The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by social study, 2021-09-26 23:27:17

การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุจังหวัดขอนแก่นตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง, นำเสนอบทความ ประเภทผู้นำเสนอ

อาจารย์บุญส่ง นาแสวง

สงั คมศาสตรและมนษุ ยศาสตร 1034

KSUC-O-086

การพฒั นาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุจังหวัดขอนแกนตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง

บุญสง นาแสวง

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแกน
Corresponding author: [email protected]
___________________________________________________________________________________________

บทคัดยอ

รายงานวิจัยเร่ืองการพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุจังหวัดขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงมี
วตั ถุประสงคเพ่ือ 1) ศกึ ษาคุณภาพชวี ิตผสู ูงอายุ จงั หวัดขอนแกน ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง 2) ศึกษาปจจัยท่ี
เก่ียวของกับคุณภาพชีวิตผูสูงอายุจังหวัดขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 3) ศึกษาแนวทางการพัฒนา
คุณภาพชีวิตผูสูงอายุจังหวัดขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง เปนงานวิจัยเชิงปริมาณผสมคุณภาพโดย
วิธกี ารบรรยายงานวิจยั เชิงพรรณนาวิเคราะห ผลจากการศกึ ษาพบวา 1) คุณภาพชวี ติ ผสู งู อายุจงั หวดั ขอนแกน
ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ระดับคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุจังหวัดขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ดาน
ความสมั พันธร ะหวา งบุคคลอยูในระดับมาก และเปนดานท่ีมีคุณภาพชีวติ ท่ีสูงที่สุดเมื่อเทียบกับดานอื่นๆ จาก
การศึกษาพบวา ผูสูงอายุสวนใหญมีสภาพรา งกายท่ดี ี มีการรวมกลุมทางสังคม สภาพความเปนอยูที่ดี สภาพ
อารมณที่ดี และการตัดสินใจดวยตนเอง 2) ปจจยั ที่เกี่ยวของกับคุณภาพชีวติ ของผูสูงอายุจังหวัดขอนแกนโดย
ภาพรวมอยูในระดับมาก จากการศึกษาพบวา ปจจัยท่ีเก่ียวของกับคุณภาพชีวิตของผูสงู อายุจังหวัดขอนแกน
ดานคุณธรรม อยูในระดับ มากท่ีสุด รองลงมาคือ ดานความพอประมาณ ดานความรู ดานมเี หตุผล และดาน
การมีภูมิคุมกัน 3) แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุจังหวัดขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
แนวทางพัฒนา 6 ดาน ไดรับจากการระดมสมองแบบการมีสวนรวมระหวางผูสูงอายุในพื้นที่การวิจัย ผูวิจัย
พรอมทั้งใชการทบทวยเอกสารและงานวิขัยท่ีเก่ียวของสังเคราะห เช่อื มโยงใหเกิดลักษระท่ีเปนรูปธรรมมาก
ท่ีสดุ โดยพจิ ารณาจากบริบท ศักยภาพของชุมชน ทองถิน่ เขามาเสริมสรา งใหแนวทางการพัฒนาสูการปฏบิ ัติ

คําสําคัญ: การพฒั นาคุณภาพชีวติ ผูส งู อายุ หลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง

Abstract
The aims of this research were: 1) to study the quality of life of the elderly according to
the sufficiency economy principles; 2) to analyze the factors related to the quality of life
development for the elderly according to the sufficiency economy principles; 3) to study the
ways to develop the quality of life of the elderly according to the sufficiency economy

การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ มหาวทิ ยาลัยกาฬสินธุ ครง้ั ท่ี 1 ประจาํ ป 2562
“นวัตกรรมดา นวทิ ยาศาสตรและสังคมศาสตร เพื่อความยง่ั ยืน”

