The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีต่อการบริหารของมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by social study, 2021-05-19 23:54:02

13-นายเปรมศักดิ์ กัสนุกา

ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีต่อการบริหารของมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

รายงานการศกึ ษาอสิ ระทางสงั คมศึกษา

เรอื่ ง
ความพึงพอใจของนิสติ สาขาวิชาสงั คมศกึ ษาท่มี ตี ่อการบรหิ ารของมหาวิทยาลยั

มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น

โดย

นายเปรมศักดิ์ กัสนกุ า
รหัส ๖๐๐๕๕๐๒๐๔๐
ช้นั ปีท่ี ๔ สาขาวิชาสังคมศกึ ษา คณะครศุ าสตร์

รายงานการศึกษาอิสระเปน็ สว่ นหนงึ่ ของรายวชิ า การศึกษาอสิ ระทางสังคมศกึ ษา
สาขาวิชาสงั คมศึกษา ( ๒๐๓ ๔๒๐) ภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓
หลกั สูตรพทุ ธศาสตรบ์ ณั ฑิต สาขาวชิ าสังคมศกึ ษา คณะครุศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย
วิทยาเขตขอนแก่น

แบบอนมุ ัตผิ ลงานวิจัย

ด้วยสาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วทิ ยาเขตขอนแก่น อนุมตั ิให้นับการวิจยั เร่อื ง ความพึงพอใจของนิสติ สาขาวิชาสงั คมศึกษาที่มีต่อการ
บริหารของมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแก่น

ให้เปน็ สว่ นหนึ่งของการศึกษาภาคปฏิบัติรายวิชาการศกึ ษาอิสระทางสงั คมศึกษา จำนวน ๓
หน่วยกิต ตามวัตถุประสงค์หลักสูตรปริญญาพุทธศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา
คณะครศุ าสตร์

ประจำภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

ลงชอ่ื .......................................................ผู้วจิ ยั
(........................................................)
............../........................./...............

คณะกรรมการประเมนิ /อนุมัติ การศกึ ษาอสิ ระทางสังคมศกึ ษา

ลงชอ่ื ...............................................อาจารย์ท่ีปรึกษา/กรรมการ
(........................................................)
............../........................./...............

ลงชอื่ ...............................................อาจารย์/กรรมการ
(........................................................)
............../........................./...............

ลงชื่อ...............................................อาจารย์/กรรมการ
(........................................................)
............../........................./...............

ลงชื่อ...............................................อาจารย/์ กรรมการ
(........................................................)
............../........................./...............

ลงชอื่ .........................................ประธานหลกั สตู ร/ประธานกรรมการ
(........................................................)
............../........................./...............

ชอื่ งานวจิ ยั : ความพึงพอใจของนิสติ สาขาวชิ าสงั คมศกึ ษาท่ีมตี ่อการบรหิ ารของ
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตขอนแก่น
ผวู้ จิ ยั : นายเปรมศักดิ์ กสั นุกา
พุทธศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาสงั คมศกึ ษา
ปริญญา :
อาจารย์บญุ ส่ง นาแสวง
อาจารย์ทป่ี รกึ ษา :
๒๕๖๓
ปกี ารศกึ ษา :

บทคัดยอ่

การวิจัยครัง้ น้ี เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) มีวัตถุประสงค์ เพื่อ
ศึกษาความพงึ พอใจของนสิ ติ สาขาวิชาสังคมศกึ ษาที่มีตอ่ การบรหิ ารของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวจิ ัยครั้งนี้ คือ นิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษา
คณะครุศาสตร์ ระดับปริญญาตรี ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตขอนแกน่
ชั้นปีที่ ๑ - ๔ จำนวน ๙๒ รูป/คน เครื่องมอื ทีใ่ ช้ในการวิจยั แบบสอบถาม สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์
ขอ้ มูล ค่าร้อยละ , คา่ เฉลีย่ , ค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีต่อการบริหาร ของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง
เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรยี งจากมากไปหาน้อย พบว่า ดา้ นการบรหิ ารงานดา้ นวิชาการ อยู่ใน
ระดับปานกลาง รองลงมาคือ ด้านสิ่งส่งเสริมสนับสนุนการเรียน อยู่ในระดับปานกลาง,ด้านการ
บริหารงานสำนักงานวิทยาลัยสงฆ์ อยู่ในระดับปานกลาง,ด้านการบริหารงานดา้ นกิจการนิสิต อยู่ใน
ระดับนอ้ ย,ด้านการบริหารงานด้านงานทะเบียนและวัดผล อยู่ในระดับน้อย,ด้านการบริหารงานดา้ น
การเงนิ และการคลงั อยใู่ นระดับนอ้ ย และ ด้านการบริหารงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอยู่ในระดับ
นอ้ ย

กิตติกรรมประกาศ

รายงานการวจิ ยั เรอื่ ง ความพึงพอใจของนสิ ิตสาขาวิชาสงั คมศึกษาท่มี ีต่อการบริหารของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ฉบับนี้สำเร็จลุล่วงได้เป็นอย่างดี ซ่ึง
ได้รับความอนุเคราะห์จากอาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์บุญส่ง นาแสวง ผศ.อนุสรณ์ นางทะราช
ประธานหลักสตู รสาขาสงั คมศกึ ษา และ อาจารย์พันทวิ า ทบั ภมู ี ผ้เู ชย่ี วชาญท่ไี ด้สละเวลาตรวจสอบ
ความถกู ต้องของเครื่องมือการวิจยั และคณะอาจารยป์ ระจำสาขาวิชาสังคมศึกษา ท่ีได้กรุณาให้ความ
ช่วยเหลือ ให้ความรู้ ความคิดเห็น คำแนะนำ ให้คำปรึกษาตลอดจนการตรวจสอบแก้ไขข้อบกพรอ่ ง
ต่าง ๆ เป็นอย่างดีจนรายงานการวิจัยในครั้งนี้เสร็จสมบูรณ์ ซึ่งผู้วิจัยขอขอบคุณในความกรุณาเปน็
อย่างสูง

ขอขอบคณุ นิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษา ชั้นปีที่ ๑ - ๔ และมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแก่น ทอ่ี ำนวยความสะดวกในการเก็บรวบรวมข้อมลู ในระหวา่ งการทำวจิ ยั
ให้คำแนะนำ และแกไ้ ขขอ้ บกพร่องใหง้ านวจิ ัยน้สี มบูรณ์ยง่ิ ขึน้

ขอขอบคุณผ้ทู ีม่ ีส่วนเกี่ยวข้องทกุ ท่านทีท่ ำให้รายงานการวิจยั ครงั้ นสี้ ำเร็จดว้ ยดี

นายเปรมศกั ดิ์ กัสนกุ า
ผูว้ จิ ยั

๒๖ เมษายน ๒๕๖๔

สารบัญ หนา้

เรื่อง ก

บทคดั ยอ่ ค
กติ ตกิ รรมประกาศ ง
สารบญั จ
สารบัญตาราง
สารบัญแผนภาพ ๑

บทที่ ๑ บทนำ ๑

๑.๑ ความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหาการวจิ ยั ๓
๑.๒ วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย ๔
๑.๓ ขอบเขตของการวิจยั ๔
๑.๔ นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะในการวิจยั
๑.๕ ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รับ ๕

บทท่ี ๒ แนวคิด ทฤษฎี และงานวจิ ยั ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ๗
๒.๑ หลักการแนวคิดความพงึ พอใจ ๘
๒.๒ ทฤษฎที ี่เกยี่ วขอ้ งความพงึ พอใจ ๙
๒.๓ หลักการแนวคดิ การบรหิ ารองคก์ ร ๑๓
๒.๔ ทฤษฎที ่ีเก่ยี วข้องกับการบริหาร ๑๘
๒.๕ งานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้อง
๒.๖ กรอบแนวคิดในการวจิ ัย ๑๙
๑๙
บทท่ี ๓ ระเบยี บวธิ ีวจิ ยั ๑๙
๓.๑ รูปแบบการวิจยั ๒๐
๓.๒ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ๒๑
๓.๓ เครื่องมอื และการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวจิ ยั ๒๑
๓.๔ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ๒๒
๓.๕ การวเิ คราะหข์ ้อมูล
๓.๖ สถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั

สารบญั (ตอ่ )

บทท่ี ๔ ผลการศึกษาวิจัย ๒๓

๔.๑ ขอ้ มูลทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถามความพึงพอใจของนสิ ติ สาขาวิชาสงั คมศกึ ษา ๒๔

ที่มีตอ่ การบริหาร ของมหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแก่น

๔.๒ ความพึงพอใจของนิสติ สาขาวชิ าสงั คมศึกษาทมี่ ตี อ่ การบรหิ ารของมหาวทิ ยาลัย ๒๕

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่

๔.๓ ข้อเสนอแนะความพงึ พอใจของนสิ ิตสาขาวชิ าสงั คมศึกษาท่มี ีตอ่ การบรหิ าร ๓๓

ของมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่

๕.๔ องคค์ วามรใู้ หม่ ๓๔

บทท่ี ๕ สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ๓๕
๕.๑ สรุปผลการวิจัย ๓๖
๕.๒ อภิปรายผลการวจิ ยั ๓๙
๕.๓ ขอ้ เสนอแนะ ๔๔

บรรณานกุ รม ๔๕

ภาคผนวก ๔๗
ภาคผนวก ก รายช่ือผู้เชยี่ วชาญตรวจสอบควาวเทีย่ งตรงของแบบสอบถาม ๕๑
ภาคผนวก ข ตารางแสดงดัชนคี วามสอดคล้องระหว่างขอ้ คำถามกับวัตถปุ ระสงค์ ๕๔
ภาคผนวก ค เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการวิจัย ๖๐
ภาคผนวก ง ประวตั ผิ วู้ จิ ัย

สารบญั ตาราง

ตารางท่ี หน้า

๔.๑ ขอ้ มลู ทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถามความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสงั คมศึกษา ๒๔

ท่มี ตี อ่ การบรหิ าร ของมหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่
๔.๒ ความพงึ พอใจของนสิ ติ สาขาวิชาสังคมศกึ ษาที่มตี ่อการบรหิ ารของมหาวิทยาลยั ๒๕

มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่
๔.๓ ขอ้ เสนอแนะความพงึ พอใจของนสิ ิตสาขาวิชาสังคมศึกษาทม่ี ตี อ่ การบริหาร ๓๓

ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่

สารบญั ภาพ หนา้

ภาพท่ี ๑๘

ภาพท่ี ๑ กรอบแนวคิดในการวจิ ยั

บทที่ ๑

บทนำ

๑.๑ ความสําคญั และทมี่ าของปัญหาการวิจัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น เป็นวิทยาเขตในสังกัด
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๒๘ พระราชสารเวที (เหล่ว สมุ โน) (สมณ
ศักดิ์สุดท้ายที่ พระธรรมวสิ ุทธาจารย์) เจ้าอาวาสวัดธาตุ (พระอารามหลวง) และรองเจ้าคณะภาค ๔
ความดําริให้จัดตั้งมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ วิทยาเขตขอนแก่น เพื่อเป็น
สถานศึกษาในระดบั อดุ มศึกษาสําหรับพระภกิ ษุสามเณรในจงั หวัดขอนแกน่ ในเขต ปกครองคณะสงฆ์
ภาค ๙ และในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ เมอ่ื ทกุ อย่างมคี วามพร้อมจงึ เสนอเรื่องขออนุมตั กิ ารจัดต้ังไป
ยังมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้อนุมัติให้จัดตั้ง
วิทยาเขตขอนแก่นเมื่อวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๒๘ ตามหนังสือที่ ๗๑๔/๒๕๒๘ ลงวันที่ ๑๒ ธันวาคม
๒๕๒๘ ซึ่งลงนามโดย พระมหานคร เขมปาลี (สมณศักดิ์สุดท้ายที่ พระราชรัตนโมล)ี เลขาธิการมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (ตําแหน่งในขณะนั้น) โดยใช้ชื่อเป็นทางการว่า “มหาจุฬาลงกรณราช
วทิ ยาลยั ในพระบรมราชูปถมั ภ์ วิทยาเขตขอนแกน่ ”มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั มคี ําสง่ั ท่ี ๘ ลงวันท่ี
๒๗ มีนาคม ๒๕๒๙ แต่งตัง้ ให้พระราช สารเวที เป็นผู้รักษาการตําแหน่งรองอธกิ ารบดี และแต่งต้ังให้
พระมหาโสวิทย์ โกวิโท เป็นผู้รักษาการ ตําแหน่งคณบดีคณะพุทธศาสตร์ และมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ต่อมาเนื่องจากมีพระภิกษุ สามเณร คฤหัสถ์ ในท้องถิ่นและประเทศ
ใกล้เคียงสนใจสมัครเข้าศึกษาเป็นจํานวนมาก อาคารเรียนที่มีอยู่เดิมที่วัดธาตุฯ ไม่เพียงพอต่อการ
จัดการเรยี นการสอน พระ ครูสิริสารธรรม เจ้าคณะตําบลโคกสี จึงให้ใช้ที่ดินโคกสร้างหล่ม วัดป่าศรี
เจริญธรรม เปน็ ท่ีต้งั วทิ ยา เขตแห่งใหม่ ประกอบด้วย อาคารเรียน อาคารหอสมุดสารสนเทศ อาคาร
สถานีวิทยุกระจายเสียงและอาคารหอประชุมและเมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๐ สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกมุ ารี ทรงเปดิ ป้ายมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขต
ขอนแก่น ตําบลโคกสี อําเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น และทรงเปิดป้ายอาคารหอสมุด
สารสนเทศ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสณมหาเถร) เมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ปีพุทธศักราช
๒๕๕๐ วิทยาเขตขอนแก่น ได้ขยายทที่ ําการจาก วดั ธาตุ ตาํ บลเมอื งเก่า อาํ เภอเมืองขอนแกน่ จังหวัด
ขอนแกน่ มาต้ังอยู่ ณ เลขที่ ๓๐ หมู่ที่ ๑ ถนนขอนแกน่ -น้ำพอง ตาํ บลโคกสี อําเภอเมืองขอนแกน่



มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น มุ่งผลิตบัณฑิต
หลากหลายหลักสูตรและสาขาวิชาคณะพุทธศาสตร์ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.)
ประกอบด้วยสาขาวิชาพระพุทธศาสนา สาขาวิชาปรัชญา หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พธ.ม.)
ประกอบดว้ ย สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา สาขาวชิ าปรัชญา หลกั สูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พธ.ด.)
ประกอบดว้ ย สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา สาขาวชิ าปรชั ญา คณะครุศาสตร์ หลกั สตู รครุศาสตรบัณฑิต
(ค.บ.) ประกอบด้วย สาขาวิชาสังคมศึกษา สาขาวิชาการสอนภาษาไทย หลักสูตรพุทธศาสตร
มหาบัณฑิต (พธ.ม.) สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา คณะสังคมศาสตร หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต
(ร.บ.) ประกอบด้วย สาขาวิชารัฐศาสตร์ หลักสูตรรัฐ ประศาสนศาสตรบัณฑิต (รป.บ.) สาขาวิชารัฐ
ประศาสนศาสตร์ หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.) ประกอบด้วยสาขาวิชานิติศาสตร์ รัฐ
ประศาสนศาสตรบัณฑิต (รป.ม.) สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ หลักสูตรพุทธ
ศาสตรบณั ฑติ (พธ.บ.) ประกอบด้วยสาขาวชิ าภาษาองั กฤษ สาขาวิชาพุทธบริหาร การศกึ ษาโดยผลิต
ท้ังระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก การขยายตัวของหลักสูตรและสาขาวิชา รวมทัง้ จํานวน
นิสิต ที่เป็นพระภิกษุสงฆ์และคฤหัสถ์ ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในปีที่ผ่านมา ปัจจุบันจําเป็นท่ี
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่นต้องให้การเท่าเทียมสำหรับนสิ ิต ที่เป็น
พระภิกษุสงฆ์และคฤหัสถ์ ทั้งภาคปกติ และ กศ.พป. ให้บริหารอย่างเป็นกันเองและเสมอภาค การ
ดูแลเอาใจใส่นิสิตและสนองความต้องการ ด้วยความเป็นมิตร ความสะดวกรวดเร็ว การมีกิริยาวาจา
สุภาพ มีการบริหารจัดการได้อย่างรวดเร็วดทันท่วงที มีผลที่ออกมาของการบริหารที่ชัดเจนเป็นตน้
เพื่อใหส้ อดรับกับความต้องการของนสิ ติ การเรียกร้องที่มากขึ้นของนสิ ิตอาจจะส่งผลดใี ห้มหาลยั มีการ
จดั การบรหิ ารส่วนตา่ งๆ ให้ทัน วอ่ งไว มีชัดเจนด้านการบรหิ ารเพมิ่ มากขน้ึ เพราะมหาวทิ ยาลัยท่ีครบ
องค์ประกอบและมีคุณภาพนั้นต้องมีการยอมรับความคิดเห็นนิสิตในทุกๆ ด้าน พัฒนาให้ทันกับยุค
สมัยในปจั จุบัน๑

ในปัจจุบันเป็นหนึ่งในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่เป็นส่วนราชการสังกัดกระทรวงการ
อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือ อว. เป็นหน่วยงานราชการส่วนกลางประเภท
กระทรวงของไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริม สนับสนุน และกำกับการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร์ การวิจัย และการสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อการพัฒนาประเทศให้เท่าทันกับการ
เปลี่ยนแปลงของโลก กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมเกิดจากการรวม
หน่วยงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติเข้าด้วยกัน โดยในการประชุม
คณะรัฐมนตรีเมื่อวันอังคารที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่ประชุมเห็นชอบให้นาย สมคิด จาตุศรี
พิทักษ์ รกั ษาการในตำแหน่งรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม
กระทั่งวันพุธที่ ๑๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษาได้เผยแพร่พระบรมราชโองการโปรด
เกล้า ฯ แต่งตั้งนาย สุวิทย์ เมษินทรีย์ ให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา

๑ คูม่ อื เขา้ ศกึ ษาตอ่ ระดบั ปริญญาตรี ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย
วทิ ยาเขตขอนแกน่ .(ห้างหนุ้ สว่ นจำกัด ขอนแก่นการพมิ พ์ พมิ พ์คร้งั ท่ี ๑ , ๒๕๖๒),หน้า ๑๕.



วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมคนแรก มีสังกัดส่วนราชการระดับกรม ๖ หน่วยงาน และ
สถาบนั อดุ มศึกษาของรฐั ทมี่ ีฐานะเป็นนติ บิ ุคคลและมีระเบยี บบรหิ ารราชการตามกฎหมายว่าด้วยการ
จัดตง้ั สถาบนั อุดมศึกษานน้ั ๆ ไดแ้ ก่ สำนกั งานรฐั มนตรี สำนกั งานปลดั กระทรวง กรมวิทยาศาสตร์
บริการ สำนักงานปรมาณูเพ่ือสันติ สำนกั งานการวิจัยแห่งชาติ ศูนย์ปฏบิ ตั ิการฉุกเฉินด้านวิจัยและ
วชิ าการ โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ สถาบันอุดมศกึ ษาของรัฐท่ีเป็นสว่ นราชการ

เพื่อเป็นการมุง่ สู่มหาวทิ ยาลยั วิทยาเขตระดับที่มาตรฐานสูงขึน้ ต้องมีการบริหารจดั การ
ในด้านต่างๆ ของมหาลัยยอมรับข้อบกพร่อง ยอมรับความคิดเห็นของนิสิต เพื่อนำไปพัฒนาในด้าน
ต่างๆของมหาวิทยาลยั น้นั มอี งคป์ ระกอบดงั น้ี การบรหิ ารงานด้านสำนักงานวทิ ยาลัยสงฆ์ การบริหาร
ด้านวิชาการ การบริหารด้านกิจการนิสิต การบริหารด้านอาคารสถานที่ การบริหารงานในด้าน
ทะเบียนและวัดผล การบริหารงานดา้ นการเงิน หรือการบริหารในด้านอื่นๆ เพื่อเป็นที่พึง่ พอใจของ
นิสิตบุคลากร ที่เป็นพระภิกษุสงฆ์และคฤหัสถ์ ตามพันธกิจของมหาวิทยาลัย และได้เป็นที่รู้จักของ
นสิ ติ ทสี่ นใจที่จะเข้ามาศึกษามากขน้ึ ทัง้ ทางโลกออนไลน์ การบอกปากต่อปากของ นสิ ติ และบุคลากร
จะทำให้มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น น่าเข้ามาศึกษามากขึ้นกว่า
ปัจจุบัน บางครั้งในการทำงานของเจ้าหน้าที่ก็เกิดข้อบกพร่องบ้าง และการสื่อสารระหว่างนิสิตกับ
เจา้ หน้าท่ีอาจจะมคี วามเข้าใจไมต่ รงกันบ้าง ลา่ ช้าบ้าง ทำให้การทำงานไม่เปน็ ที่พอใจของนิสิต

จากปัญหาและสาเหตุที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะศึกษา เรื่อง ความพึง
พอใจของนิสติ สาขาวชิ าสังคมศกึ ษาทีม่ ีต่อการบรหิ ารของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั
วิทยาเขตขอนแก่น เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนิสิตในด้านการบริหารงานในด้านต่างๆของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น และเพื่อเสนอแนะต่อผูบ้ ริหารในการ
ปรบั ปรงุ แก้ไขในการพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น ตอ่ ไป

๑.๒ วัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย

- เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีต่อการบริหารของ
มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตขอนแกน่

๑.๓ ขอบเขตการวจิ ยั

๑.๓.๑ ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
- กลมุ่ ประชากรใชใ้ นการวจิ ยั คร้งั น้เี ป็นนสิ ิตสาขาวิชาสงั คมศึกษา คณะครุศาสตร์ ระดับ
ปรญิ ญาตรี ของมหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น จำนวน ๑๑๘ รูป/คน
(ข้อมูลจากฝายทะเบียน ณ วันท่ี ๑๖/๐๒/๒๕๖๔)
- กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์
ระดับปริญญาตรี ของมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่ จำนวน ๙๒ คน
โดยการเปิดตารางของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, ๑๙๗๐ อ้างใน ธีรวุฒิ เอกะกุล,
๒๖๔๓) ตารางนี้ใช้ในการประมาณค่าสัดส่วนของประชากรเช่นเดียวกัน และกําหนดให้สัดส่วนของ
ลักษณะที่ สนใจในประชากร เท่ากับ ๐.๕ ระดบั ความคลาดเคลื่อนทย่ี อมรับได้ ๕% และระดับความ
เชือ่ มนั่ ๙๕% ผู้วิจยั ได้เลอื กโดยวธิ ีเฉพาะเจาะจง ดงั นี้



นสิ ติ สาขาสังคมศกึ ษาชั้นปีที่ ๑ จำนวน ๒๕ รูป/คน โดยเลอื ก ๒๓ รปู /คน
นสิ ิตสาขาสังคมศกึ ษาชั้นปที ี่ ๒ จำนวน ๒๑ รปู /คน โดยเลือก ๑๙ รปู /คน
นสิ ิตสาขาสงั คมศึกษาชนั้ ปีท่ี ๓ จำนวน ๒๙ รูป/คน โดยเลือก ๒๖ รปู /คน
นสิ ิตสาขาสังคมศกึ ษาชน้ั ปที ี่ ๔ จำนวน ๒๖ รปู /คน โดยเลอื ก ๒๔ รูป/คน

๑.๓.๒ ขอบเขตด้านเนือ้ หา
- ขอบเขตของเน้อื หาท่ีศึกษา ได้แก่ ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีต่อ
การบรหิ ารมหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น
- ผู้วิจยั ได้ทำการศกึ ษาวิจัยเอกสาร ตำรา และงานวิจัยทีเ่ ก่ยี วขอ้ งความพึงพอใจของนสิ ติ
สาขาสงั คมศกึ ษาทีม่ ีต่อการบรหิ ารมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น
๑.๓.๓ ขอบเขตด้านพืน้ ที่
- มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่
๑.๓.๔ ขอบเขตด้านระยะเวลา
- การวิจัยครงั้ น้ี ผู้วจิ ัยไดใ้ ช้ระยะเวลาในการดำเนินการวิจยั ประมาณ ๕ เดือน คือ
ระหว่างเดอื น พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ – มนี าคม ๒๕๖๔

๑.๔ นิยามศพั ท์ในการวจิ ยั

๑.๔.๑ ความพงึ พอใจ หมายถงึ ความรู้สึกทแี่ สดงถงึ ความชอบของนิสติ มหาวิทยาลยั
มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ที่มตี อ่ การบรหิ ารงานสำนกั งานภายในมหาวิทยาลัย
มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น

๑.๔.๒ การบรหิ าร หมายถึง กระบวนการของการวางแผน การจัดองค์การ การสัง่ การ
และการควบคมุ กำลังความพยายามของสมาชกิ ขององคก์ าร และใช้ทรพั ยากรอื่น ๆ เพอ่ื ความสำเร็จ
ในเปา้ หมายขององค์การทีก่ ำหนดไว้

๑.๔.๓ นสิ ติ หมายถงึ นสิ ติ ระดับปรญิ ญาตรี คณะครุศาสตรส์ าขาสงั คมศึกษา

๑.๕ ประโยชน์ที่คาดว่าจะไดร้ ับ

๑.๕.๑ ได้ทราบความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีต่อการบริหาร
มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

๑.๕.๒ ไดเ้ สนอแนวทางการบรหิ ารมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขต
ขอนแกน่

บทท่ี ๒

แนวคิด ทฤษฎี และงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวข้อง

การค้นควา้ วจิ ยั อสิ ระครงั้ น้ี เร่อื ง ความพึงพอใจของนิสติ สาขาวชิ าสังคมศึกษาที่มีต่อการ
บริหารของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ผู้ศึกษาจะได้นำเอาองค์
ความรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมาใช้ประกอบการศึกษาอันจะนำไปสู่ความถูกต้องสอดคล้องกับหัวข้อท่ี
ทำการศึกษาอย่างชัดเจนและตรงประเด็นโดยจะแบง่ การศึกษาออกเป็น ๖ หวั ขอ้ ตามลำดับดังน้ี

๒.๑ หลกั การแนวคดิ ความพึงพอใจ
๒.๒ ทฤษฎที เี่ ก่ยี วข้องความพึงพอใจ
๒.๓ หลักการแนวคดิ การบรหิ ารองคก์ ร
๒.๔ ทฤษฎที ่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การบริหาร
๒.๕ งานวิจัยทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
๒.๖ กรอบแนวคดิ ในการวิจยั

๒.๑ หลกั การ แนวคิดความพงึ พอใจ

หลักการเกีย่ วกบั ความพงึ พอใจ
วฤทธ์ิ สารฤทธิคาม๑ ความพงึ พอใจ หมายถงึ ความรู้สึกหรอื ทัศนคติของบุคคลท่ีมีต่อสิ่ง

ใดสิ่งหน่งึ หรือปัจจยั ต่าง ๆ ทีเ่ กยี่ วขอ้ งความรสู้ ึกพึงพอใจจะเกิดเมื่อความต้องการของบุคคลท่ีมีต่อสิ่ง
ใดส่งิ หน่งึ หรอื ปจั จยั ตา่ ง ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งความรู้สกึ พงึ พอใจจะเกดิ ขนึ้ เม่อื ความตอ้ งการของบุคคลได้รับ
การตอบสนองหรือ บรรลุตามจดุ มุง่ หมายในระดบั หนงึ่ ความรู้สกึ ดังกลา่ วจะลดลงหรอื ไมเ่ กิดขน้ึ หาก
ความต้องการหรือ จุดมุ่งหมายนั้นไม่ได้รับการตอบสนองความพึงพอใจต่อการใช้บริการจึงเป็น
ความร้สู กึ ของผู้ทมี่ ารับ บรกิ ารมตี ่อสถานบริการตามประสบการณ์ทีไ่ ด้รับจากการเข้าไปติดต่อขอรับ
บรกิ ารในสถานบริการน้ัน ๆ

๑ วฤทธิ์ สารฤทธิคาม, ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บรกิ ารขององค์การบริหารส่วนตาํ บล :
กรณีศกึ ษาองค์การบรหิ ารส่วน ตาํ บลดอนงัว อาํ เภอบรบอื จงั หวัด มหาสารคาม, วิทยานิพนธ์บริหารธรุ กิจ
มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการจดั การทัว่ ไป (บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช, ๒๕๔๘ ), หนา้ ๓๑.



แนวคิดเกีย่ วกับความพึงพอใจ
อรรถพร คําคม ๒ ได้สรุปว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ทัศนคติหรือระดับ ความพึงพอใจ

ของบุคคลต่อกิจการรมต่าง ๆ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพของกิจกรรมนั้น ๆ โดยเกิดจาก
พื้นฐานของการรับรู้ ค่านิยมและประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลจะได้รับ ระดับของ ความพึงพอใจจะ
เกิดข้นึ เมื่อกิจกรรมน้นั ๆ สามารถตอบสนองความตอ้ งการแกบ่ คุ คลน้ันได้

วิรุฬ พรรณเทวี ๓ ไดใ้ ห้ความหมายความพึงพอใจ หมายถงึ ความรู้สกึ ภายในจิตใจของ
มนุษย์ที่ไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลว่าจะคาดหวังกับสิ่งหนึ่งอย่างไร ถ้าคาดหวังหรือมีความ
ตั้งใจมากและได้รับการตอบสนองด้วยดีจะมีความพึงพอใจมาก แต่ในทาง ตรงกันข้ามอาจผิดหวัง
หรอื ไมพ่ ึงพอใจเป็นอย่างยง่ิ เม่อื ไมไ่ ดร้ บั การตอบสนองตามท่ีคาดหวังไว้ ท้ังน้ขี ้นึ อยู่กับสิ่งที่ตนตั้งใจไว้
วา่ มมี ากหรอื นอ้ ย

สุริยะ วิริยะสวัสด์ิ๔ ได้ให้ ความหมายความพึงพอใจหลังการให้บริการของหน่วยงาน
ของรัฐของเขาว่า ระดับผลที่ได้จาก การพบปะ สอดคล้องกับปัญหาที่มีอยู่หรือไม่ ส่งผลดีและสร้าง
ความภูมิใจเพียงใด และสร้าง ความภมู ใิ จเพียงใด

สาโรช ไสยสมบัติ๕ ความพึงพอใจเป็นปจั จัยสําคัญประการหนึ่งที่ช่วยทําใหง้ านประสบ
ผลสําเร็จ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้าเป็นงานที่เก่ียวกับการให้บรกิ าร นอกจากผู้บริหารจะดําเนินการให้
ผู้ทาํ งานเกิดความพงึ พอใจ ในการทํางานแล้ว ยงั จําเปน็ ตอ้ งดาํ เนนิ การท่ีจะทาํ ใหผ้ ู้ใช้บรกิ ารเกิดความ
พงึ พอใจดว้ ยเพราะ ความเจรญิ กา้ วหนา้ ของการบริการเป็นปัจจยั ทส่ี ําคัญประการหน่งึ ทเ่ี ปน็ ตวั บ่งชี้ถึง
จํานวนผู้มาใช้ บริการ ดังนั้นผู้บริหารที่ชาญฉลาดจึงควรอย่างยิ่งที่จะศึกษาให้ลึกซึ้งถึงปัจจัยและ
องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ทีจ่ ะทาํ ให้เกดิ ความพงึ พอใจ ท้ังผ้ปู ฏบิ ัตงิ านและผู้มาใชบ้ รกิ าร

เดวิส (Davis) ๖ กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นกับบุคคล เมื่อ ความต้องการ
พื้นฐานทั้งร่างกายและจิตใจได้รับการตอบสนอง พฤติกรรมเกี่ยวกับความพึงพอใจของ มนุษย์เป็น
ความพยายามที่จะขจัดความตงึ เครียด หรอื ความกระวนกระวายหรอื สภาวะไม่สมดุล ในร่างกายเมื่อ
สามารถขจดั สง่ิ ตา่ ง ๆ ดังกล่าวออกไปได้ มนษุ ยย์ อ่ มจะได้รบั ความพึงพอใจในส่งิ ที่ ตอ้ งการ

๒ อรรถพร คาํ คม, การใหบ้ รกิ ารสินเชอื่ ของธนาคารอาคารสงเคราะห์ : ศกึ ษาจากความคดิ เห็น
ของผใู้ ชบ้ ริการฝ่ายกิจการสาขากรงุ เทพและปริมณฑล, วิทยานพิ นธ์ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวชิ ารฐั ศาสตร์,
(บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, ๒๕๔๖), หนา้ ๒๙.

๓ วริ ุฬ พรรณเทวี, ความพงึ พอใจของประชาชนต่อการใหบ้ ริการของหน่วยงาน
กระทรวงมหาดไทยในอาํ เภอเมอื ง จังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน, วิทยานิพนธศ์ ึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าบรหิ าร
การศึกษา, (บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั เชียงใหม่, ๒๕๔๒), หน้า ๑๑.

๔ สุรยิ ะ วริ ยิ ะสวสั ด์ิ, พฤติกรรมการใหบ้ รกิ ารของเจ้าหนา้ ท่อี งค์การราชการกับปัจจัย
สภาพแวดลอ้ มในเขตเทศบาลเมอื งกาฬสินธ์ุ, วิทยานิพนธร์ ัฐศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาบรหิ ารรัฐกจิ , (บัณฑิต
วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ๒๕๓๐), หน้า ๒๔.

๕ สาโรช ไสยสมบัติ, ความพึงพอใจในการทาํ งานของครอู าจารยโ์ รงเรียนมัธยมศึกษาสงั กัดกรม
สามัญศกึ ษา จังหวัดรอ้ ยเอด็ , วิทยานิพนธก์ ารศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา, (บณั ฑิตวทิ ยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม, ๒๕๓๔), หนา้ ๑๘.

๖ Davis, K. Human Relation at Work: The Dynamic of Organizational Behavior. (New
York: McGraw-Hill, 1967), p. 61.



อเดย์ และแอนเดอรส์ ัน๗ (Aday & Anderson) กล่าวว่า ความพึงพอใจเปน็ ความรสู้ ึก
ความนึกคดิ เห็นท่เี กี่ยวขอ้ งกบั ทัศนคตขิ องคนทเี่ กิดจากประสบการณ์ที่ผรู้ บั บรกิ ารเขา้ ไป ในสถานท่ีท่ี
ใหบ้ รกิ ารนัน้ และประสบการณเ์ ปน็ ไปตามความคาดหวงั ของผู้รบั บรกิ ารและ ความพึงพอใจมากหรือ
น้อยขึ้นอยกู่ บั ปัจจัยท่ีแตกต่างกัน

๒.๒ ทฤษฎีที่เกย่ี วข้องความพงึ พอใจ

ศริ พิ งศ์ พฤทธพิ นั ธุ์และพยัต๘ วฒุ ิรงค์ สรุปประเด็นเกย่ี วกบั ความพงึ พอใจดงั นี้ ๑. ความ
พึงพอใจเป็นการเปรียบเทียบความรู้สึกกับความคาดหวัง ๒. ความพึงพอใจเป็นการเปรียบเทียบ
ความรู้สึกกับสิ่งเร้า ๓. ความพึงพอใจเป็นการเปรียบเทียบความรู้สึกหรือทัศนคติกับสิ่งที่ได้รับ
๔. ความพงึ พอใจเปน็ การเปรยี บเทยี บประสบการณก์ ับการคาดหวัง

กัลธิมา เหลืองอร่าม, นิธิวดี เหลืองอ่อน และปัญญา มั่นบํารุง๙ ได้กล่าวถึง ความพึง
พอใจต่อการให้บริการและการจูงใจวา่ บุคคลสว่ นใหญ่เขา้ ใจว่าเป็นส่ิงเดยี วกนั ซ่ึงในความเป็นจริงแล้ว
ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกต่อการให้บริการ ส่วนการจูงใจมาใช้บริการ นั้นเป็นผลที่เกิดจาก
ความรู้สึก ซึ่งกระตุน้ ใหเ้ กิดพฤติกรรมการใช้บริการความแตกต่างทีเ่ หน็ ได้ ชัดเจนคือ ความพึงพอใจ
เปน็ ทัศนคตทิ ม่ี ีต่อการใหบ้ ริการของบคุ คลในองคก์ ร เป็นเป้าหมาย แตแ่ รงจูงใจนัน้ มีจุดหมาย อย่างไร
กต็ าม ท้ังสองเรอื่ งไมส่ ามารถแยกออกจากกันไดอ้ ยา่ งชดั เจนด้วย

เหตุผล สองประการ คอื ประการทห่ี นึง่ ความพึงพอใจนน้ั เปน็ ความพงึ พอใจทตี่ อบสนอง
สิง่ ที่ชอบหรือไม่ชอบ และเราถอื วา่ คนเราพยายามเข้าใกล้สิ่งท่ีตนพอใจ และความพยายามหลีกเลี่ยง
ห่างสิ่งที่ตนไม่พอใจ ซึ่งเป็นผลให้ความพึงพอใจเชื่อมโยงกับพฤติกรรมในการจูงใจมาใช้บริการ
ประการท่สี อง ทฤษฎีการจงู ใจท้ังหลายอยภู่ ายใต้ข้อสมมตฐิ านในเรือ่ งความพึงพอใจ ซงึ่ หมายความวา่
แต่ละคนจะถูกจูงใจใหม้ ุ่งหาส่งิ ท่ีตนพึงพอใจอนั กอ่ ให้เกิดผลทว่ี า่ ทฤษฎีการจงู ใจ นั้นยังต้องพิจารณา
ในเรื่อง ความพึงพอใจควบคู่ไปด้วยความพึงพอใจมีความหมายโดยทั่วไปว่าระดับความรู้สึกใน
ทางบวกของบุคคลต่อสิ่งใด สิ่งหนึ่งความหมายของความพึงพอใจในการบริการ สามารถจําแนก
ออกเปน็ ๒ ความหมายใน ความหมายท่เี ก่ยี วข้องกบั ความพงึ พอใจผู้บริโภคหรือผู้รบั บรกิ ารและความ
พึงพอในในงานของ ผู้ให้บริการความพึงพอใจในการบริการเกิดจากการประเมินคุณค่าการรับรู้
คุณภาพของการบริการ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์บริการตามลักษณะของการบริการและกระบวนการ
นําเสนอบริการในวงจรของ การให้บริการระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการ ซึ่งถ้าตรงกับสิ่งท่ี
ผรู้ บั บริการมีความต้องการหรือ ตรงกับความคาดหวงั ท่มี ีอยู่หรือประสบการณ์ท่ีเคยได้รับบริการตาม

๗ Aday, L. A. & Anderson, R. (1975). Acess to Medical Care. Ann Arbor,
Michigan:Health Administration Press.(1975), p. 4.

๘ ศริ พิ งศ์ พฤทธพิ นั ธ์ุ และพยตั วฒุ ิรงค์, ปจั จยั ท่สี ง่ ผลต่อความพงึ พอใจของลกู ค้าท่ีมตี ่อคอนกรีต
ผสมเสร็จซแี พค, (จุฬาลงกรณ์วารสาร, ๒๕๔๗), หนา้ ๕๔ – ๗๙.

๙ กัลธมิ า เหลืองอรา่ ม, นธิ ิวดี เหลืองอ่อน และปญั ญา มั่นบาํ รุง, ความพงึ พอใจของลูกค้าตอ่ การ
ให้บริการ ณ จดุ รับฝาก - ถอนของธนาคารพาณชิ ย์ไทย ในเขตกรุงเทพมหานคร, การศึกษาค้นคว้าอิสระการ
จัดการมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการตลาด, วทิ ยาลัยการจัดการ (มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล, ๒๕๔๕), หน้า ๑๘.



