรับประทานอาหารให้เหมาะสมกบั โรค

การหลีกเลียงการใชส้ ารเสพติด

วตั ถุประสงค์

เพอื ใหผ้ ปู้ ่ วย

1.มีความรู้ความเขา้ ใจสามารถนาํ ไปใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม

2.มีความรู้ความเขา้ ใจเกียวกบั ภยั จากสารเสพติด

สาระสาํ คญั

เรืองของการเจบ็ ป่ วยเป็นเรืองของทีหนีกนั ไม่พน้ ในชีวติ เรา แต่เมือเกิดแลว้ ทุกคนก็อยากหายเร็ว
ไม่มีผลแทรกซอ้ นหรือพิการจากการเจบ็ ป่ วย อาหารการกินก็เป็นเรืองสาํ คญั ในยามเจบ็ ป่ วย ถา้ ละเลยไม่เอา
ใจใส่ในเรืองนีก็อาจซาํ เติมโรคภยั ไขเ้ จบ็ ทีเป็นอยแู่ ลว้ ใหเ้ ลวร้ายยงิ ขึนได้ การรับประทานอยา่ งถูกตอ้ ง
เพอื ใหไ้ ดร้ ับสารอาหารทีสาํ คญั และจาํ เป็นเพียงพอ ถูกสัดส่วน และเหมาะสมกบั โรคทีเป็นอยแู่ ลว้ ก็จะมี
ส่วนรักษาหรือบรรเทาอาการของโรคทีเป็ นอยู่ ตลอดจนป้ องกนั ไม่ใหเ้ กิดโรคขาดสารอาหารร่วมอยดู่ ว้ ย
แลว้ อาหารดียอ่ มบาํ บดั ความผดิ ปกติดงั กล่าวได้












Click to View FlipBook Version