สังคมศาสตรและมนษุ ยศาสตร 1035

principles. This research employed the qualitative research methodology and its results were
interpreted by the descriptive analysis. The research results were as follows: 1) The statistic
score of the quality of life of the elderly in Khon Kaen according to sufficiency economy in
the aspect of interpersonal relationships was at a high level; that of the quality of life
compared to other aspects was the highest level. According to studies, it has been found that
most elderly have good physical condition, social integration, good living, good mood and
self-decision. 2) The statistic score of the factors related to the quality of life development
for the elderly in overall was at a high level. That of the aspect of ‘morality’ was at a high
level, followed by that of ‘sufficiency’ , ‘knowledge’, ‘reasoning’ and ‘immunity’ . 3) For
improving the quality of life of the elderly in Khon Kaen by sufficiency economy, six
developmental guidelines were obtained from the elderly participant brainstorming in the
research area, as well as the review of relevant papers and research papers. These should be
strengthened by considering the contexts, potential of the community, local support to
develop the approach to the practice.

Keywords: Quality of Life Development, Elderly’, Economy Principles Sufficiency

บทนาํ
สังคมปจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงวิถีการดําเนินชีวิตไปจากอดีตท่ีผานมาเปนอยางมาก ท้ังน้ีเนื่องจาก

ความเจริญในดานเทคโนโลยีตางๆ รวมถึงพัฒนาการทางการแพทยและการสาธารณสุขในปจจุบันที่มี
ความกา วหนาการพัฒนาดังกลา วสง ผลใหส ามารถปอ งกนั และรกั ษาโรคตา งๆ รวมถึงสามารถชะลอความเสื่อม

ของโรคน้ันได สงิ่ เหลานี้ลวนสงผลใหประชาชนมีคุณภาพชีวติ ที่ดีข้นึ และเปนเหตใุ หประชากรมีชวงอายุยืน
ยาวมากย่ิงข้นึ หรือกลาวอีกนัยหนึ่งคือ จํานวนประชากรมีแนวโนมสูงขึ้นอยางตอเน่ือง จากขอมูลวิทยาลัย
ประชากรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยไดกลาวถึงสถิติผูสูงอายุที่มีอายุ 60 ปขึ้นไปในประเทศไทย ใน
ระหวางชว งป พ.ศ. 2538-2554 พบวา มีผสู งู อายจุ าํ นวนท้ังสิ้น 7,639,000 คน ประกอบดว ยเพศชาย จาํ นวน
3,477,000 คน เพศหญิงจํานวน 4,162,000 คน หากแบงแยกเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบวามี
จํานวนทง้ั ส้ิน 2,404,000 คน ประกอบดว ยเพศชาย จํานวน 1,100,000 คน เพศหญงิ จํานวน 1,304,000 คน
(วิทยาลัยประชากรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2555 : เว็บไซต)1 จากขอมูลดังกลาวแสดงใหเห็นถึง
จาํ นวนผสู ูงอายุท่ีมปี ริมาณมากข้ึน

1 วิทยาลัยประชากรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. (2555, 11 สงิ หาคม), จาก www.cps.chula.ac.th/pop_info/thai/nop7/nop5/ N5-
WHOLE.HTM

การประชุมวชิ าการระดับชาติ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ ครง้ั ท่ี 1 ประจาํ ป 2562
“นวัตกรรมดา นวทิ ยาศาสตรและสงั คมศาสตร เพ่อื ความยั่งยืน”