องค์ประกอบ ดังกล่าวย่อม นํามาซึ่งความพึงพอใจในการบริการนั้น หากเป็นไปในทางตรงกันข้าม
การรับรู้สง่ิ ทีผ่ รู้ บั บริการ ได้รับจรงิ ไม่ตรงกับการรบั รสู้ ่งิ ท่ีผรู้ ับบรกิ ารคาดหวงั ผรู้ บั บรกิ ารย่อมเกดิ ความ
ไม่พอใจตอ่ ผลิตภัณฑบ์ รกิ ารและนําเสนอบรกิ ารนน้ั ได้

จากแนวคิดของนักวิชาการข้างต้น สรุปว่า ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการคือ ความรู้สึก
อารมณ์ ทม่ี คี วามสขุ ความยนิ ดี ทางจติ ใจท่ีเกดิ ข้นึ เปน็ ผู้รับบริการ ซึ่งความรสู้ ึกดงั กลา่ วเกิดจาก การ
ที่ผู้รับบริการได้รับการตอบสนองความต้องการเป็นผู้ตอบสนองเองหรือผู้อื่นตอบสนองให้ ความพึง
พอใจจะเกดิ ขนึ้ ระดบั ใดขึ้นอยกู่ บั ปรมิ าณการรบั สนองความตอ้ งการท่ีเกิดขึน้ ได้ครบถ้วน เพียงใด เช่น
ความพึงพอใจของผูบ้ รโิ ภคข้นึ อยูก่ ับคณุ ภาพของสนิ ค้าและบรกิ าร

๒.๓ หลกั การแนวคดิ การบริหารองคก์ ร

ความหมายของการบริหาร จะรวมอยู่ในศัพท์สองคำคือการบริหาร (administration)
และการจัดการ (management) ซึ่งคำแรกนิยมใช้ในภาครัฐ คำหลังนิยมใช้ในภาคธุรกิจ จึงเรียก
ผู้บริหารในภาครัฐว่า ผ้บู รหิ าร (administration) และในภาคธุรกจิ เรยี กวา่ ผู้จดั การ (management)
แตต่ ัวสาระหรอื ศาสตร์ทใี่ ช้เป็นเร่อื งเดียวกนั จงึ มกั เรยี กรวมกนั เป็นการบริหารจดั การ

วิโรจน์ สาระรัตนะ๑๐ ได้อธิบายความหมายของการบริหารในเทอมที่เหมือนกัน คือ
การบริหารหมายถงึ กระบวนการวางแผนการจัดองค์กร การนำและการควบคุมบุคคลและทรพั ยากร
ทำงานการบริหารดำเนินงาน ให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และ
ขยายความทรัพยากรขององค์การว่า หมายถึงสินทรัพย์ ได้แก่ บุคคลที่มีความรู้ ทักษะ และ
ประสบการณ์ เครือ่ งจกั รวตั ถดุ บิ คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ สิทธบิ ัตร เงนิ ทุน และลกู ค้า
ท่ีจงรักภกั ดี

การบรหิ ารมีมโนทศั น์สำคัญอกี ๒ ประเดน็ คอื การมีมมุ มองวา่ การบริหารมลี กั ษณะเป็น
ท้งั ศาสตร์และเปน็ ท้งั ศิลป์กับการเปน็ วิชาชีพ อยา่ งแรกความเป็นศาสตร์ (science) หมายถึง ความรู้
และการใช้ความรู้ที่เกิดจากการสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ โดยวิธีการที่เชื่อถือได้ซึ่งได้แก่วิธีการ
ทำงานวิทยาศาสตร์ ท่ีประกอบด้วย การนิยามปัญหา การตั้งสมมุติฐาน การรวบรวมข้อมูล การ
วเิ คราะหข์ อ้ มูลและการสรุปผล ความรู้ดงั กล่าว คือ หลักการและทฤษฎที ม่ี กี ารสร้างและพัฒนาตลอด
มาดงั ทฤษฎีทำงานการบริหารท่ีจะได้กล่าวต่อไปน้ีสาหรับศิลป์ (art) คือ การกระทำหรือพฤติกรรมท่ี
ได้ฝึกฝนจนเกิดความชำนาญหรือมีทักษะ เช่น การสร้างแรงจูงใจ การมีภาวะผู้นำเป็นต้น อีกอย่าง
หนึ่งการบริหารมีลกั ษณะสำคญั ๓ ประการ คือ การมีความรู้และทักษะเฉพาะสาหรับทำงานบรกิ าร
สาธารณะ การมีหลักจริยธรรม หรือ จรรยาบรรณวิชาชีพ ทำหน้าที่ฝึกอบรมสมาชิกใหม่ การออก
ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพ การธำรงพัฒนาวิชาชพี และการกำกบั ดูแล และการปฏบิ ัติงานของสมาชิก

๑๐ วิโรจน์ สารรตั นะ, แนวคดิ ทฤษฎี และประเด็นเพอ่ื การบริหารทำงานการศึกษา, (กรงุ เทพฯ :
ทพิ ย์วิสทุ ธ์ิ, ๒๕๕๕), หน้า ๑.



อนันต์ เกตุวงศใ์ นปี๑๑ ใหค้ วามหมายการบรหิ ารวา่ เป็นการประสานความพยายามของ
มนษุ ย์ (อยา่ งน้อย ๒ คน) และทรัพยากรต่าง ๆ เพอ่ื ทำให้เกดิ ผลตามต้องการ

ติน ปรัชญพฤทธิ์๑๒ มองการบริหารในลักษณะที่เป็นกระบวนการโดยหมายถึง
กระบวนการนำเอาการ ตัดสินใจ และนโยบายไปปฏิบัติ ส่วนการบริหารรัฐกิจหมายถึงเกีย่ วข้องกับ
การนำเอานโยบายสาธารณะไปปฏิบตั ิ

บุญทัน ดอกไธสง๑๓ ให้ความหมายวา่ การบริหาร คือ การจัดการทรัพยากรที่มอี ย่ใู ห้มี
ประสิทธภิ าพ มากท่ีสดุ เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของบุคคล องคก์ าร หรือประเทศ หรือการจัดการ
เพื่อผลกำไรของทุกคนในองค์การ

๒.๔ ทฤษฎีทเี่ กย่ี วข้องกับการบริหาร

เมื่อกล่าวถึงคําว่า การบริหารส่วนใหญ่มักจะนึกถึงการบริหารราชการคําศัพท์ที่ใช้มี ๒
คาํ คอื การบรหิ าร (Administration) นยิ มใชก้ บั การบริหารราชการหรอื การจัดการเกี่ยวกับนโยบาย
ศัพท์อีกคําหนึ่ง คือ การจัดการ (Management) นิยมใช้กับการบริหารธุรกิจเอกชนหรือการ
ดําเนินการตามนโยบายทีก่ ําหนดไว้ อย่างไรกต็ ามคาํ ว่า การบริหารกบั คําว่า การจัดการใช้แทนกันได้
มคี วามหมายเหมอื นกัน

สมคิด บางโม๑๔ ในเอกสารคําสอนเล่มนี้จะใช้สองคํานี้ ปะปนกันตลอดไปตามความ
เหมาะสมจงึ จําเปน็ ที่จะต้องใช้ความรู้ทงั้ ที่เป็นศาสตร์และศิลปะเพอ่ื เอาคนทรพั ยากรมารวมกันแล้ว
อํานวยการใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงค์ตามท่ีตอ้ งการปจั จัยในการบรหิ าร มีองค์ประกอบที่สาํ คัญดงั ตอ่ ไปนี้

๑. คนหรือบุคคล (Man) เป็นปัจจัยสําคัญของการบริหารงาน หน่วยงานหรือองค์การ
ต่าง ๆ จำเป็นต้องมีคนทีป่ ฏิบัตงิ าน ผลงานทด่ี ีจะออกมาไดต้ อ้ งประกอบด้วยบุคคลที่มีคุณภาพและมี
ความรบั ผิดชอบตอ่ องค์การหรอื หนว่ ยงานนนั้ ๆ

๒. เงิน (Money) หน่วยงานจําเป็นที่จะต้องมีงบประมาณเพื่อการบริหารงานหากขาด
งบประมาณ การบริหารงานของหน่วยงานก็ยากท่จี ะบรรลเุ ปา้ หมาย

๓. ทรัพยากรหรอื วัตถุ (Material) การบรหิ ารจาํ เปน็ ตอ้ งมวี ัสดุอุปกรณ์หรอื ทรัพยากรใน
การบริหาร หากหน่วยงานขาควัสดุอุปกรณ์หรือทรัพยากรในการบริหารแล้วก็ย่อมจะเป็นอุปสรรค
หรือก็ให้เกิดปญั หาในการบรหิ ารงาน

๔. การบริหารจัดการ (Management) เป็นภารกิจของผู้บริหารหรือผู้บังคับบัญชา
โดยตรง คือเป็นกลไกและตวั ประสานที่สําคญั ทีส่ ุดในการประมวลผลักดนั และกาํ กบั ปัจจัยต่าง ๆ ทั้ง
๓ ประการ ใหส้ ามารถดําเนนิ ไปได้โดยมปี ระสิทธภิ าพจนบรรลุเป้าหมายของหนว่ ยงานตามท่ี ต้องการ

๑๑ อนันต์ เกตุวงศ์, การบรหิ ารการพฒั นา, (กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพม์ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
๒๕๒๓), หน้า ๒๗.

๑๒ ติน ปรัชญ พฤทธ์ิ, ศพั ท์รัฐประศาสนศาสตร์, (กรงุ เทพมหานคร : สำนกั พิมพจ์ ฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๓๕), หนา้ ๘.

๑๓ บุญ ทัน ดอกไธสง, การจัดองค์การ, (พิมพค์ รงั้ ท่ี ๔, กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์
ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๗), หนา้ ๑.

๑๔ สมคิด บางโม, องคก์ ารและการจดั การ, (กรุงเทพฯ: วิทยพฒั น์. ๒๕๔๖), หน้า ๖๐.

๑๐

นักบริหารและนักวิชาการให้คําจํากัดความของคําว่า การบริหารหรือการจัดการไว้ต่าง ๆ กันตาม
ทัศนะของแตล่ ะบุคคลที่สําคัญไว้ดงั นี้

ความหมายของการบริหารจดั การ เกษม จันทร์แก้ว๑๕ ได้ให้ความหมายว่า การบริหาร
หมายถึง ศิลป การดําเนินการนําวัตถุดิบสู่ระบบด้วยระบบกระบวนการผลิตจนได้ผลผลิตตามท่ี
กําหนดไว้ การบรหิ ารจงึ เป็นการดาํ เนนิ การให้ทุกโครงการทําหน้าที่สมั พันธก์ นั เป็นเร่ืองยากที่จะทํา
ให้เกิด การผสมผสานกันถ้าไม่วางแผนการดําเนินการที่ดี ซึ่งขึ้นอยู่กับผู้บริหารที่วางแผนบริหาร
อย่างไร อย่างไรก็ดี ผู้บริหารมีหน้าที่อํานวยการ (Directing) ตามอํานาจหน้าที่จากหน่วยงาน
(Organizing) ท่เี ป็นผู้รบั ผิดชอบควบคมุ (Controlling) ในการนําแผนงาน (Planning) ท่ไี ดก้ ําหนดไว้
แล้วไปดําเนินการร่วมกันทรัพยากร (Assembling Resource) ทําให้การผลิตหรือการใช้ปัจจัยการ
บรหิ าร (ได้แก่ คน งบประมาณ เครอื่ งมอื อุปกรณ์ สวัสดกิ าร ฯลฯ) กอ่ ให้เกิดผลผลิตขัน้ สุดท้าย

สรุปว่า การบริหารเป็นการดําเนินการที่ผู้บริหารมีหน้าที่ในการสั่งการในการบริหาร
จัดการควบคุมและนําแผนทีก่ ําหนดไว้ไปดําเนนิ การใหแ้ ล้วเสร็จ

นายวิโรจน์ สารรัตนะ๑๖ ได้กล่าวว่า การบริหารเป็นกระบวนการดําเนินงาน เพื่อให้
บรรลุจดุ หมายขององค์การ โดยอาศยั หน้าที่หลักทำงานการบรหิ ารอย่างน้อย ๔ ประการ คือ

๑. การวางแผน
๒. การจดั องคก์ าร
๓. การนําและการควบคมุ
๔. ซึ่งกระบวนการดังกล่าวมีผู้บริหารเป็น ผู้รับผิดชอบที่จะให้มีการปฏิบัติงานเป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การวางแผน (Planning) เป็นหน้าที่ทำงานการบริหารที่สําคญั
ประการหนึ่งซึ่งนักวิชาการ ทั้งหลายกําหนดขึ้น จะเริ่มต้นด้วยหน้าที่ทำงานการวางแผนเป็นอันดับ
แรกจึงแสดงให้เหน็ ถงึ ความสําคัญของการวางแผนเปน็ อย่างดี โดยที่องค์ประกอบของกระบวนการ
วางแผนองค์การหนึ่ง ๆ ประกอบด้วย ภารกิจ จุดหมายและแผน โดยภารกิจเป็นข้อประกาศอย่าง
กว้าง ๆ เกี่ยวกับจุดมุ่งหมาย หรือเหตุผลพืน้ ฐานในการดาํ รงอยู่ขององค์การและขอบข่ายงานเฉพาะ
ขององค์การหรือที่ทําให้องค์การแตกตา่ งจากองค์การอืน่ สําหรับจุดหมายเปน็ เป้าหมายแห่งอนาคต
หรือผลลัพธ์สุดท้ายที่องค์การต้องการให้บรรลุผล ขณะเดียวกันแผนงานหมายถึงวิถีทำงานที่จะ
ก่อให้เกิดการกระทําเพื่อให้ บรรลุผลลัพธ์สุดท้ายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับองค์การการจัดองค์การ
(Organizing) เป็นหน้าที่ทำงานการบริหารที่สืบเนื่องจากการวางแผน กล่าวคือ เมื่อองค์การจัดทํา
จุดหมายและแผนเชิงยุทธศาสตร์แล้ว ผู้บริหารควรต้องออกแบบ โครงสร้างองค์การเพื่อให้การ
บริหารงานบรรลุจุดหมายแผนเชิงยุทธศาสตร์ขององค์การนั้น การออกแบบ โครงสร้างองค์การเปน็
กิจกรรมที่ควรได้รับการตรวจสอบอยู่เสมอเนื่องจากปัจจัยที่ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ
โครงสรา้ งองคก์ ารเกดิ ข้ึนมากมาย

๑๕ เกษม จนั ทร์แก้ว, โครงการสหวทิ ยาการบณั ฑิตศึกษา สาขาวทิ ยาศาสตรส์ ่งิ แวดลอ้ ม, (พิมพ์
ครั้งท่ี ๓ กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, ๒๕๔๖), หน้า ๒๓.

๑๖ วโิ รจน์ สารรตั นะ, การบริหาร หลกั การ ทฤษฎี ประเดน็ ทำงานการศึกษาและบทวเิ คราะห์
องค์การศกึ ษาไทย, (พิมพ์ครงั้ ที่ ๓ กรงุ เทพฯ : พมิ พพ์ สิ ุทธ์, ๒๕๔๕), หนา้ ๓ – ๕.

๑๑

การนํา (Leading) เป็นสภาวะที่ผู้นําใช้ความพยายามที่จะให้มีอิทธิพลต่อผู้อื่นเพื่อให้
การปฏิบัติงานบรรลุจุดหมายขององค์การได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและประสิทธิผล การที่ผู้นําจะเปน็
ผู้นําทมี่ ศี กั ยภาพดังกล่าวไดพ้ งึ ทําความเข้าใจทฤษฎกี ารจูงใจ (Motivation) ภาวะผ้นู าํ (Leadership)
การติดต่อสื่อสาร (Communication) และการบริหารกลุ่ม (Group) เพื่อนําไปประยุกต์ใช้ให้
เหมาะสม การควบคุม (Controlling) เป็นกระบวนการวางระเบียบกฎเกณฑ์เพื่อให้การปฏิบัติงาน
ของ องค์การบรรลุผลตามจดุ หมายที่กําหนดไว้มุ่งให้เกดิ ความมั่นใจว่าสมาชิกในองค์การได้ประพฤติ
ปฏิบัติไปในทิศทำงานที่จะทําให้บรรลุผลตามมาตรฐานการทํางานที่กําหนดไว้เป็นเครื่องมือใน การ
วิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งขององค์การ การเสริมสร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์และพฤติกรรมที่
ไม่พงึ ประสงคข์ องสมาชิกในองค์กร

สรุปว่า การบริหารเป็นกระบวนการดําเนินงานเพื่อให้บรรลุจุดหมายขององค์การต้อง
อาศยั หลักทำงานการบริหาร ๔ ประการ คือ การวางแผน การจัดองคก์ าร การนาํ และการควบคมุ ซึ่ง
กระบวนการดังกล่าวผ้บู รหิ ารเปน็ ผรู้ ับผดิ ชอบท่ีจะทาํ ให้งานเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

สมพงศ์ เกษมสิน๑๗ กล่าวว่า การบริหารนิยมใชก้ บั การบรหิ ารราชการ หรอื การจัดการ
เกี่ยวกับนโยบาย ซึ่งมีศัพท์บัญญัติว่ารัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) และคําว่า การ
จดั การ (Management) นยิ มใชก้ บั การบรหิ ารธุรกิจเอกชนหรอื การดําเนินการตาม นโยบายท่กี าํ หนด
ไว้ สมพงศ์ เกษมสิน ยังให้ความหมายการบรหิ ารไวว้ ่า การบริหารมีลักษณะเด่น เป็นสากลอยู่หลาย
ประการ ดังน้ี

๑. การบริหารยอ่ มมวี ัตถปุ ระสงค์
๒. การบริหารอาศัยปจั จัยบุคคลเปน็ องค์ประกอบ
๓. การบริหารตอ้ งใช้ทรัพยากรการบรหิ ารเปน็ องค์ประกอบพนื้ ฐาน
๔. การบรหิ ารมลี กั ษณะการดําเนินการเปน็ กระบวนการ
๕. การบริหารเปน็ การดําเนนิ การร่วมกนั ของกลุม่ บคุ คล
๖. การบริหารอาศัยความร่วมมือร่วมใจของบุคคล กล่าวคือ ความร่วมใจ (Collective
Mind) จะก่อให้เกิดความร่วมมอื ของกล่มุ (Group Cooperation) อันจะนาํ ไปส่พู ลงั ของกลุ่ม (Group
Effort) ท่จี ะทาํ ใหบ้ รรลวุ ัตถปุ ระสงค์
๗. การบริหารมลี ักษณะการรว่ มมือกันดาํ เนินการอยา่ งมเี หตุผล
๘. การบริหารมลี กั ษณะเปน็ การตรวจสอบผลการปฏิบัตงิ านกบั วัตถปุ ระสงค์
๙. การบรหิ ารไมม่ ตี วั ตน (Intangible) แตม่ อี ิทธิพลต่อความเปน็ อยขู่ องมนษุ ย์
สรุปว่า การบริหารมีลักษณะเด่นเป็นสากล ๙ ประการ ประกอบด้วย วัตถุประสงค์
บุคคล ทรัพยากร กระบวนการดําเนินการ การรวมกันของกลุ่มคน ความร่วมใจ การมีเหตุผล การ
ตรวจสอบ และความเป็นอยู่ของมนุษย์

๑๗ สมพงศ์ เกษมสนิ , การบรหิ าร, (พิมพค์ รงั้ ท่ี ๗. กรงุ เทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๓), หน้า ๕ –
๖.

๑๒

จกั รกริช หมอประกอบ๑๘ สรปุ ไวว้ ่า มีความสําคญั ตอ่ ทาํ งานท่ีมี ประสิทธภิ าพมากหาก
ขาดเสียซ่ึงการบรหิ าร ๔M ทดี่ ใี นข้อหนึ่งข้อใด กจ็ ะทําให้งานนนั้ เกิดอุปสรรค ในการปฏิบัติงานส่งผล
กระทบต่อการปฏิบัติงานในด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องต่อกันและจะทําให้ การทํางานนั้นไม่ตรงตาม
วัตถุประสงค์ของหน่วยงานนั้น ๆ และการทํางานของผู้ปฏิบัติงานเพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพนั้น
ยอ่ มขน้ึ อยกู่ ับความสามารถของผ้บู ริหารหรือผู้บังคบั บัญชาในหนว่ ยงานทม่ี ี กระบวนการบริหารหรือ
การจัดการทดี่ จี ากความหมายดงั กล่าวข้างต้น

การบริหารจัดการจึงเป็น กระบวนการของกิจกรรมที่ต่อเนื่องและประสานงานกัน ซึ่ง
ผูบ้ รหิ ารตอ้ งเข้ามาช่วยเพื่อให้บรรลุ จุดมงุ่ หมายขององคก์ ารประเดน็ สาํ คญั ของการบริหารจัดการจะ
เกี่ยวข้องกบั การเพมิ่ ผลผลติ โดยมุ่งสู่ประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลการนํากระบวนการบรหิ ารมาใช้ใน
โลกยคุ โลกาภวิ ตั น์นเี้ ปน็ การเปิด กวา้ งอยา่ งย่งิ สําหรับผู้บริหารในการบรหิ าร ไม่จําเปน็ จะต้องกาํ หนด
ตายตัวว่าจะใช้เทคนิคใดใช้ กระบวนการใดเพราะมันขึ้นอยกู่ ับสถานการณแ์ ละเป้าหมายของงานเป็น
สําคัญสถานภาพของผ้บู ริหาร เองกจ็ ะเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์และโอกาสเชน่ กนั ผู้บริหารเอง
จะตอ้ งมีความร้จู รงิ ในทุก กระบวนการแตก่ ารท่ีจะนาํ มาใช้นน้ั ขน้ึ อยูก่ ับความเหมาะสมดังกล่าว

กล่าวโดยสรุป การทํางานของผู้ปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพนั้นย่อมขึ้นอยู่กับ
ความสามารถของผู้บริหาร การบริหารจัดการจึงเป็นกระบวนการของกิจกรรมที่ต่อเนื่องและ
ประสานงานกัน ซึ่งผู้บริหารจะต้องเข้ามาเป็นผู้กําหนดตายตัวว่าจะใช้กระบวนการใดขึ้นอยู่กับ
สถานการณแ์ ละเป้าหมายของงานเป็นสาํ คญั ผ้บู รหิ ารจะต้องมีความร้ใู นทกุ กระบวนการท่ีจะนาํ มาใช้
ข้นึ อยู่กับความเหมาะสมและโอกาส

บญุ ทนั ดอกไธสง๑๙ ให้ความหมายว่า การบริหาร คอื การจดั การทรพั ยากร ท่ีมีอยู่ให้มี
ประสิทธิภาพมากท่ีสุดเพื่อตอบสนองความต้องการของบุคคล องค์การหรือประเทศหรอื การจัดการ
เพือ่ ผลกําไรของทกุ คนในองคก์ าร

ฟรีแมน๒๐ กล่าวว่า การบริหาร หมายถึง กระบวนการวางแผน การจัดองค์การ ภาวะ
ผู้นําและการควบคุมการทํางานของสมาชิกขององค์กรและการใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรเพื่อให้
บรรลุเป้าหมายขององคก์ าร

สรุป การบริหารจัดการ หมายถึง การบริหารงานจัดการใด ๆ ที่องค์กรได้ใช้ทรัพยากร
ซึ่งได้แก่ คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ และการจัดการ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ทีอ่ งค์กรได้ตั้งเป้าหมายไว้
หรือศิลปะและกระบวนการการกระทํากิจกรรมอย่างหนึ่งหรือหลาย ๆ อย่างเพื่อให้บรรลุ
วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้โดยใช้คน เงิน วัสดุสิ่งของและการจัดการ การกระทํานั้น ๆ จะ
เป็นไปในทำงานสรา้ งสรรค์ มีการดําเนินการเพ่อื ให้คงอยมู่ กี ารวางแผน การจดั องค์การ การจูงใจ การ
ควบคมุ และการกระทาํ ที่ทาํ ใหเ้ กิดการเป็นอันหน่ึงอนั เดยี วกันอยา่ งมรี ะบบแบบแผน

๑๘ จกั รกรชิ หมอประกอบ, ความคดิ เห็นเก่ยี วกบั ปัจจัยท่มี ีผลตอ่ การปฏบิ ตั ิงานของขา้ ราชการ
ทหารในศูนยอ์ ุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศและพลงั งานทหาร, ปญั หาพิเศษ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารทว่ั ไป, (วิทยาลยั การบริหารรฐั กจิ มหาวิทยาลยั บูรพา, ๒๕๔๗), หนา้ ๑๗ – ๑๘.

๑๙ บุญทนั ดอกไธสง, การจดั องค์การ, (พิมพค์ ร้ังท่ี ๔ กรุงเทพฯ: มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย,
๒๕๓๗), หนา้ ๑.

๒๐ Freeman, R. E. Management. (th ed.). (New Jersey: Practice - Hall, 1992), p. 3.

๑๓

๒.๕ งานวิจยั ที่เก่ียวขอ้ ง

นางสาวพันวนา พัฒนาอดุ มสินค้า๒๑ การวิจยั เร่ือง รูปแบบกระบวนการบริหารท่ีส่งผล
ต่อการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ของสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ผลการวิจัยพบวา่

๑. ตัวประกอบของกระบวนการบริหารที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ได้จากการวิเคราะห์เอก สารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์
ผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า รูปแบบกระบวนการบริหารที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศกึ ษา ข้นั พื้นฐานประกอบดว้ ย ๑๐ ตัวประกอบ ไดแ้ ก่ การวางแผน การจัดองค์การ
การบริหารงานบุคคล การอํานวยการ การกระตุ้นการทำงาน การประสานงาน การควบคุม
การจัดทำงบประมาณการเงนิ การเสนอรายงานและประเมินผล และคุณภาพการศกึ ษา

๒. รูปแบบกระบวนการบริหารที่สง่ ผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พบว่า ตัวแปรสังเกตได้ส่วนใหญ่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ใกล้เคยี งกนั ตวั แปรทม่ี ี คา่ เฉล่ียสูงสุด คอื ตวั แปรการวางแผน รองลงมา คอื การจดั องคก์ าร ส่วนตัว
แปรทมี่ ีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคอื ตัวแปร การบริหารงานบุคคล รองลงมา คือ การควบคุมและการอํานวยการ
ส่วนตัวแปรคุณภาพการศึกษามคี ่าเฉล่ีย ระดับมากเช่นกัน ตัวแปรสังเกตได้ของรูปแบบกระบวนการ
บรหิ ารทสี่ ง่ ผลต่อการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของ สถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานมคี วามสมั พันธก์ ันเปน็ ไปใน
ทำงานเดียวกนั และมีความสัมพนั ธ์กันอย่างมีนยั สําคัญ ทำงานสถิติทรี่ ะดับ ๐.๐๑ ทุกตวั แปร โดยมีค่า
สมั ประสิทธิ์สหสัมพนั ธ์ระหวา่ ง ๐.๗๑๒ - ๐.๙๒๕

๓. ผลการตรวจสอบรูปแบบกระบวนการบริหารที่สง่ ผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของ สถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พบวา่ ผ้ทู รงคุณวฒุ มิ ีความเหน็ ว่า รปู แบบกระบวนการบริหารที่ส่งผลต่อ
การ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่สร้างขึ้นมีความถูกต้องเหมาะสม ความ
เปน็ ไปได้และเปน็ ประโยชน์

รัตน์ชนก พราหมณ์ศิริ๒๒ การวิจัยเรื่อง รูปแบบการบริหารงานวิชาการของ
มหาวิทยาลยั เอกชนสูค่ วามเป็นเลิศกรณีศกึ ษามหาวิทยาลยั พิษณุโลก ผลการวิจัย พบว่า

๑. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันเกี่ยวกบั การบริหารงานวิชาการของมหาวิทยาลัยเอกชน
กรณีศึกษามหาวิทยาลัยพิษณุโลก พบว่าการบริหารงานวิชาการประกอบด้วย ๑) ด้านหลักสูตร ๒)
ด้าน การจัดการเรียนการสอน ๓) ดา้ นการสง่ เสรมิ ควบคมุ งานวิชาการ ๔) ด้านการบรกิ ารทางวิชาการ
๕) ด้าน การวัดผลประเมินผล ๖) ด้านการนิเทศ และ ๗) การพัฒนาอาจารย์ ทั้งในภาพรวมและราย
ดา้ น มีการ ปฏิบตั อิ ยใู่ นระดับมาก

๒๑ นางสาวพนั วนา พฒั นาอุดมสินคา้ , รูปแบบกระบวนการบรหิ ารท่สี ง่ ผลตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพ
การศึกษา ของสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน, ปรัชญาดุษฎบี ัณฑติ สาขาวชิ าการบริหารเพอ่ื การพฒั นาการศกึ ษา
(มหาวทิ ยาลัยราชภฏั กาญจนบุรี, ๒๕๕๗), หนา้ บทคัดย่อ.

๒๒ รตั น์ชนก พราหมณ์ศริ ิ, รูปแบบการบรหิ ารงานวิชาการของมหาวทิ ยาลัยเอกชนสูค่ วามเป็นเลศิ
กรณีศึกษามหาวทิ ยาลยั พิษณโุ ลก, (กรุงเทพฯ: บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยนอรท์ กรงุ เทพ, ๒๕๕๙), หน้า
บทคดั ย่อ.

๑๔

๒. รูปแบบการบริหารงานวิชาการของมหาวิทยาลัยเอกชนสู่ความเป็นเลิศ: กรณีศึกษา
มหาวทิ ยาลยั พษิ ณโุ ลก ประกอบด้วย ๔ องคป์ ระกอบ ดังน้ี

๒.๑ องค์ประกอบที่ ๑ ภารกิจหลักซึ่งประกอบด้วย ๘ องค์ประกอบย่อย ได้แก่ ๑)
หลักสูตร ๒) การจัดการเรียนการสอน ๓) การส่งเสริมการจัดกิจกรรมของรายวิชา ๔) การ
พัฒนาคณุ ภาพวิชาการ ๕) การนิเทศ ๖) การพัฒนาอาจารย์ ๗) การให้บริการวิชาการ และ
๘) การวดั ผลและประเมินผล

๒.๒ องค์ประกอบที่ ๒ การบริหารเชิงกลยุทธ์ระดบั องคก์ าร ซึ่งมี ๖ ขั้นตอน ได้แก่
๑) การ ระบุเปา้ หมาย ๒) การวางแผน ๓) การปฏบิ ัติตามแผน ๔) การสง่ เสรมิ ควบคุมและ
กํากับ ๕) การตรวจสอบ และ ๖) การนําผลการปฏิบัติมาใช้เป็นข้อมูลสําหรับการปรับปรุง
การทํางาน

สาทิตย์ วงค์มีแก้ว๒๓ การวิจัยเรื่อง การพัฒนาศักยภาพครูด้านงานทะเบียนและวัดผล
โรงเรยี นบ้านดงบาก ผลการวิจยั พบวา่

๑. ผลการศึกษาสภาพและปัญหาการปฏิบัติการงานตามระบบงานทะเบียน และวัดผล
โรงเรยี นบ้านดงบาก สังกดั สาํ นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต ๒ ผลการศึกษา

๑.๑ ดา้ นสภาพ พบว่า การจดั ทาํ เอกสารงานทะเบยี นและวัดผล จดั เกบ็ ขอ้ มลู ในรปู
แฟ้มเอกสาร การจัดทําเอกสารงานทะเบียนและวัดผลล่าช้า ไม่เป็นระบบ ไม่ เป็นปัจจุบัน
และไม่ทนั ต่อความต้องการของผู้ใช้บริการ

๑.๒ ด้านปญั หา พบวา่ ครผู ปู้ ฏบิ ตั หิ นา้ ท่งี านทะเบียนและวัดผล ยงั ขาด ความรู้ความ
เขา้ ใจ และทักษะในการใชโ้ ปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงาน ทะเบียนและวัดผล
ใชเ้ วลาในการจดั ทําเอกสารหลกั ฐานงานทะเบยี นและวดั ผลมาก

๒. แนวทางการพฒั นางานทะเบียนและวัดผลโรงเรียนบ้านดงบาก สังกัด สํานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๒ ซึ่งประกอบด้วย ๓ แนวทางคือ การประชุมเชิง
ปฏิบัติการ การปฏิบัติการใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงาน ทะเบียนและวดั ผล และ
การนิเทศ ตดิ ตาม การใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศเพือ่ การบรหิ ารงานทะเบยี นและวัดผล

๓. ผลการตดิ ตามการพัฒนางานทะเบียนและวัดผลโรงเรยี นบ้านดงบาก สงั กดั สาํ นักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๒ พบว่า ครูผู้ปฏิบัติหน้าที่ งานทะเบียนและวดั ผลมี
ความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์ในการปฏิบัติงานทะเบียนและ วัดผลเพิ่มขึ้น การจัดเก็บข้อมูล
เป็นระบบ ข้อมูลเปน็ ปัจจุบนั ตรวจสอบได้ สบื ค้นข้อมูลได้ ง่าย สะดวก รวดเรว็ ทาํ ให้การบรหิ ารงาน
ทะเบยี นและวัดผลมีประสิทธิภาพ ผใู้ ช้บริการ งานทะเบียนและวดั ผลมีความพงึ พอใจอย่ใู นระดบั มาก

๒๓สาทิตย์ วงค์มแี กว้ , การพัฒนาศักยภาพครดู ้านงานทะเบียนและวัดผล โรงเรียนบ้านดงบาก
สังกัดสาํ นักงานเขตพื้นที่การศกึ ษา ประถมศึกษาสกลนคร เขต ๒ การบรหิ ารการศึกษา, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั
สกลนคร, ๒๕๕๙), หนา้ บทคดั ย่อ.

๑๕

๒.๓ องค์ประกอบที่ ๓ วิธีการปฏิบัติงานของแต่ละภารกิจหลัก โดยใช้วงจรบริหาร
คุณภาพ (PDCA) ซึ่งมี ๔ ขั้นตอน คือ การวางแผน (Plan) การปฏิบัติตามแผน (Do) การ
ตรวจสอบการปฏิบตั ิงาน (Check) การปรบั ปรงุ แก้ไข (Act)

๒.๔ องค์ประกอบที่ ๔ ปัจจัยส่งเสริมการบริหารงานวิชาการ ได้แก่ ๑) ภาวะผู้นํา
ของผบู้ รหิ าร ๒) สมรรถนะดา้ นการสอนของคณาจารย์ ๓) ความร่วมมือของคณาจารย์ และ
๔) บรรยากาศทีเ่ ออ้ื ตอ่ การส่งเสรมิ การเรยี นรู้

๓. ผลการประเมนิ รูปแบบการบริหารงานวิชาการของมหาวิทาลัยเอกชนสู่ความเป็นเลิศ
กรณีศกึ ษามหาวิทยาลัยพิษณุโลก ผลการประเมินรูปแบบโดยผู้บริหารในด้านความถูกต้องและความ
เหมาะสมในภาพรวมของแต่ละด้านอยใู่ นระดับมากท่ีสุด และผลการประเมินโดยอาจารย์ประจําและ
อาจารยผ์ สู้ อนเปน็ รายวชิ าในดา้ นความเปน็ ไปได้และความเป็นประโยชน์ในภาพรวมของแต่ละด้านอยู่
ในระดับมาก

เอกรักษ์ ปาร์มวงศ์๒๔ การวิจัยเรอ่ื ง รปู แบบการบริหารการประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
เพือ่ การทํางานของครอู าชีวศึกษาเอกชน ผลการวจิ ัยพบว่า

รูปแบบการบริหารการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการทํางานของ ครู
อาชีวศึกษาเอกชนที่พัฒนาขึ้นเป็นการดาํ เนินการใน ๒ ขั้นตอนใหญ่ ได้แก่ ขั้นตอนการวางแผน ซึ่ง
ประกอบด้วย ๓ องค์ประกอบ คือ การพัฒนานักศึกษา การนําองค์กร และการวางแผนกลยุทธ์ อัน
นําไปสู่ ขั้นตอนที่ ๒ คือ การปฏิบัติ ประกอบด้วย ๔ องค์ประกอบ ได้แก่ การจัดการความรู้ การ
พัฒนาบุคลากร การพัฒนาการปฏิบัติการ และผลลัพธ์จากการดําเนินการ ซึ่งได้ผลลัพธท์ ี่สอดคล้อง
กับเปา้ หมายของ องคก์ ร ส่วนการประเมนิ ความเป็นไปไดใ้ นการนํารูปแบบการบริหารการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการทํางานของครูอาชีวศึกษาเอกชน พบว่า รูปแบบการบริหารจัดการที่
พฒั นาข้นึ ชว่ ยเพิ่มความรู้ ทักษะ ในการใช้เพือ่ การรวบรวมข้อมลู และการนําเสนอข้อมลู สารสนเทศท่ี
ถูกตอ้ ง ส่งผลต่อการบรรลุ เป้าหมายในการดําเนนิ งานทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ ร้อยละ ๙๕

ดวงเดือน เภตรา และคณะ๒๕ การวิจยั เร่อื ง การศึกษาประสิทธิภาพการบริหารการเงินและ
บัญชี ฝา่ ยการเงิน กองนโยบายและแผน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ผลวิจัยพบว่า

ประสิทธิภาพการบริการงานการเงินและบัญชี กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราช
ภัฏรอ้ ยเอ็ด โดยรวมอยใู่ นระดับมาก เมอื่ พิจารณาเปน็ รายดา้ นพบว่า อยู่ในระดับมากทุกดา้ น โดยด้าน
ทมี่ ี ระดับความคิดเห็นต่อประสทิ ธภิ าพสงู ที่สุด คอื ด้านอุปกรณเ์ คร่อื งมอื ท่ีใช้ในการปฏิบัติงาน การ
เปรียบเทียบความคดิ เห็น เกี่ยวกบั ประสิทธิภาพบริการงานการเงินและบัญชี จําแนกตามเพศ พบว่า
ไม่แตกตา่ งกัน การเปรียบเทียบความคิดเห็นจาํ แนก ตามสถานะ พบว่าแตกต่างกันที่ระดับนัยสาํ คญั
ทางสถิติ .๐๑ โดยเจ้าหน้าที่มรี ะดับความคดิ เห็นสงู กวา่ อาจารย์ทั้งความคิดเห็น โดยรวมและรายด้าน
การเปรียบเทียบความคดิ เห็นจําแนกตามอายุ พบวา่ ไมแ่ ตกต่างกัน การเปรยี บเทียบจําแนกตามระดับ

๒๔ เอกรกั ษ์ ปาร์มวงศ์, รปู แบบการบริหารการประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการทาํ งาน
ของครูอาชวี ศึกษาเอกชน, (กรงุ เทพฯ: บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยนอรท์ กรงุ เทพ, ๒๕๕๙), หน้า บทคัดย่อ.

๒๕ ดวงเดอื น เภตรา และคณะ, การศึกษาประสิทธภิ าพการบริหารการเงนิ และบัญชี ฝ่ายการเงนิ
กองนโยบายและแผน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ร้อยเอ็ด, (มหาวทิ ยาลัยราชภฏั รอ้ ยเอ็ด, ๒๕๖๐), หน้า บทคดั ยอ่ .