สังคมศาสตรและมนษุ ยศาสตร 1036

การทจี่ ํานวนผูสูงอายุมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น สงผลใหโครงสรางทางประชากรของประเทศเปล่ียนแปลง
ไป กลาวคือ ผูสูงอายมุ จี ํานวน 3.5 ลานคน จากจํานวนประชากรท้งั สิ้น 52.7 ลานคนในป พ.ศ. 2534 และ
เพ่ิมมากขึ้นเปน 4.9 ลานคน และ 6.9 ลานคนในป พ.ศ. 2554 ตามลําดับ (Phalakornkule, Suchint &
Saowalos Tongpan, 1992 : 100-104)2 โดยมลู นิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผสู ูงอายุ (มส. ผส) Foundation
of Thai Gerontology Research and Development Institute(TGRI) กลาววา ประเทศไทยเร่ิมเขาสู
สังคม คนแก ( Aging Society) ไปเรียบรอยแลวและสถิติลาสุดในป พ.ศ. 2550 พบวามีคนแกเพิ่มขึ้นอยูที่
ระดับรอยละ 10.7 (มูลนธิ ิสถาบันวิจัยและพัฒนาผูสงู อายุ (มส.ผส), 2555 : เว็บไซต)3 การที่ผูสงู อายุมีจํานวน
เพ่ิมมากข้ึน สิ่งท่ีควรคํานึงถึงคือผูสูงอายุควรมีวิถีการดําเนินชีวิตอยางไร ทั้งน้ีเพราะเมือ่ พัฒนาการทางดาน

รางกายมีการเจริญขน้ึ ไปสูวัยสงู อายุ พัฒนาการทางดานรางกายโดยท่ัวไปจะมลี ักษณะเสื่อมถอย ทงั้ ท่เี ห็นได
ชัดเจนและไมคอยชัดเจนความเส่ือมบางอยางเมื่อเส่ือมแลวไมสามารถทดแทนใหดีขึ้นด่ังเดิมได การ
เปลย่ี นแปลงท่ีเหน็ ไดอยางชัดเจนภายนอก เชน ผมหงอก ผวิ หนงั เหี่ยวยน ตกกระ เน้ือหนังขาดความเตงตึง
รูปหนาเปลี่ยนไป การเคลื่อนไหวชาลง การทรงตัวไมดี ออนเพลียและเหนื่อยลาเร็ว ประสาทสัมผัสตางๆ
เชน ล้ิน ตา หู การรับรูเส่ือมลง การมองเห็นและการไดยินเสื่อมลง การเปลี่ยนแปลงภายในท่ีเห็นไดยาก
เชน กระดูกเปราะบาง หักงา ย ผนังโลหติ มีแคลเซียมเกาะมากขึ้น อาจทาํ ใหหลอดโลหติ แขง็ เปนตน เหตุของ

ความดนั โลหติ สูง ซ่ึงเกีย่ วกันไปถึงหัวใจและหลอดเลือด เลือดอาจไปเล้ยี งสมองไมเพียงพอ มกี ารเปลี่ยนแปลง
ระบบเซลลต างๆ คณุ ภาพการทาํ งานของสมองเสื่อมลงทําใหจาํ ไดย ากข้ึน (ศรเี รือน แกว กงั วาน, 2540 : 515)4
ทุกสิ่งทีก่ ลาวมานลี้ ว นแตเปน สงิ่ ทีผ่ ูสูงอายตุ องเผชญิ

การเปล่ียนแปลงของกาย สังขาร การเกดิ แก เจ็บ ตาย เปนส่ิงทเี่ อื้อใหเกิดการเรียนรูอยางใกลชดิ
ตอเนื่อง (อรศรี งามวิทยาพงศ, 2545 : 58) 5 โดยพระพุทธศาสนาจะพิจารณาความแกวาเปนสวนหนึ่งของ
ชีวิตที่ตองดําเนินเปนไปตามกฎของธรรมชาติ ในสัมมาทฏิ ฐิสูตร (ม.มู. (ไทย) 12/92/87) 6 กลาวถึงความแก
ชราวา “...ชรา เปนอยางไร คือ ความแก ความครา่ํ ครา ความมฟี น หลุด ความมีผมหงอก ความมีหนงั
เห่ยี วยน ความเสื่อมอายุ ความแกหงอมแหง อินทรียในหมูสัตวน้ัน ๆ ของเหลาสัตวนั้น ๆ น้ีเรียกวา ชรา ”
จากพุทธพจน ดังกลาวแสดงใหเห็นวา ความแกช รา คือ สภาพรา งกายท่ีเสื่อมถอยตามกาลเวลาโดยสัตวโลก