๑๖

การศึกษา พบว่าโดยรวมแตกต่างกนั ท่ีระดับนัยสําคัญทางสถติ ิ .๐๑ เมื่อพิจารณาเปน็ รายด้านพบว่า
แตกต่างกันทุกด้านที่ระดับ นยั สาํ คญั ทางสถิติ .๐๑

พระมหาณรงค์ศักดิ์ ฐิตญาณเมธี (บัวอ่อน) ๒๖ การวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการ
บริหารงานกิจการนิสิตสมรรถนะสูงของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ผลการวิจัย
พบว่า สภาพการบริหารงานกิจการนสิ ติ ของมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ทัง้ ๓ ดา้ น มี
ความคิดเห็นอยใู่ นระดบั มาก ได้แก่ มกี ารสรา้ งเครือขา่ ยความร่วมมือในทางด้านงานกิจการ นิสิตเพ่ือ
มุ่งสู่ความเป็นสากล ให้บริการดา้ นความรู้และทักษะ มีเครือขา่ ยความร่วมมือในการพัฒนา งานด้าน
กิจการนิสิต จัดทําข้อมูลสารสนเทศงานด้านวินัยนิสิต มีการส่งเสริมและสนับสนุนการ ดําเนินงาน
โครงการหรือกิจกรรมขององค์กรบริหารนิสิต มีการจัดสัมมนานิสิตปฏิบัติศาสนกิจ ๔ ภาค เพื่อ
รวบรวมองค์ความรู้ท่ีได้รับจากการปฏิบัตศิ าสนกิจ ส่งเสริมและสนับสนุนให้นสิ ิตได้ปฏิบัติ ศาสนกิจ
โดยการจัดปฐมนิเทศนิสติ กอ่ นออกปฏิบัติศาสนกิจ และจัดหาสถานทรี่ องรบั นสิ ติ ออกปฏิบตั ิ ศาสนกิจ
จัดทําสรุปรายงานผลการดําเนินงานด้านประกันอุบัติเหตุกลุ่ม ประจําปีการศึกษา มีการ ดําเนินการ
สํารวจสภาพการใช้งานของครุภัณฑ์ประจําหอพกั นสิ ิต มีการให้บริการด้านเอกสาร และสื่อ ต่างๆ ที่
เอื้อต่อการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพชีวิตนิสิต การพัฒนารูปแบบการบริหารงานกิจการนิสิต
สมรรถนะสูงของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย ประกอบด้วย ส่วนที่ ๑ ส่วนนํา ได้แก่
สภาพแวดล้อม หลักการ วตั ถปุ ระสงค์ สว่ น ที่ ๒ ตัวแบบ ไดแ้ ก่ ระบบงานกระบวนการจดั การ

องค์ประกอบของ HPO ๕ ประการ และโครงการ เสริมสรา้ งการบริหารงานกิจการนิสิต
สมรรถนะสูงของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจํานวน ๑๓ โครงการ และ ส่วนที่ ๓
ขั้นตอนการนําไปใช้ ประกอบด้วย โครงสร้าง การตัดสินใจ แนวทางการประเมิน และส่วนที่ ๔
เง่ือนไขความสําเร็จขนึ้ อยกู่ ับบริบทของมหาวิทยาลัยรูปแบบการบริหารงานกิจการนิสิตสมรรถนะสูง
ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย โดยจําแนกออกเป็น ส่วนที่ ๑ ส่วนนํา ได้แก่
สภาพแวดล้อม หลักการ วัตถุประสงค์ ส่วนที่ ๒ ตัวแบบ ได้แก่ ระบบงานกระบวนการจัดการด้วย
องค์ประกอบขององคก์ รสมรรถนะสูง ๕ ประการ ภาระงานของกองกจิ การนสิ ิต ๓ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม
งานส่งเสริมกิจการนิสิต กลุ่มงานปฏิบัติศาสนกิจ กลุ่มงานสวัสดิการนิสิต จํานวน ๓๑ ข้อ และ
โครงการเสริมสร้างการบริหารงานกิจการนิสิตสมรรถนะ สูงของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย จํานวน ๑๓ โครงการ และ ส่วนที่ ๓ ขั้นตอนการ นําไปใช้ ประกอบด้วย โครงสร้าง การ
ตดั สินใจ แนวทางการประเมนิ และ เง่ือนไขความสําเรจ็ ขนึ้ อยู่ กับบริบทของมหาวิทยาลัยและยังพบ
หลักสังคหวัตถุ ๔ คือการสงเคราะห์ซึ่งกันและกันเพื่อ มหาวิทยาลัยมีความสุขและเจริญก้าวหน้า
ไดแ้ ก่ ทาน ใหป้ ันสิ่งของ ใหค้ วามช่วยเหลือ ปิยวาจา พูดจาอ่อนหวานตอ่ กันภายในองค์กร อตั ถจริยา
บําเพ็ญประโยชน์เพื่อองค์กร และสมานัตตตา ปฏิบัติ เสมอต้นเสมอปลายอย่างต่อเนื่องเพื่อการ
บรหิ ารงานกจิ การนสิ ติ สมรรถนะสงู ของมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั อย่างยง่ั ยืนต่อไป

๒๖ พระมหาณรงคศ์ ักด์ิ ฐิตญาณเมธี (บัวอ่อน), การพัฒนารปู แบบการบรหิ ารงานกิจการนิสิต
สมรรถนะสงู ของมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , พทุ ธศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พุทธบริหารการศกึ ษา) .
(มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๖๒), หน้า บทคัดยอ่ .

๑๗

บุษบา เสนีย์๒๗ การวิจัยเรื่อง รูปแบบการบริหารการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศของสถานศึกษา สงั กดั กรงุ เทพมหานคร ผลการวิจัยพบวา่

รปู แบบการบริหารการจัดการเรียนรู้โดยใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศของ สถานศึกษาสังกัด
กรงุ เทพมหานคร ประกอบด้วย ๓ องคป์ ระกอบหลกั ได้แก่ ๑) เทคโนโลยสี ารสนเทศ ในสถานศึกษา
มี ๒ องค์ประกอบย่อย ได้แก่ โครงสร้างพื้นฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศ และการนํา เทคโนโลยี
สารสนเทศมาประยุกต์ใชใ้ นดา้ นการศกึ ษา ๒) การจดั การเรยี นรู้ มี ๕ องค์ประกอบยอ่ ย ไดแ้ ก่ การจดั
กิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนและเป็นสําคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ
บูรณาการ การใช้เทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย การใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ และการวัดและ
ประเมินผล ๓) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา มี ๔ องค์ประกอบย่อย
ได้แก่ สมรรถนะ ของครูผู้สอนด้านการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การสนับสนุนจาก
ผู้บริหารสถานศึกษาใน การจัดการเรียนรู้ ความพร้อมของเทคโนโลยี และสมรรถนะของบคุ ลากรที่
สนับสนุน จากผลการทดลองใช้ และประเมินรูปแบบที่พัฒนาขึ้น พบว่า มีความเป็นประโยชน์และ
ความเปน็ ไปไดอ้ ย่ใู นระดบั มาก

๒๗ บษุ บา เสนยี ์, รปู แบบการบรหิ ารการจดั การเรียนรโู้ ดยใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศของสถานศึกษา
สงั กดั กรุงเทพมหานคร, (กรุงเทพฯ: บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั นอร์ทกรุงเทพ, ๒๕๖๓), หน้า บทคัดย่อ.

๑๘

๒.๖ กรอบแนวคิดในการวิจัย

กรอบแนวคดิ ในการวิจัย ศึกษาความพึงพอใจของนสิ ติ สาขาวชิ าสังคมศึกษาทีม่ ีต่อการ
บริหารของมหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแกน่

จากการศึกษาองคค์ วามรู้ที่เก่ยี วขอ้ งกบั งานวิจยั หลักการ แนวคดิ การบรหิ าร ทฤษฎีท่ี
เกยี่ วข้องและงานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วข้อง

ผู้ศึกษาไดก้ รอบแนวคิดของการวจิ ยั

ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม

ขอ้ มูลท่ัวไป ความพงึ พอใจของนสิ ิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่
๑. สถานภาพ มีต่อการบริหารของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
๒. เพศ วทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่ มี ๗ ด้าน มดี ังน้ี
๓. ช้นั ปกี ารศกึ ษา ๑. ด้านการบริหารงานวิทยาลัยสงฆ์ขอนแกน่
๒. ดา้ นการบรหิ ารงานด้านงานทะเบียนและวัดผล
๓. ดา้ นการบรหิ ารงานดา้ นการบริหารงานดา้ นวชิ าการ
๔. ด้านการบริหารงานด้านกิจการนสิ ติ
๕. ด้านการบริหารงานด้านการเงินและการคลัง
๖. ด้านการบริหารงานดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ
๗. ดา้ นการบริหารงานด้านงานอาคารสถานท่ี

ภาพท่ี ๑ กรอบแนวคดิ ในการวิจยั

บทที่ ๓

ระเบยี บวิธวี ิจยั

การวิจัย เรื่อง ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีต่อการบริหารของ
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่ มวี ัตถุประสงค์ของการวิจยั เพ่ือศึกษา
ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวชิ าสังคมศึกษาที่มีตอ่ การบริหารของมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น และ เพื่อเสนอแนวทางการบริหารมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่ ผูว้ ิจยั ดำเนินการ วิจัย ดงั น้ี

๓.๑ รปู แบบของการวิจัย
๓.๒ ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง
๓.๓ เครื่องมอื ท่ีใช้ในการวิจยั
๓.๔ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
๓.๕ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู
๓.๖ สถิตทิ ่ีใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู
๓.๑ รูปแบบของการวจิ ยั
การวจิ ัยความพึงพอใจของนิสิตสาขาวชิ าสังคมศึกษาทม่ี ีต่อการบริหารของมหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น เป็นรูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative
Research) มโี ดยใชร้ ะบบ แบบสอบถาม
๓.๒ ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
๓.๒.๑ กลุ่มประชากรใช้ในการวิจัยครั้งนีเ้ ปน็ นิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์
ระดับปริญญาตรี ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น จำนวน ๑๑๘
รปู /คน (ขอ้ มลู จากฝายทะเบียน ณ วันที่ ๑๖/๐๒/๒๕๖๔)
๓.๒.๒ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นิสิตสาขาวิชาสงั คมศึกษา คณะครศุ าสตร์ ระดับปริญญาตรี
ของมหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่ จำนวน ๙๒ คน โดยการเปิดตาราง
ของเครจซีแ่ ละมอร์แกน (Krejcie & Morgan, ๑๙๗๐ อ้างใน ธีรวุฒิ เอกะกุล, ๒๖๔๓) ตารางน้ีใช้ใน
การประมาณค่าสัดส่วนของประชากรเช่นเดียวกัน และกําหนดให้สัดส่วนของลักษณะที่ สนใจใน
ประชากร เท่ากับ ๐.๕ ระดับความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ ๕% และระดับความเชื่อมั่น ๙๕%
ผวู้ จิ ยั ไดเ้ ลอื กโดยวิธีเฉพาะเจาะจง ดงั นี้
นิสิตสาขาสังคมศกึ ษาช้นั ปที ี่ ๑ จำนวน ๒๕ รปู /คน โดยเลือก ๒๓ รปู /คน
นิสติ สาขาสังคมศึกษาช้ันปที ่ี ๒ จำนวน ๒๑ รปู /คน โดยเลอื ก ๑๙ รปู /คน
นสิ ติ สาขาสังคมศึกษาช้นั ปที ่ี ๓ จำนวน ๒๙ รูป/คน โดยเลือก ๒๖ รูป/คน
นสิ ิตสาขาสังคมศึกษาชน้ั ปีที่ ๔ จำนวน ๒๖ รปู /คน โดยเลอื ก ๒๔ รูป/คน

๒๐

๓.๓ เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการวจิ ยั
๓.๓.๑ เครือ่ งมือทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั

เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย ไดแ้ ก่ แบบสอบถาม (Questionnaire) จะเป็นแบบสอบถามท่ี
ผู้ ศกึ ษาสรา้ งขน้ึ เอง โดยมีเน้อื หาครอบคลมุ วัตถุประสงคแ์ ละเน้ือหาจากแนวคิดที่ต้องการศกึ ษาพร้อม

ทัง้ นำไปหาคณุ ภาพของเครือ่ งมือกอ่ นนําไปใชจ้ ริง โดยแบง่ ออกเปน็ ๓ ตอน ดังนี้
ตอนที่ ๑ ข้อมูลของทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชา

สงั คมศึกษาทมี่ ตี อ่ การบริหาร ของมหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่

ตอนที่ ๒ ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีต่อการบริหารของ
มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น แบบสอบถามแบ่งเป็น ๗ ด้าน ดา้ นละ

๕ ขอ้ มีระดับการใหค้ ะแนนดังนี้

๕ หมายถงึ ระดบั การให้คะแนน มากท่สี ดุ
๔ หมายถึง ระดับการให้คะแนน มาก

๓ หมายถงึ ระดบั การให้คะแนน ปานกลาง
๒ หมายถงึ ระดบั การใหค้ ะแนน น้อย
๑ หมายถึง ระดบั การใหค้ ะแนน นอ้ ยทสี่ ดุ

ตอนที่ ๓ ข้อเสนอแนะแนวความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีต่อการ

บริหารของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ซึ่งเปิดโอกาสให้ผู้ตอบ
แบบสอบถามแสดงความคิดเหน็ ได้อย่างอิสระ

๓.๓.๒ ขัน้ ตอนการสรา้ งเครอื่ งมือ
๑. ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษา

ทมี่ ีต่อการบริหารของมหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่
๒. สรา้ งแบบสอบถามความพึงพอใจของนิสติ สาขาวชิ าสังคมศึกษาที่มตี ่อการบรหิ ารของ

มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น ตามแนวคิดที่ไดจ้ ากขอ้ ๑.
๓. นาํ แบบสอบถามทสี่ ร้างขนึ้ เสนอต่ออาจารยท์ ่ีปรึกษา
๔. ปรับแกแ้ บบสอบถามตามอาจารยป์ รกึ ษา และเสนอตอ่ อาจารยอ์ กี ครงั้

๕. โดยนำแบบสอบถามเสนอผูเ้ ช่ยี วชาญ ๓ ทา่ น ได้แก่ ๑.อาจารยบ์ ญุ ส่ง นาแสวง
๒. ผ.ศ.อนุสรณ์ นางทะราช ๓. อาจารย์พนั ทิวา ทับภมู ี ตรวจสอบความถูกตอ้ งของเนอ้ื หา (IOC)

๖. นาํ แบบสอบถามทผ่ี ่านการตรวจความตรงของเน้อื หาแล้วมาจดั ทำแบบสอบถามฉบบั
สมบูรณแ์ ละนาํ ไปเก็บรวบรวมข้อมลู กับกลุ่มตัวอย่างตอ่ ไป

๒๑

๓.๔ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผู้วิจัยได้ดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลตามขนั้ ตอน ดังน้ี
๑. ศึกษาพื้นที่ที่จะเก็บรวบรวมข้อมูลที่มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาเขต

ขอนแก่น
๒. ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมลู โดยนําแบบสอบถามความพงึ พอใจของนิสิตสาขาวชิ า

สังคมศึกษาที่มีต่อการบริหารของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
โดยสมุ่ เก็บรวบรวมข้อมูลกบั กลมุ่ ตัวอยา่ ง ดังน้ี

นสิ ิตสาขาสังคมศึกษาชน้ั ปที ี่ ๑ จำนวน ๒๔ ชดุ
นสิ ิตสาขาสงั คมศกึ ษาชนั้ ปที ี่ ๒ จำนวน ๒๐ ชุด
นิสิตสาขาสังคมศกึ ษาชั้นปที ี่ ๓ จำนวน ๒๔ ชุด
นสิ ติ สาขาสงั คมศึกษาชน้ั ปีท่ี ๔ จำนวน ๒๔ ชุด
๓. ผู้วิจัยได้รับแบบสอบถามกลับมาทั้งหมด นํามาตรวจสอบความถูกต้องและความ
สมบูรณข์ องแบบสอบถาม
๔. นําแบบสอบถามมาตรวจสอบให้คะแนนตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้และนําข้อมูลมา
วเิ คราะห์ทางสถิติต่อไป

๓.๕ การวเิ คราะห์ข้อมูล
ผวู้ ิจัยไดด้ ำเนนิ การวิเคราะหข์ อ้ มูล และประมวลผลของแบบสอบถาม ดังน้ี
๑. ข้อมูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจของนิสิตสาขาวิชาสงั คมศึกษาท่มี ี

ตอ่ การบริหารของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่ ซึ่งเปน็ แบบสอบถาม
แบบตรวจสอบ รายการ (Check List) วิเคราะห์ข้อมูลโดยแจกแจงความถี่ และหาค่าร้อยละ
แล้วนํามาเสนอผลการ วเิ คราะห์ข้อมลู ในรปู ของตารางประกอบคาํ บรรยายใต้ตาราง

๒. แบบสอบถามความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีต่อการบริหารของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ซึ่งเป็นแบบสอบถามประมาณค่า
(Rating Scale) แบ่งเป็น ๗ ด้าน ด้านละ ๕ ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลหา ค่าเฉลี่ย ( ̅) และส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D) แล้วนําเสนอ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปของตาราง ประกอบคําบรรยายใต้ตาราง
การวดั ค่าตัวแปร

ผูว้ ิจัยไดว้ ัดค่าตวั แปรของการวิจยั ซง่ึ แบง่ ออกเป็น ๕ ระดบั ดงั น้ี
คะแนนเฉลี่ย ๔.๕๐ - ๕.๐๐ แปลความว่า มีความคิดในระดบั มากท่ีสุด
คะแนนเฉลี่ย ๓.๕๐ - ๔.๔๙ แปลความว่า มคี วามคิดในระดับมาก
คะแนนเฉลี่ย ๒.๕๐ - ๓.๔๙ แปลความว่า มีความคดิ ในระดบั ปานกลาง
คะแนนเฉลี่ย ๑.๕๐ - ๒.๔๙ แปลความวา่ มคี วามคดิ ในระดับน้อย
คะแนนเฉลี่ย ๑.๐๐ - ๑.๔๙ แปลความว่า มีความคิดในระดับนอ้ ยทีส่ ุด

๓. ขอ้ เสนอแนะเกย่ี วกบั ความพึงพอใจของนสิ ิตที่มีต่อการใหบ้ รกิ ารของมหาวิทยาลยั
มหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ในแบบสอบถามเปน็ คําถามปลายเปิด ทำการ
วิเคราะห์ เน้ือหาแบบบรรยาย

๒๒

๓.๖ สถิติทีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล
ในการวิจยั เรื่องน้ี มีสถติ ิที่ใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มลู ดังนี้
๑. คา่ ร้อยละ (Percentage) (%)

๒. คา่ คะแนนเฉลยี่ (Arithmetic Mean) ( ̅)
๓. คา่ ความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) (S.D.)

บทที่ ๔

ผลการศึกษาวจิ ัย

การวิจัย เรื่อง ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีต่อการบริหารของ
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น มีวตั ถุประสงค์ของการวิจยั เพื่อศึกษา
ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวชิ าสังคมศึกษาที่มีต่อการบริหารของมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่ จำนวน ๙๒ คน
โดยแบ่งเป็นขั้นตอน ดงั นี้

๔.๑ ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล
๔.๒ ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม
๔.๓ องคค์ วามร้ใู หม่จากการวิจยั

๒๔

๔.๑ ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู

๔.๑.๑ ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของนิสิต
สาขาวิชาสงั คมศกึ ษาทมี่ ีต่อการบริหาร ของมหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขต
ขอนแก่น

ตารางที่ ๔.๑ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชา

สังคมศกึ ษาที่มีตอ่ การบริหาร ของมหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น

ตัวแปรท่ศี กึ ษา จำนวน (รปู /คน) ร้อยละ

๑. สถานภาพ ๓๓ ๓๖
พระภิกษุ / สามเณร ๕๙ ๖๔
คฤหัสถ์ ๙๒ ๑๐๐
รวม
๕๗ ๖๒
๒. เพศ ๓๕ ๓๘
ชาย ๙๒ ๑๐๐
หญงิ
รวม ๒๓ ๒๕
๑๙ ๒๑
๓.ชน้ั ปกี ารศกึ ษา ๒๖ ๒๘
ชั้นปที ี่ ๑ ๒๔ ๒๖
ชน้ั ปีที่ ๒ ๙๒ ๑๐๐
ชัน้ ปที ี่ ๓
ชัน้ ปที ี่ ๔
รวม

จากตารางท่ี ๔.๑.ขอ้ มูลทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจของนิสิตสาขาวิชา
สังคมศึกษาที่มีต่อการบริหาร ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

สถานภาพ พระภกิ ษุ / สามเณร จำนวน ๓๓ รปู /คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๓๖.๐๐ และคฤหสั ถ์ จำนวน ๕๙
คน คิดเป็นร้อยละ ๖๔.๐๐ เพศ ชายจำนวน ๕๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๒.๐๐ เพศหญิงจำนวน ๓๔

คดิ เป็นรอ้ ยละ ๓๘.๐๐ ชน้ั ปีการศกึ ษา ช้ันปีท่ี ๑ จำนวน ๒๔ รูป/คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๒๖.๐๐ ช้ันปีที่
๒ จำนวน ๒๔ รูป/คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๒๖.๐๐ ชนั้ ปที ่ี ๓ จำนวน ๒๐ รปู /คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๒๒.๐๐
ชนั้ ปที ่ี ๔ จำนวน ๒๔ รูป/คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๖.๐๐

๒๕

๔.๒ ตอนที่ ๒ ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีต่อการบริหาร ของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

ตารางที่ ๔.๒ ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวชิ าสงั คมศกึ ษาที่มตี อ่ การบรหิ าร ของ
มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตขอนแกน่ โดยภาพรวม

ความพึงพอใจของนิสติ สาขาวิชาสงั คมศกึ ษา ( ̅ ) S.D. ระดบั
โดยภาพรวม
๒.๕๖ ๑.๐๐ ปานกลาง
ดา้ นการบรหิ ารงานสำนกั งานวทิ ยาลยั สงฆ์ ๒.๓๘ ๑.๐๐ น้อย
ดา้ นการบริหารงานดา้ นงานทะเบียนและวดั ผล ๒.๕๘ ๑.๗๘
ดา้ นการบรหิ ารงานด้านวชิ าการ ๒.๔๔ ๑.๑๐ ปานกลาง
ดา้ นการบริหารงานดา้ นกจิ การนิสติ ๒.๒๐ ๑.๒๐ นอ้ ย
ด้านการบรหิ ารงานด้านการเงนิ และการคลัง ๑.๙๑ ๑.๑๔ น้อย
ด้านการบริหารงานดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๒.๕๗ ๑.๑๔ นอ้ ย
ด้านสงิ่ ส่งเสริมสนับสนนุ การเรียน ๓.๓๓ ๑.๖๗
ปานกลาง
รวม ปานกลาง

จากตารางท่ี ๔.๒ ความพงึ พอใจของนสิ ิตสาขาวชิ าสังคมศึกษาที่มีตอ่ การบริหาร ของ

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง
( ̅ = ๓.๓๓ , S.D. = ๑.๖๗) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านการ
บริหารงานด้านวิชาการ อยู่ในระดับปานกลาง ( ̅ = ๒.๕๘ , S.D. = ๑.๗๘) รองลงมา คือ ด้านส่ิง
ส่งเสริมสนับสนุนการเรียน อยู่ในระดับปานกลาง ( ̅ = ๒.๕๗ , S.D. = ๑.๑๔) ด้านการบริหารงาน
สำนักงานวิทยาลยั สงฆ์ อยู่ในระดับปานกลาง ( ̅ = ๒.๕๖ , S.D. = ๑.๐๐) ด้านการบริหารงานดา้ น
กิจการนสิ ิต อยใู่ นระดบั น้อย ( ̅ = ๒.๔๔ , S.D. = ๑.๑๐) ดา้ นการบรหิ ารงานด้านงานทะเบยี นและ
วัดผล อยู่ในระดับน้อย ( ̅ = ๒.๓๘ , S.D. = ๑.๐๐) ด้านการบริหารงานด้านการเงินและการคลัง
อยู่ในระดับน้อย ( ̅ = ๒.๒๐ , S.D. = ๑.๒๐) และด้านการบริหารงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
อยู่ในระดบั นอ้ ย ( ̅ = ๑.๑๙ , S.D. = ๑.๑๔)

๒๖

ตารางที่ ๔.๓ ความพึงพอใจของนสิ ติ สาขาวิชาสังคมศกึ ษาที่มตี อ่ การบริหารของ
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่ ด้านการบริหารงานสำนกั งานวิทยาลัย
สงฆ์ขอนแก่น

ด้านการบริหารงานสำนักงานวทิ ยาลยั สงฆ์ขอนแก่น ( ̅ ) S.D. ระดับ
๑. การบรหิ ารงานมุ่งเน้นผลฤทธิ์ของนสิ ิตเป็นหลัก เน้น ๒.๓๓ ๐.๙๖ นอ้ ย
ความโปร่งใสตรวจสอบได้
๒. เปดิ โอกาสให้นสิ ติ และ อาจารย์ ไดม้ ขี ้อเสนอแนะใน ๒.๔๐ ๐.๙๘ นอ้ ย
การบริหารจัดการของกิจกรรมการศกึ ษา
๓. สง่ เสริมให้ผสู้ อนและผู้เรยี นไดไ้ ปศึกษาแหล่งเรยี นรู้ ๒.๖๒ ๐.๙๖ ปานกลาง
ภายนอกสถานศึกษาอย่างต่อเนอ่ื ง
๔. มกี ารจดั การเรยี นการสอนและพัฒนา กระบวนการ ๒.๗๕ ๑.๐๗ ปานกลาง
เรยี นรู้โดยเนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ
๕. ดำเนินการจัดกิจกรรมนิสติ และส่งเสริมสนับสนนุ ให้ ๒.๖๘ ๑.๐๕ ปานกลาง
นิสติ มีสว่ นรว่ มในการจัดกจิ กรรมอย่างหลากหลาย

รวม ๒.๕๖ ๑.๐๐ ปานกลาง

จากตารางท่ี ๔.๓ ความพงึ พอใจของนิสิตสาขาวิชาสงั คมศกึ ษาที่มีต่อการบรหิ ารของ
มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่ ดา้ นการบริหารงานสำนกั งานวิทยาลัย
สงฆ์ขอนแก่น โดยภาพรวม อยใู่ นระดับปานกลาง ( ̅ = ๒.๕๖ , S.D. = ๑.๐๐) เม่ือพิจารณาเป็นราย
ข้อโดยเรยี งจากมากไปหานอ้ ย พบว่า มีการจัดการเรียนการสอนและพัฒนา กระบวนการเรียนรู้โดย
เน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ อยใู่ นระดบั ปานกลาง ( ̅ = ๒.๗๕ , S.D. = ๑.๐๗) รองลงมา คอื ดำเนินการ
จัดกิจกรรมนิสิตและส่งเสริมสนับสนุนให้นิสิต มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย อยู่ใน
ระดับปานกลาง ( ̅ = ๒.๖๘ , S.D. =๑.๐๕), ส่งเสริมให้ผู้สอนและผู้เรียนได้ไปศึกษาแหล่งเรียนรู้
ภายนอกสถานศกึ ษาอย่างตอ่ เนอ่ื ง อยู่ในระดบั ปานกลาง ( ̅ = ๒.๖๒ , S.D. = ๐.๙๖), เปดิ โอกาสให้
นิสิต และ อาจารย์ ได้มีข้อเสนอแนะในการบริหารจัดการของกิจกรรมการศึกษา อยู่ในระดับน้อย
( ̅ = ๒.๔๐ , S.D. = ๐.๙๘) และการบริหารงานมุ่งเน้นผลฤทธิ์ของนสิ ิตเป็นหลัก เน้นความโปร่งใส
ตรวจสอบได้ อยใู่ นระดับ น้อย ( ̅ = ๒.๓๓ , S.D. = ๐.๙๖)

๒๗

ตารางท่ี ๔.๔ ความพึงพอใจของนสิ ติ สาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีตอ่ การบรหิ ารของ
มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่ ด้านการบริหารงานด้านงานทะเบยี น

และวดั ผล

ด้านการบรหิ ารงานดา้ นงานทะเบียนและวดั ผล ( ̅ ) S.D. ระดับ

๑. ให้คำปรกึ ษาและตอบคำถามนิสิตไดอ้ ยา่ งชดั เจน ๒.๖๑ ๑.๐๕ ปานกลาง
นอ้ ย
๒. มคี วามสะดวกในความพร้อมในการบรกิ ารนสิ ติ ๒.๓๒ ๐.๙๙ นอ้ ย
นอ้ ย
๓. นสิ ติ ไดร้ บั ขอ้ มูลที่ถูกต้อง และ ชัดเจน ๒.๒๔ ๐.๙๙
ปานกลาง
๔. มีความรวดเรว็ ในการทำงาน ๒.๒๐ ๐.๙๒ น้อย

๕. มชี ่องทางการติดตอ่ ออนไลนท์ ีส่ ะดวกและชดั เจน ๒.๕๔ ๑.๐๗

รวม ๒.๓๘ ๑.๐๐

จากตารางท่ี ๔.๔ ความพงึ พอใจของนิสิตสาขาวชิ าสังคมศึกษาทม่ี ตี ่อการบรหิ ารของ

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ด้านการบรหิ ารงานด้านงานทะเบยี น
และวัดผล โดยภาพรวม อยู่ในระดับนอ้ ย ( ̅ = ๒.๓๘ , S.D. = ๑.๐๐) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อโดย

เรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ให้คำปรึกษาและตอบคำถามนสิ ติ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน อยู่ในระดับปานกลาง
( ̅ = ๒.๖๑ , S.D. = ๑.๐๕) รองลงมา คือ มีช่องทางการติดต่อออนไลน์ที่สะดวกและชัดเจน
อยู่ในระดับปานกลาง ( ̅ = ๒.๕๔ , S.D. = ๑.๐๗), มีความสะดวกในความพร้อมในการบรกิ ารนสิ ิต
อยู่ในระดับนอ้ ย ( ̅ = ๒.๓๒ , S.D. = ๐.๙๙), นสิ ติ ไดร้ ับขอ้ มูลท่ถี กู ต้องและชัดเจน อยู่ในระดับน้อย
( ̅ = ๒.๒๔ , S.D. = ๐.๙๙) และมีความรวดเร็วในการทำงาน อยใู่ นระดบั นอ้ ย ( ̅ = ๒.๒๐ , S.D.

= ๐.๙๒)

๒๘

ตารางท่ี ๔.๕ ความพงึ พอใจของนิสิตสาขาวชิ าสังคมศึกษาที่มตี ่อการบริหารของ
มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่ ดา้ นการบริหารงานด้านวิชาการ

ด้านการบรหิ ารงานดา้ นวิชาการ ( ̅ ) S.D. ระดบั
๒.๖๖ ๑.๒๙ ปานกลาง
๑. สนบั สนนุ ใหน้ ิสิตใชส้ ื่อการเรียนผ่านเทคโนโลยีเพ่ือ
การศึกษา ๒.๕๔ ๑.๑๒ ปานกลาง
๒. มกี ิจกรรมส่งเสรมิ นิสิตตามท่สี าขาที่นิสิตเรียน ๒.๔๗ ๑.๐๕ น้อย
๓. ส่งเสริมการจดั กิจกรรมของนสิ ิตตามวิถี
ประชาธปิ ไตย ๒.๔๖ ๑.๐๖ นอ้ ย
๔. มีการสง่ เสรมิ ให้นิสิตมีการเรียนรนู้ อกสถานท่ี ๒.๔๙ ๐.๙๓ นอ้ ย
๕. มีการประสานความรว่ มมือในการพฒั นาทางการ
เรียนร่วมกับสถานบนั การศกึ ษาภายนอกอย่างสมำ่ เสมอ ๒.๕๘ ๑.๗๘ ปานกลาง

รวม

จากตารางท่ี ๔.๕ ความพึงพอใจของนสิ ติ สาขาวชิ าสังคมศึกษาท่ีมตี อ่ การบรหิ ารของ

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ด้านการบริหารงานด้านวิชาการ
โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง ( ̅ = ๒.๕๘ , S.D. = ๑.๗๘) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อโดยเรียง

จากมากไปหาน้อย พบว่า สนับสนุนให้นิสิตใช้สื่อการเรียนผ่านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา อยู่ในระดับ
ปานกลาง ( ̅ = ๒.๖๖ , S.D. = ๑.๒๙) รองลงมา คือ มีกิจกรรมสง่ เสรมิ นิสิตตามที่สาขาท่ีนิสิตเรียน
อยู่ในระดับปานกลาง ( ̅ = ๒.๕๔ , S.D. = ๑.๑๒), มีการประสานความร่วมมือในการพัฒนา
ทางการเรียนรว่ มกบั สถานบันการศึกษาภายนอกอยา่ งสม่ำเสมอ อยู่ในระดับนอ้ ย ( ̅ = ๒.๔๙ , S.D.
= ๐.๙๓), ส่งเสรมิ การจัดกจิ กรรมของนิสติ ตามวิถปี ระชาธปิ ไตย อยู่ในระดบั น้อย ( ̅ = ๒.๔๗ , S.D.
= ๑.๐๕) และมีการส่งเสรมิ ให้นสิ ิตมีการเรียนรู้นอกสถานท่ี ( ̅ = ๒.๔๖ , S.D. = ๑.๐๖)

๒๙

ตารางท่ี ๔.๖ ความพงึ พอใจของนสิ ิตสาขาวิชาสงั คมศกึ ษาท่ีมีต่อการบรหิ ารของ
มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น ดา้ นการบรหิ ารงานดา้ นกจิ การนิสิต

ดา้ นการบรหิ ารงานดา้ นกิจการนสิ ติ ( ̅ ) S.D. ระดบั
๒.๒๒ ๐.๙๕ น้อย
๑. มีการสนบั สนุนการจดั งานทางวชิ าการดา้ นตา่ งๆของ
นิสติ ๒.๑๐ ๑.๑๙ นอ้ ย
๒. มีความสะดวกและความพรอ้ มในการให้บรกิ ารนสิ ติ ๒.๒๓ ๑.๑๐ นอ้ ย
๓. มคี วามเอาใจใสน่ สิ ิตอย่างชัดเจน ๒.๒๗ ๑.๒๑ นอ้ ย
๔. มคี วามรวดเร็วในการทำงาน ๓.๓๗ ๑.๐๘ ปานกลาง
๕. มคี วามพร้อมความสามารถในการปฏิบัติงานด้าน
กจิ การนิสติ ๒.๔๔ ๑.๑๐ นอ้ ย

รวม

จากตารางที่ ๔.๖ ความพึงพอใจของนสิ ติ สาขาวิชาสังคมศกึ ษาทม่ี ีต่อการบริหารของ

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ด้านการบริหารงานด้านกิจการนิสิต
โดยภาพรวม อย่ใู นระดับนอ้ ย ( ̅ = ๒.๔๔ , S.D. = ๑.๑๐) เมอื่ พจิ ารณาเปน็ รายขอ้ โดยเรียงจากมาก

ไปหาน้อย พบวา่ มีความพรอ้ มความสามารถในการปฏิบัติงานด้านกิจการนิสติ อยใู่ นระดบั ปานกลาง
( ̅ = ๓.๓๗ , S.D. = ๑.๐๘) รองลงมา คือ มีความรวดเร็วในการทำงาน อยู่ในระดับน้อย
( ̅ = ๒.๒๗ , S.D. = ๒.๒๑), มีความเอาใจใสน่ ิสิตอย่างชัดเจน อยู่ในระดับนอ้ ย ( ̅ = ๒.๒๓ , S.D.
= ๑.๑๐), มีการสนับสนุนการจัดงานทางวิชาการด้านต่างๆของนิสิต อยู่ในระดับน้อย ( ̅ = ๒.๒๒ ,
S.D. = ๐.๙๕) และมีความสะดวกและความพร้อมในการให้บริการนิสิต อยู่ในระดับน้อย ( ̅ =

๒.๑๐ , S.D. = ๑.๑๙)

๓๐

ตารางที่ ๔.๗ ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวชิ าสังคมศึกษาทม่ี ตี อ่ การบรหิ ารของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ด้านการบริหารงานด้านการเงินและ

การคลงั

ด้านการบรหิ ารงานด้านการเงินและการคลัง ( ̅ ) S.D. ระดบั
น้อย
๑. มงี บประมาณสนบั สนนุ ในการจัดกจิ กรรมแก่นสิ ิตอย่าง ๒.๓๓ ๑.๓๔
น้อย
สม่ำเสมอ
น้อย
๒. มีงบประมาณในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้นอกสถานที่ ๒.๑๔ ๑.๒๑
นอ้ ย
ของนสิ ติ อย่างสม่ำเสมอ
น้อย
๓. มกี ารใหค้ ำแนะนำในการของบประมาณจาก ๒.๐๗ ๑.๑๔ น้อย

มหาวิทยาลัย

๔. มกี ารบริหารจดั การ การเงนิ และการคลังอย่างโปร่งใส ๒.๒๕ ๑.๑๘

ตรวจสอบได้

๕. เจ้าหนา้ ที่มีความพรอ้ มในการบริการนสิ ิตอยู่สมำ่ เสมอ ๒.๒๐ ๑.๑๒

รวม ๒.๒๐ ๑.๒๐

จากตารางท่ี ๔.๗ ความพงึ พอใจของนสิ ติ สาขาวิชาสงั คมศกึ ษาที่มีตอ่ การบรหิ ารของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ด้านการบริหารงานด้านการเงินและ
การคลัง โดยภาพรวม อยู่ในระดับน้อย ( ̅ = ๒.๒๐ , S.D. = ๑.๒๐) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อโดย

เรยี งจากมากไปหานอ้ ย พบว่า มีงบประมาณสนบั สนนุ ในการจดั กจิ กรรมแก่นิสติ อยา่ งสมำ่ เสมอ อยใู่ น
ระดบั นอ้ ย ( ̅ = ๒.๓๓ , S.D. = ๑.๓๔) รองลงมา คือ การบริหารจัดการ การเงนิ และการคลังอย่าง
โปร่งใสตรวจสอบได้ อยู่ในระดับนอ้ ย ( ̅ = ๒.๒๕ , S.D. = ๑.๑๘), เจ้าหน้าที่มีความพร้อมในการ
บริการนิสิตอยู่สม่ำเสมอ อยู่ในระดับน้อย ( ̅ = ๒.๒๐ , S.D. = ๑.๑๒), มีงบประมาณในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้นอกสถานทข่ี องนิสติ อย่างสม่ำเสมอ อยู่ในระดบั น้อย ( ̅ = ๒.๑๔ , S.D. = ๑.๒๑)
และมกี ารใหค้ ำแนะนำในการของบประมาณจากมหาวิทยาลัยอยู่ในระดบั น้อย ( ̅ = ๒.๐๗ , S.D. =
๑.๑๔)

๓๑

ตารางท่ี ๔.๘ ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสงั คมศกึ ษาท่ีมีตอ่ การบรหิ ารของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ด้านการบริหารงานด้านเทคโนโลยี

สารสนเทศ

ด้านการบรหิ ารงานด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ ( ̅ ) S.D. ระดบั
๑.๙๖ ๑.๒๐ นอ้ ย
๑. มอี ินเทอร์เนต็ ให้นสิ ติ ได้ใชง้ านอย่างต่อเน่อื งและ ๑.๘๓ ๑.๑๑ นอ้ ย
รวดเร็ว ๒.๐๕ ๑.๑๗ นอ้ ย
๒. มหี ้องเทคโนโลยสี ารสนเทศใหน้ ิสิตไดเ้ ข้าศกึ ษาอยา่ ง ๑.๘๙ ๑.๑๓ น้อย
ทนั สมยั ๑.๘๐ ๑.๑๑ นอ้ ย
๓. อุปกรณเ์ ทคโนโลยีในหอ้ งเรยี นมีความพร้อมใช้งาน ๑.๙๑ ๑.๑๔ นอ้ ย
อยเู่ สมอ
๔. กรณีมอี ปุ กรณ์เทคโนโลยีชํารุด มเี จา้ หนา้ ที่มา
ซอ่ มแซมไดร้ วดเรว็ แกป้ ัญหาได้ถูกตอ้ ง
๕. จำนวนจดุ เชือ่ มตอ่ ระบบเครอื ขา่ ยไร้สาย WIFI
เพยี งพอต่อการใช้งาน

รวม

จากตารางที่ ๔.๘ ความพงึ พอใจของนสิ ติ สาขาวชิ าสังคมศึกษาที่มตี อ่ การบริหารของ

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ด้านการบริหารงานด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศ โดยภาพรวม อยู่ในระดับน้อย ( ̅ = ๑.๙๑ , S.D. = ๑.๑๔) เมือ่ พิจารณาเป็นรายข้อโดย

เรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า อุปกรณ์เทคโนโลยีในห้องเรียนมีความพร้อมใช้งานอยู่เสมอ
อยู่ในระดับน้อย ( ̅ = ๒.๐๕ , S.D. = ๑.๑๗) รองลงมา คือ มีอินเทอร์เน็ตให้นิสิตได้ใช้งานอย่าง
ต่อเนื่องและรวดเร็ว อยู่ในระดับนอ้ ย ( ̅ = ๑.๙๖ , S.D. = ๑.๒๐), กรณีมีอุปกรณ์เทคโนโลยีชาํ รดุ
มเี จา้ หน้าทีม่ าซอ่ มแซมไดร้ วดเร็ว แก้ปญั หาไดถ้ กู ต้อง อยใู่ นระดับนอ้ ย ( ̅ = ๑.๘๙ , S.D. = ๑.๑๓),
มีห้องเทคโนโลยีสารสนเทศใหน้ ิสิตได้เขา้ ศึกษาอย่างทันสมยั อยู่ในระดับน้อย ( ̅ = ๑.๘๓ , S.D. =

๑.๑๑) และจำนวนจุดเชื่อมต่อระบบเครือข่ายไร้สาย WIFI เพียงพอต่อการใช้งาน อยู่ในระดับน้อย
( ̅ = ๑.๘๑ , S.D. = ๑.๑๑)

๓๒

ตารางที่ ๔.๙ ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวชิ าสังคมศึกษาท่ีมตี ่อการบริหารของ
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่ ดา้ นสง่ิ ส่งเสริมสนบั สนุนการเรียน

ด้านส่ิงส่งเสรมิ สนบั สนนุ การเรียน ( ̅ ) S.D. ระดบั
นอ้ ย
๑. ดูแลสถานทห่ี อ้ งเรยี น และสภาพแวดลอ้ มให้อย่ใู น ๒.๔๖ ๑.๐๘
น้อย
สถาพแวดลอ้ มใหอ้ ยูใ่ นสภาพเรียบร้อยพร้อมใช้งาน
ปานกลาง
๒. การจัดอปุ กรณแ์ ละส่ือการเรียนการสอนเพือ่ ส่งเสริม ๒.๔๑ ๑.๐๗ ปานกลาง

การเรยี นรู้ในห้องอยา่ งเพยี งพอ น้อย
ปานกลาง
๓. มหี ้องประชุมและจัดสมั มนาสำหรบั นสิ ติ อย่างทันสมัย ๒.๘๔ ๑.๒๓

๔. สถานท่ีจดั กจิ กรรมในการเรียนการสอนมอี ย่าง ๒.๗๘ ๑.๑๔

เพยี งพอ

๕. มกี ารปรบั ปรงุ ห้องใหพ้ รอ้ มใชง้ านอยู่อย่างสม่ำเสมอ ๒.๓๗ ๑.๒๐

รวม ๒.๕๗ ๑.๑๔

จากตารางท่ี ๔.๙ ความพึงพอใจของนสิ ิตสาขาวชิ าสังคมศึกษาทมี่ ีตอ่ การบริหารของ

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ด้านสิ่งส่งเสริมสนับสนุนการเรียน
โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง ( ̅ = ๒.๕๗ , S.D. = ๑.๑๔) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อโดยเรียง

จากมากไปหาน้อย พบว่า มีห้องประชุมและจัดสัมมนาสำหรับนิสิตอย่างทันสมัย อยู่ในระดับปาน
กลาง ( ̅ = ๒.๘๔ , S.D. = ๑.๒๓) รองลงมา คือ สถานที่จัดกิจกรรมในการเรียนการสอนมีอย่าง
เพียงพอ อยู่ในระดับนอ้ ย ( ̅ = ๒.๗๘ , S.D. = ๑.๑๔), ดูแลสถานที่ห้องเรียน และสภาพแวดล้อม
ให้อยู่ในสถาพแวดล้อมให้อยู่ในสภาพเรียบรอ้ ยพร้อมใช้งาน อยู่ในระดับนอ้ ย ( ̅ = ๒.๔๖ , S.D. =

๑.๐๘), การจัดอุปกรณ์และสื่อการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในห้องอย่างเพียงพอ อยู่ใน
ระดบั น้อย ( ̅ = ๒.๔๑ , S.D. = ๑.๐๗) และมกี ารปรบั ปรุงห้องใหพ้ รอ้ มใช้งานอยูอ่ ยา่ งสมำ่ เสมอ อยู่
ในระดบั นอ้ ย( ̅ = ๒.๓๗ , S.D. = ๑.๒๐)

๓๓

๔.๒ ข้อเสนอแนะ

จากข้อเสนอแนะความพึงพอใจของนสิ ิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีตอ่ การบริหารของ
มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น

- โปรดใหค้ วามกระจา่ งสำหรบั นิสิต (อาจารย์บางท่าน) การสอบในระบบผิดพลาดบอ่ ยมาก
แตก่ ็ไมร่ บั ความเเก้ไข ปัดความรับผิดชอบให้นิสิตอยู่เสมอ เม่ือนสิ ติ จ้ถี ามก็เงียบปดั ไม่ตอบ

- การเเจง้ ขา่ วสารตา่ งๆควรแจ้งลว่ งหน้าประมาณ ๑ อาทติ ย์ หรอื ลว่ งหนา้ ๔-๕ วัน
เพ่อื เตรียมตัวของนิสติ เช่น การปฏิบตั ธิ รรม เห็นว่า ชว่ งพฤษภาคม แต่ก็ไม่มคี วามชดั เจน

- ปรับหลกั สูตร ๔ ปี การปฏิบัตศิ าสนกิจ ๑ ปรี วม ๕ ปี อยากให้นสิ ิตบรรพชิตเก็บปฏบิ ัติ
ศาสนากจิ จบพร้อมนิสิตคฤหสั ถ์ ภายใน ๔ ปี

- ข้อสอบกลางเอามาสอบทำไมต้องการอะไรจากนิสติ พอนสิ ติ เสนอกไ็ มร่ ับคำเสนอของนสิ ติ
สมควรยกเลิกข้อสอบกลางไม่สมควรเอาเงินนิสิตมากจนเกินไปมหาลัยสมควรออกเงินบ้างไมส่ มควร
เอาเงินนสิ ติ ไมว่ ่าจะกจิ กรรมอะไรมหาลัยควรสนับสนุนอยา่ งเตม็ ที่

- Wifi สมควรเปลี่ยนใหด้ ีกว่านเี้ พราะแจ้งไปหลายรอบแตก่ ็ไมม่ กี ารปรับปรงุ
- เรอ่ื งเกณฑท์ หารสมควรให้คนอ่ืนมาทำใหด้ ีกวา่ น้ี
- คณะกรรมการคุมสอบ(บางท่าน)สมควรเปลย่ี นคนไม่เอาคนนสิ ยั แบบเดนิ มาจบั ผดิ นสิ ิต
แบบนกี้ รรมการคุมสอบไม่สมควรเดนิ ดูนิสติ มากอะไรขนาดน้ี
- เร่ืองการเขา้ ใช้หอ้ งนำ้ ทอี่ าคาร ๘๐ ปีเปน็ เพราะแม่บา้ นขี้เกียจทำความสะอาดเลยไม่เปดิ
ใหใ้ ช้เรื่องแบบนีไ้ ม่นา่ จะเกดิ ข้นึ ในมหาลยั เอาไปปรบั ปรุงเร่อื ง

๓๔

๔.๓ องคค์ วามรใู้ หมจ่ ากการวิจยั

จากการศึกษาความความพึงพอใจของนสิ ติ สาขาวิชาสงั คมศึกษาท่ีมีตอ่ การบริหารของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ได้พบว่าโดยภาพรวม ความพึงพอใจ
ของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีต่อการบริหาร ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วทิ ยาเขตขอนแกน่ อยู่ในระดับปานกลาง เม่อื พิจารณาเปน็ รายดา้ นโดยเรยี งจากมากไปหาน้อย พบวา่

ด้านการบรหิ ารงานดา้ นวชิ าการ จากการเสนอของนิสิตนั้นสามารถนำมาปรบั ปรุงแก้ไข
ในด้านวิชา เพื่อส่งเสรมิ ให้นิสติ มีประสบการณ์ในการเรียนรู้ที่เพิ่มขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการเรยี นรู้ ศึกษา
นอกสถานท่ี

ด้านสิ่งส่งเสริมสนับสนุนการเรียน จากการเสนอแนะของนิสิตนั้นด้านสนับสนุนการ
เรียนสามารถนำมาปรับปรุง ห้องเรียนให้น่าอยู่และพร้อมใช้งานอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นไมค์ ลำโพง
ต่างๆ แมก้ ระทง่ั การสรา้ งบรรยากาศในห้องเรยี น บอร์ดความรู้ ขา่ วสารประจำห้อง เปน็ ต้น

ด้านการบริหารงานสำนักงานวิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น จากการเสนอแนะของนิสิตน้ัน
นสิ ิตต้องการใหว้ ิทยาลัยสง่ ฆ์ขอนแก่น สนบั สนุนโครงการและกิจกรรมต่างๆอย่างเตม็ ที่ มงี บประมาณ
แบ่งเปน็ สาขาวชิ า ใหน้ สิ ิตแตล่ ะชนั้ ปีทำโครงการเสนอ เพื่อเป็นการพัฒนาความรู้ในด้านเอกสารและ
งบประมาณไปในตัวของนสิ ติ เอง

ดา้ นการบริหารงานด้านกจิ การนสิ ิต จากการเสนอแนะของนสิ ิตในด้านกิจการนิสติ ควร
มแี บบแผนการจัดกจิ กรรมของนิสติ ท่ีชัดเจน มีความพร้อมในการปฎิบตั ิหน้านี้ ให้ชดั เจนกว่าที่เป็นอยู่
มีระบบในการดำเนนิ กิจกรรมต่างๆ และ สนับสนุนการทำกจิ กรรมต่างๆของนสิ ติ อยสู่ มำ่ เสมอ

ด้านการบริหารงานด้านงานทะเบียนและวัดผล จากการเสนอแนะของนิสิตด้านงาน
ทะเบียนและวดั ผลนัน้ ควรมรี ะบบการลงทะเบยี นในการเรียนท่วี อ่ งไว และใหค้ ำปรกึ ษาในการเรียนที่
ชดั เจน เปน็ ระบบ เพอ่ื ให้การลงทะเบียนต่างๆเป็นไปได้ง่ายและชดั เจน

ด้านการบริหารงานด้านการเงินและการคลัง จากการเสนอแนะของนิสิตนั้นการเงิน
และการคลังของนิสิตนั้นควรมีการนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อนิสิตให้มากที่สุด มีการวางแผน
งบประมาณ เพอื่ ให้นสิ ติ ไดม้ ีสว่ นในการใช้งบประมาณนัน้ เพื่อการศกึ ษาและกิจกรรมต่างๆของนิสิต

ดา้ นการบรหิ ารงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จากการเสนอแนะของนิสิตนั้นได้ทราบ
ว่าระบบเทคโนโลยขี องมหาวิทยาลัย ยงั มีขอ้ บกพรอ่ งตา่ งๆอย่างเห็นได้ สัญญาณอินเทอรเ์ นต็ ยังต้อง
ได้รับการปรับปรุงอย่างเร่งด่วน เพราะสำคัญต่อการค้นหาความรู้ของนิสิต เป็นอย่างมาก ถ้าหากมี
การปรับปรุงที่ทันมีละว่องไว ก็ทำให้การเรียน ต่างๆของนิสิตกับอาจารย์ประจำวิชาได้มีความสุขใน
การเรียนมากข้ึน

ผวู้ ิจัยจงึ มีความเห็นว่าการท่ีเราได้ทราบถงึ ความพงึ พอใจของนิสิตและข้อเสนอแนะจาก
นิสิต ทำให้เราได้ทราบถึงข้อบกพร่องของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต
ขอนแกน่ เพือ่ นำมาแก้ไขปัญหาปรบั ปรงุ ส่ิงเหลา่ นั้นให้ดียิง่ ขึ้นและพฒั นาใหด้ กี ว่าเดมิ

บทท่ี ๕

สรปุ ผล อภปิ รายผลการวจิ ัย และข้อเสนอแนะ

การวิจัย เรื่อง ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีต่อการบริหารของ
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น มวี ัตถปุ ระสงคข์ องการวิจยั เพ่ือศึกษา
ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีตอ่ การบริหารของมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) และเชิงปริมาณ
(Quantitative Research) มวี ตั ถุประสงค์ “เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่
มีตอ่ การบริหารของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแกน่ ” ผลการวิจัยที่ได้
นำไปสกู่ ารสรุปผลการวจิ ัย การอภปิ รายผลการวิจยั และขอ้ เสนอแนะท่ีได้จากการวจิ ัย มีรายละเอียด
ดังตอ่ ไปนี้

๕.๑ สรปุ ผลการวิจัย
๕.๒ อภิปรายผลการวิจยั
๕.๓ ข้อเสนอแนะ

๕.๑ สรุปผลการวจิ ยั

ขอ้ มูลท่ัวไปของผูต้ อบแบบสอบถามความพึงพอใจของนิสติ สาขาวิชาสังคมศึกษาที่มี
ต่อการบรหิ าร ของมหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแก่น

ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสงั คมศกึ ษาที่มีต่อ
การบรหิ าร ของมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่ สถานภาพ พระภกิ ษุ /
สามเณร จำนวน ๓๓ รูป/คน คิดเป็นร้อยละ ๓๖.๐๐ และคฤหัสถ์ จำนวน ๕๙ คน คิดเป็นร้อยละ
๖๔.๐๐ เพศ ชายจำนวน ๕๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๒.๐๐ เพศหญิงจำนวน ๓๔ คิดเป็นร้อยละ
๓๘.๐๐ ชน้ั ปีการศกึ ษา ช้ันปีที่ ๑ จำนวน ๒๔ รปู /คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๒๖.๐๐ ชน้ั ปีท่ี ๒ จำนวน ๒๔
รูป/คน คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๐๐ ชั้นปีที่ ๓ จำนวน ๒๐ รูป/คน คิดเป็นร้อยละ ๒๒.๐๐ ชั้นปีที่ ๔
จำนวน ๒๔ รปู /คน คิดเปน็ ร้อยละ ๒๖.๐๐

๓๖

ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีต่อการบริหาร ของมหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น
โดยภาพรวม มผี ลการวเิ คราะห์ ดังน้ี

ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีต่อการบริหาร ของมหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปน็
รายด้านโดยเรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านการบริหารงานด้านวิชาการ อยู่ในระดับปานกลาง
รองลงมา คือ ดา้ นสิ่งสง่ เสรมิ สนับสนนุ การเรียน อยูใ่ นระดบั ปานกลาง ดา้ นการบริหารงานสำนักงาน
วิทยาลัยสงฆ์ อยู่ในระดับปานกลาง ด้านการบริหารงานด้านกิจการนิสิต อยู่ในระดับน้อย ด้านการ
บรหิ ารงานด้านงานทะเบียนและวัดผล อยู่ในระดบั นอ้ ย ดา้ นการบรหิ ารงานด้านการเงนิ และการคลัง
อย่ใู นระดบั นอ้ ย และดา้ นการบรหิ ารงานดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศอยใู่ นระดับนอ้ ย

ด้านการบริหารงานด้านวิชาการ ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีต่อ
ด้านการบรหิ ารงานดา้ นวชิ าการ โดยภาพรวม อยใู่ นระดับปานกลาง เม่ือพจิ ารณาเป็นรายข้อโดยเรียง
จากมากไปหาน้อย พบว่า สนับสนุนให้นิสิตใช้สื่อการเรยี นผ่านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา อยู่ในระดบั
ปานกลาง รองลงมา คือ มีกจิ กรรมส่งเสริมนิสิตตามท่ีสาขาทีน่ ิสิตเรียน อยูใ่ นระดบั ปานกลาง มีการ
ประสานความร่วมมือในการพัฒนาทางการเรยี นร่วมกับสถานบันการศึกษาภายนอกอย่างสม่ำเสมอ
อยู่ในระดับน้อย ส่งเสริมการจัดกิจกรรมของนิสิตตามวิถีประชาธิปไตย อยู่ในระดับน้อย และมีการ
สง่ เสรมิ ให้นิสติ มกี ารเรยี นรนู้ อกสถานท่ี

ด้านสง่ิ ส่งเสรมิ สนับสนุนการเรียน ความพึงพอใจของนสิ ิตสาขาวิชาสงั คมศึกษาที่มตี อ่
การบริหารงานด้านสิ่งส่งเสริมสนับสนุนการเรียน โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณา
เป็นรายข้อโดยเรยี งจากมากไปหาน้อย พบว่า มีห้องประชุมและจัดสัมมนาสำหรับนิสิตอยา่ งทันสมยั
อยู่ในระดับปานกลาง รองลงมา คือ สถานที่จัดกิจกรรมในการเรียนการสอนมีอย่างเพียงพอ อยู่ใน
ระดบั นอ้ ย ดูแลสถานที่หอ้ งเรยี น และสภาพแวดล้อมใหอ้ ยู่ในสถาพแวดลอ้ มใหอ้ ยู่ในสภาพเรียบร้อย
พรอ้ มใช้งาน อยใู่ นระดับน้อย การจดั อปุ กรณ์และสือ่ การเรียนการสอนเพื่อสง่ เสริมการเรียนรู้ในห้อง
อย่างเพยี งพอ อย่ใู นระดับน้อย และมกี ารปรับปรงุ ห้องใหพ้ ร้อมใช้งานอยู่อย่างสม่ำเสมอ อยู่ในระดับ
น้อย

ด้านการบริหารงานสำนักงานวิทยาลัยสงฆ์ ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคม
ศึกษาทม่ี ตี ่อการบริหารงานดา้ นการบรหิ ารงานสำนกั งานวิทยาลยั สงฆ์ โดยภาพรวม อยใู่ นระดับปาน
กลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อโดยเรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า มีการจัดการเรียนการสอนและ
พฒั นา กระบวนการเรียนร้โู ดยเน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั อยใู่ นระดบั ปานกลาง รองลงมา คอื ดำเนินการ
จัดกิจกรรมนิสิตและส่งเสริมสนับสนุนให้นิสิต มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย อยู่ใน
ระดับปานกลาง ส่งเสริมให้ผู้สอนและผู้เรียนได้ไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ภายนอกสถานศึกษาอย่าง
ต่อเนื่อง อยู่ในระดับปานกลาง เปิดโอกาสให้นิสิต และ อาจารย์ ได้มีข้อเสนอแนะในการบริหาร
จัดการของกิจกรรมการศึกษา อยู่ในระดับน้อย และการบริหารงานมุ่งเน้นผลฤทธิข์ องนิสิตเปน็ หลัก
เน้นความโปร่งใสตรวจสอบได้ อยู่ในระดับ นอ้ ย

๓๗

ดา้ นการบริหารงานดา้ นกจิ การนิสติ ความพงึ พอใจของนิสติ สาขาวิชาสังคมศกึ ษาท่ีมีต่อ
การบริหารงานด้านการบริหารงานด้านกิจการนิสิต โดยภาพรวม อยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาเปน็
รายข้อโดยเรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า มีความพร้อมความสามารถในการปฏิบัติงานด้านกิจการ
นสิ ติ อยู่ในระดบั ปานกลาง รองลงมา คอื มีความรวดเร็วในการทำงาน อยใู่ นระดับนอ้ ย มีความเอาใจ
ใสน่ ิสติ อย่างชัดเจน อยู่ในระดับนอ้ ย มีการสนบั สนุนการจดั งานทางวิชาการดา้ นต่างๆของนสิ ิต อยู่ใน
ระดบั น้อย และมคี วามสะดวกและความพร้อมในการใหบ้ ริการนิสิต อย่ใู นระดบั นอ้ ย

ดา้ นการบรหิ ารงานดา้ นงานทะเบยี นและวัดผล ความพึงพอใจของนิสติ สาขาวชิ า
สังคมศึกษาที่มีต่อการบริหารงานด้านการบริหารงานด้านงานทะเบียนและวัดผล
โดยภาพรวม อยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อโดยเรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ให้
คำปรึกษาและตอบคำถามนิสิตได้อย่างชัดเจน อยู่ในระดับปานกลาง รองลงมา คือ มีช่องทางการ
ติดต่อออนไลนท์ ีส่ ะดวกและชัดเจนอยู่ในระดับปานกลาง มีความสะดวกในความพร้อมในการบริการ
นสิ ติ อยู่ในระดบั นอ้ ย นิสติ ได้รบั ขอ้ มูลที่ถูกตอ้ งและชดั เจน อยใู่ นระดบั นอ้ ย และมีความรวดเรว็ ในการ
ทำงาน อยู่ในระดับน้อย

ด้านการบริหารงานด้านการเงินและการคลัง ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคม
ศึกษาที่มีต่อการบริหารงาน ด้านการบริหารงานด้านการเงินและการคลัง โดยภาพรวม อยู่ในระดับ
น้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อโดยเรียงจากมากไปหาน้อยพบว่า มีงบประมาณสนับสนุนในการจัด
กจิ กรรมแก่นสิ ิตอย่างสมำ่ เสมอ อย่ใู นระดับน้อย รองลงมาคอื การบรหิ ารจัดการ การเงินและการคลัง
อยา่ งโปรง่ ใสตรวจสอบได้ อยใู่ นระดับน้อย เจ้าหนา้ ทม่ี ีความพรอ้ มในการบริการนสิ ิตอยู่สมำ่ เสมอ อยู่
ในระดับน้อย มีงบประมาณในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้นอกสถานทีข่ องนสิ ิตอยา่ งสม่ำเสมอ อยู่ใน
ระดบั นอ้ ย และมีการให้คำแนะนำในการของบประมาณจากมหาวิทยาลยั อยู่ในระดับนอ้ ย

ด้านการบริหารงานดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ ความพงึ พอใจของนสิ ิตสาขาวชิ าสังคม
ศึกษาที่มีต่อการบริหารงานด้านการบริหารงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยภาพรวม อยู่ในระดบั
น้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อโดยเรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า อุปกรณ์เทคโนโลยีในห้องเรียนมี
ความพร้อมใช้งานอยู่เสมอ อยู่ในระดับน้อย รองลงมา คือ มีอินเทอร์เน็ตให้นิสิตได้ใช้งานอย่าง
ต่อเนื่องและรวดเร็ว อยู่ในระดับน้อย กรณีมีอุปกรณ์เทคโนโลยีชํารุด มีเจ้าหน้าที่มาซ่อมแซมได้
รวดเร็ว แก้ปัญหาได้ถูกต้อง อยู่ในระดับน้อย มีห้องเทคโนโลยีสารสนเทศให้นิสิตได้เข้าศึกษาอย่าง
ทันสมัย อยู่ในระดับน้อย และจำนวนจุดเชื่อมต่อระบบเครอื ข่ายไร้สาย WIFI เพียงพอต่อการใช้งาน
อยู่ในระดับน้อย

๓๘

ข้อเสนอแนะความพึงพอใจของนิสติ สาขาวชิ าสงั คมศกึ ษาท่มี ตี ่อการบริหาร
ของมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

จากข้อเสนอแนะความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีต่อการบริหารของ
มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่

- โปรดใหค้ วามกระจ่างสำหรับนิสิต (อาจารย์บางท่าน) การสอบในระบบผดิ พลาดบอ่ ยมาก
แตก่ ็ไม่รับความเเกไ้ ข ปัดความรับผิดชอบให้นิสติ อยูเ่ สมอ เม่ือนิสติ จี้ถามกเ็ งยี บปัดไม่ตอบ

- การเเจ้งขา่ วสารต่างๆควรแจง้ ล่วงหนา้ ประมาณ ๑ อาทติ ย์ หรือ ลว่ งหนา้ ๔-๕ วัน
เพ่อื เตรยี มตวั ของนิสติ เช่น การปฏบิ ตั ิธรรม เหน็ ว่า ช่วงพฤษภาคม แต่ก็ไมม่ ีความชดั เจน

- ปรบั หลกั สตู ร ๔ ปี การปฏบิ ัตศิ าสนกิจ ๑ ปรี วม ๕ ปี อยากให้นสิ ิตบรรพชิตเกบ็ ปฏิบตั ิ
ศาสนากจิ จบพร้อมนิสิตคฤหสั ถ์ ภายใน ๔ ปี

- ขอ้ สอบกลางเอามาสอบทำไมตอ้ งการอะไรจากนิสติ พอนสิ ิตเสนอก็ไมร่ บั คำเสนอของนิสติ
สมควรยกเลิกข้อสอบกลางไม่สมควรเอาเงินนิสิตมากจนเกินไปมหาลัยสมควรออกเงินบ้างไม่สมควร
เอาเงินนสิ ติ ไมว่ า่ จะกิจกรรมอะไรมหาลัยควรสนบั สนนุ อยา่ งเต็มที่

- Wifi สมควรเปล่ียนให้ดกี ว่าน้เี พราะแจง้ ไปหลายรอบแต่ก็ไม่มีการปรับปรงุ
- เรื่องเกณฑ์ทหารสมควรใหค้ นอ่ืนมาทำใหด้ ีกว่าน้ี
- คณะกรรมการคมุ สอบ(บางทา่ น)สมควรเปลี่ยนคนไม่เอาคนนิสัยแบบเดนิ มาจบั ผิดนิสิต
แบบน้กี รรมการคุมสอบไมส่ มควรเดินดนู ิสิตมากอะไรขนาดน้ี
- เร่อื งการเข้าใชห้ ้องน้ำทีอ่ าคาร ๘๐ ปเี ป็นเพราะแมบ่ ้านขีเ้ กียจทำความสะอาดเลยไม่เปดิ
ให้ใช้เร่อื งแบบน้ีไม่น่าจะเกิดขน้ึ ในมหาลัยเอาไปปรับปรุงเร่อื ง

๓๙

๕.๒ อภิปรายผลการวจิ ยั

จากการวิจัยเร่ือง “ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสงั คมศึกษาทีม่ ีตอ่ การบรหิ าร ของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น” สามารถอภปิ รายผลได้ ดังนี้

ด้านการบริหารงานด้านวิชาการ ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคมศึกษาที่มีต่อ
ด้านการบรหิ ารงานด้านวชิ าการ โดยภาพรวม อยใู่ นระดบั ปานกลาง เม่อื พจิ ารณาเปน็ รายข้อโดยเรียง
จากมากไปหาน้อย พบว่า สนับสนุนให้นิสิตใช้สื่อการเรยี นผ่านเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา อยู่ในระดับ
ปานกลาง รองลงมา คือ มกี จิ กรรมสง่ เสรมิ นิสิตตามที่สาขาทีน่ ิสิตเรียน อยู่ในระดับปานกลาง มีการ
ประสานความร่วมมือในการพัฒนาทางการเรียนร่วมกับสถานบันการศกึ ษาภายนอกอย่างสม่ำเสมอ
อยู่ในระดับน้อย ส่งเสริมการจัดกิจกรรมของนิสิตตามวิถีประชาธิปไตย อยู่ในระดับน้อย และมีการ
ส่งเสริมให้นิสิตมีการเรียนรู้นอกสถานท่ี ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ รัตน์ชนก พราหมณ์ศิริ
เรอ่ื ง รูปแบบการบริหารงานวิชาการของมหาวิทยาลยั เอกชนสู่ความเป็นเลิศกรณีศึกษามหาวิทยาลัย
พิษณุโลก ผลการวิจัย พบวา่

๑. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการของมหาวิทยาลัยเอกชน
กรณีศึกษามหาวิทยาลัยพิษณุโลก พบว่าการบริหารงานวิชาการประกอบด้วย ๑) ด้านหลักสูตร ๒)
ด้าน การจดั การเรยี นการสอน ๓) ดา้ นการสง่ เสรมิ ควบคมุ งานวิชาการ ๔) ด้านการบรกิ ารทางวิชาการ
๕) ด้าน การวัดผลประเมินผล ๖) ด้านการนิเทศ และ ๗) การพัฒนาอาจารย์ ทั้งในภาพรวมและราย
ด้าน มีการ ปฏบิ ตั อิ ยูใ่ นระดบั มาก

๒. รูปแบบการบริหารงานวิชาการของมหาวิทยาลัยเอกชนสู่ความเป็นเลิศ: กรณีศึกษา
มหาวิทยาลัยพิษณโุ ลก ประกอบด้วย ๔ องค์ประกอบ ดงั น้ี

๒.๑ องค์ประกอบที่ ๑ ภารกิจหลักซึ่งประกอบด้วย ๘ องค์ประกอบย่อย ได้แก่ ๑)
หลักสูตร ๒) การจัดการเรียนการสอน ๓) การส่งเสริมการจัดกิจกรรมของรายวิชา ๔) การ
พัฒนาคณุ ภาพวิชาการ ๕) การนิเทศ ๖) การพัฒนาอาจารย์ ๗) การให้บริการวิชาการ และ
๘) การวัดผลและประเมินผล

๒.๒ องค์ประกอบที่ ๒ การบริหารเชงิ กลยุทธ์ระดับองค์การ ซึ่งมี ๖ ขั้นตอน ได้แก่
๑) การ ระบุเปา้ หมาย ๒) การวางแผน ๓) การปฏิบัติตามแผน ๔) การส่งเสริม ควบคุมและ
กํากับ ๕) การตรวจสอบ และ ๖) การนําผลการปฏิบัติมาใช้เป็นข้อมูลสําหรับการปรับปรุง
การทํางาน

๒.๓ องค์ประกอบที่ ๓ วิธีการปฏิบัติงานของแต่ละภารกิจหลัก โดยใช้วงจรบริหาร
คุณภาพ (PDCA) ซึ่งมี ๔ ขั้นตอน คือ การวางแผน (Plan) การปฏิบัติตามแผน (Do) การ
ตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ าน (Check) การปรับปรงุ แก้ไข (Act)

๒.๔ องค์ประกอบที่ ๔ ปัจจัยส่งเสริมการบริหารงานวิชาการ ได้แก่ ๑) ภาวะผู้นํา
ของผ้บู รหิ าร ๒) สมรรถนะดา้ นการสอนของคณาจารย์ ๓) ความรว่ มมือของคณาจารย์ และ
๔) บรรยากาศทีเ่ อื้อต่อ การส่งเสริมการเรียนรู้

๓. ผลการประเมินรปู แบบการบรหิ ารงานวิชาการของมหาวิทาลยั เอกชนสู่ความเป็นเลิศ
กรณีศึกษามหาวิทยาลยั พิษณโุ ลก ผลการประเมนิ รูปแบบโดยผู้บริหารในด้านความถูกต้องและความ

๔๐

เหมาะสมในภาพรวมของแต่ละด้านอยู่ในระดับมากที่สุด และผลการประเมนิ โดยอาจารย์ประจําและ
อาจารยผ์ ้สู อนเป็นรายวิชาในดา้ นความเปน็ ไปไดแ้ ละความเป็นประโยชน์ในภาพรวมของแต่ละด้านอยู่
ในระดบั มาก

ด้านสิ่งสง่ เสรมิ สนับสนนุ การเรยี น ความพงึ พอใจของนสิ ติ สาขาวิชาสงั คมศกึ ษาท่มี ีต่อ
การบริหารงานด้านสิ่งส่งเสริมสนับสนุนการเรียน โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณา
เป็นรายขอ้ โดยเรยี งจากมากไปหาน้อย พบว่า มีห้องประชุมและจัดสัมมนาสำหรับนิสิตอยา่ งทันสมยั
อยู่ในระดับปานกลาง รองลงมา คือ สถานที่จัดกิจกรรมในการเรียนการสอนมีอย่างเพียงพอ อยู่ใน
ระดบั น้อย ดแู ลสถานที่หอ้ งเรยี น และสภาพแวดล้อมให้อยู่ในสถาพแวดล้อมให้อยู่ในสภาพเรียบร้อย
พร้อมใชง้ าน อยู่ในระดบั นอ้ ย การจดั อปุ กรณ์และส่อื การเรียนการสอนเพ่ือสง่ เสรมิ การเรียนรู้ในห้อง
อย่างเพยี งพอ อยูใ่ นระดับน้อย และมีการปรับปรงุ หอ้ งใหพ้ ร้อมใชง้ านอยูอ่ ย่างสม่ำเสมอ อยู่ในระดับ
น้อย ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ บุษบา เสนีย์ เรื่อง รูปแบบการบริหารการจัดการเรียนรู้โดยใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศของสถานศกึ ษา สงั กัดกรุงเทพมหานคร ผลการวจิ ัยพบว่า รปู แบบการบริหาร
การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศของ สถานศึกษาสังกัดกรงุ เทพมหานคร ประกอบด้วย
๓ องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ๑) เทคโนโลยีสารสนเทศ ในสถานศึกษา มี ๒ องค์ประกอบย่อย ได้แก่
โครงสร้างพืน้ ฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศ และการนํา เทคโนโลยีสารสนเทศมาประยกุ ต์ใชใ้ นด้าน
การศกึ ษา ๒) การจัดการเรียนรู้ มี ๕ องคป์ ระกอบยอ่ ย ได้แก่ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนโดย
เน้นผู้เรยี นและเป็นสําคญั การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนแบบ บรู ณาการ การใช้เทคนิควธิ ีการสอน
ที่หลากหลาย การใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ และการวัดและประเมินผล ๓) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา มี ๔ องค์ประกอบยอ่ ย ได้แก่ สมรรถนะ ของครูผู้สอนดา้ นการ
จัดการเรียนรู้ดว้ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ การสนับสนุนจากผู้บริหารสถานศกึ ษาใน การจัดการเรยี นรู้
ความพรอ้ มของเทคโนโลยี และสมรรถนะของบุคลากรท่ีสนบั สนนุ จากผลการทดลองใช้ และประเมิน
รปู แบบทพ่ี ัฒนาขนึ้ พบว่า มีความเปน็ ประโยชนแ์ ละความเป็นไปไดอ้ ยู่ในระดับมาก

ด้านการบริหารงานสำนักงานวิทยาลัยสงฆ์ ความพึงพอใจของนิสิตสาขาวิชาสังคม
ศกึ ษาทม่ี ีต่อการบริหารงานดา้ นการบรหิ ารงานสำนกั งานวิทยาลยั สงฆ์ โดยภาพรวม อยใู่ นระดับปาน
กลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อโดยเรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า มีการจัดการเรียนการสอนและ
พฒั นา กระบวนการเรียนรู้โดยเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั อยูใ่ นระดบั ปานกลาง รองลงมา คือ ดำเนินการ
จัดกิจกรรมนิสิตและส่งเสริมสนับสนุนให้นิสิต มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมอยา่ งหลากหลาย อยู่ใน
ระดับปานกลาง ส่งเสริมให้ผู้สอนและผู้เรียนได้ไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ภายนอกสถานศึกษาอย่าง
ต่อเนื่อง อยู่ในระดับปานกลาง เปิดโอกาสให้นิสิต และ อาจารย์ ได้มีข้อเสนอแนะในการบริหาร
จัดการของกิจกรรมการศกึ ษา อยู่ในระดับน้อย และการบริหารงานมุ่งเน้นผลฤทธิข์ องนิสิตเป็นหลกั
เน้นความโปร่งใสตรวจสอบได้ อยใู่ นระดบั น้อย

ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ นางสาวพันวนา พัฒนาอุดมสินค้า เรื่อง รูปแบบ
กระบวนการบริหารที่สง่ ผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลการวิจยั
พบว่า ๑. ตัวประกอบของกระบวนการบริหารที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ได้จากการวิเคราะห์เอก สารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์

๔๑

ผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า รูปแบบกระบวนการบริหารที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศกึ ษา ขั้นพ้นื ฐานประกอบดว้ ย ๑๐ ตวั ประกอบ ไดแ้ ก่ การวางแผน การจดั องคก์ าร
การบริหารงานบุคคล การอํานวยการ การกระตุ้นการทำงาน การประสานงาน การควบคุม
การจดั ทํางบประมาณการเงนิ การเสนอรายงานและประเมนิ ผล และคุณภาพการศกึ ษา

๒ รูปแบบกระบวนการบริหารที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พบว่า ตัวแปรสังเกตได้ส่วนใหญ่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ใกลเ้ คียงกนั ตวั แปรท่มี ี ค่าเฉลี่ยสงู สดุ คือ ตัวแปรการวางแผน รองลงมา คือ การจดั องค์การ ส่วนตัว
แปรท่ีมีค่าเฉล่ยี ต่ำสุดคือ ตัวแปร การบริหารงานบคุ คล รองลงมา คอื การควบคุมและการอํานวยการ
ส่วนตัวแปรคุณภาพการศกึ ษามีค่าเฉลี่ย ระดับมากเชน่ กัน ตัวแปรสังเกตได้ของรูปแบบกระบวนการ
บริหารท่สี ง่ ผลตอ่ การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของ สถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานมีความสมั พันธก์ ันเป็นไปใน
ทำงานเดยี วกนั และมคี วามสัมพนั ธก์ ันอยา่ งมนี ัยสําคญั ทำงานสถิติที่ระดบั ๐.๐๑ ทุกตัวแปร โดยมีค่า
สัมประสทิ ธ์สิ หสัมพนั ธร์ ะหว่าง ๐.๗๑๒ - ๐.๙๒๕

๓. ผลการตรวจสอบรูปแบบกระบวนการบริหารที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของ สถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พบวา่ ผทู้ รงคณุ วุฒิมีความเห็นว่า รปู แบบกระบวนการบรหิ ารท่ีส่งผลต่อ
การ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่สร้างขึ้นมีความถูกต้องเหมาะสม ความ
เป็นไปไดแ้ ละเปน็ ประโยชน์

ด้านการบรหิ ารงานด้านกิจการนิสิต ความพงึ พอใจของนสิ ติ สาขาวิชาสังคมศกึ ษาที่มีต่อ
การบริหารงานด้านการบริหารงานด้านกิจการนิสติ โดยภาพรวม อยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็น
รายข้อโดยเรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า มีความพร้อมความสามารถในการปฏิบัติงานด้านกิจการ
นิสิต อยูใ่ นระดับปานกลาง รองลงมา คอื มีความรวดเรว็ ในการทำงาน อยู่ในระดบั น้อย มีความเอาใจ
ใส่นิสิตอย่างชัดเจน อยใู่ นระดับน้อย มีการสนบั สนนุ การจดั งานทางวชิ าการด้านตา่ งๆของนิสิต อยู่ใน
ระดบั น้อย และมคี วามสะดวกและความพร้อมในการให้บริการนสิ ิต อยู่ในระดับนอ้ ย ซึง่ สอดคล้องกับ
งานวิจัยของ พระมหาณรงค์ศักดิ์ ฐิตญาณเมธี (บัวอ่อน) เรื่อง การพัฒนารูปแบบการบรหิ ารงาน
กิจการนิสิตสมรรถนะสูงของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ผลการวิจัย พบว่า สภาพ
การบรหิ ารงานกจิ การนิสิตของมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ท้ัง ๓ ด้าน มีความคิดเห็น
อยู่ในระดบั มาก ได้แก่ มกี ารสร้างเครอื ข่ายความร่วมมอื ในทางด้านงานกจิ การ นิสติ เพอื่ มุ่งสคู่ วามเป็น
สากล ให้บริการด้านความรู้และทักษะ มีเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนา งานด้านกิจการนิสิต
จัดทําข้อมูลสารสนเทศงานด้านวินัยนิสิต มีการส่งเสริมและสนับสนุนการ ดําเนินงานโครงการหรือ
กจิ กรรมขององค์กรบริหารนิสติ มีการจัดสมั มนานิสิตปฏิบัติศาสนกิจ ๔ ภาค เพือ่ รวบรวมองค์ความรู้
ที่ไดร้ ับจากการปฏบิ ัติศาสนกิจ สง่ เสรมิ และสนับสนนุ ใหน้ ิสติ ได้ปฏบิ ัติ ศาสนกิจโดยการจัดปฐมนิเทศ
นิสิตก่อนออกปฏิบัตศิ าสนกิจ และจัดหาสถานที่รองรับนิสิตออกปฏบิ ัติ ศาสนกิจ จัดทําสรุปรายงาน
ผลการดาํ เนินงานด้านประกันอุบัติเหตกุ ลุ่ม ประจําปีการศกึ ษา มกี าร ดาํ เนินการสํารวจสภาพการใช้
งานของครภุ ณั ฑป์ ระจาํ หอพกั นิสติ มกี ารใหบ้ ริการด้านเอกสาร และสือ่ ต่างๆ ทีเ่ อ้ือตอ่ การเรียนร้แู ละ
พัฒนาคณุ ภาพชีวติ นิสิต การพัฒนารปู แบบการบริหารงานกิจการนิสิตสมรรถนะสงู ของมหาวิทยาลัย


Click to View FlipBook Version