ทุกชีวิตตองเผชิญ ไมอาจหลีกเล่ียงได อาจกลาวไดวาความแกเปนองคประกอบหน่ึงของชีวิต เพราะทุกส่ิง
เกิดข้ึน ต้ังอยูและดับไป ตามกฎไตรลักษณ ไมมีใครท่ีสามารถมีชีวิตท่ียืนยาวโดยไมแกและไมอยูในกฎไตร
ลักษณได และเม่ือรางกายกาวสูวัยชรา ความเสื่อมสภาพของอวัยวะตางๆ ยอมตามมาสงผลใหเ กิดความ

2 Phalakornkule, Suchint & Saowalos Tongpan. (1992). Elderly in Thailand, Productive Aging in Asia and The Pacific. Asian
Population Studies Series. N 129, pp 100-104.
3 มูลนธิ สิ ถาบนั วิจัยและพัฒนาผูสูงอายุ (มส.ผส). (2555, 11 สิงหาคม). Foundation of Thai Gerontology Research and Development
Institute(TGRI). จาก http://tgri.thainhf.org/?module=news&page2=detail&id=162
4 ศรเี รือน แกวกังวาน. (2540). จติ วิทยาพัฒนาการชีวติ ทุกชวงวัย (พิมพค รั้งท่ี 7). กรงุ เทพฯ: สํานกั พิมพม หาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 515.
5 อรศรี งามวทิ ยาพงศ. (2545). “จดั ระเบียบความตาย ”. เสขยิ ธรรม, 12(53), 58.
6 ม.ม.ู (ไทย) 12/92/87.

การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ คร้งั ท่ี 1 ประจาํ ป 2562
“นวัตกรรมดา นวิทยาศาสตรและสังคมศาสตร เพื่อความย่ังยืน”

สงั คมศาสตรและมนุษยศาสตร 1037

เจ็บปวยจากโรคตางๆ ดังพระพุทธเจาทรงแสดงเก่ียวกับเร่ืองความแกชราและความเจ็บปวยจากโรควา
รางกายนี้แกหงอมแลว เปนรังของโรค7 โดยในโรคสูตร8 ไดกลาวถึงโรควาประกอบดวย 2 อยางคือ โรคทาง

กายและโรคทางใจ ซง่ึ โรคทง้ั สองตางกอ ใหเกิดความทุกขแ กบ คุ คลทั้งสิ้น

เมื่อความแกชราเปนส่งิ ที่ไมอาจหลีกเล่ยี งได การดูแลสุขภาพจึงเปนส่ิงสําคัญและจําเปนเปน อยางมาก

สําหรับผูสูงอายุ เพราะสุขภาพจะสงผลตอการดําเนินชีวิตประจําวัน กลาวคือ หากมีสุขภาพดี ผูสูงอายุ

สามารถดําเนินชีวิตไดอยางปกติ แตหากมีสุขภาพท่ีบกพรอง วิถีการดําเนินชีวิตของผูสูงอายุยอมตอง

เปล่ียนแปลงไปจากเดิม เพราะผูสูงอายุท่ีมพี ยาธสิ ภาพทางรา งกายทําใหไมสามารถดูแลตนเองได โดยพบวา
ผูส งู อายุ 1 ใน 10 ตองมผี ูดูแลอ (มูลนิธสิ ถาบันวิจยั และพัฒนาผสู งู อายุ(มส.ผส), 2555, 11 สงิ หาคม : เวบ็ ไซต)
9 เม่ือจํานวนผูสูงอายุมีปริมาณเพ่ิมมากข้ึน การดูแลสุขภาพผูสูงอายุนับเปนสิง่ สําคัญ คณะรัฐมนตรีจึงได
เห็นชอบใหมีนโยบายและมาตรการสําหรับผูสูงอายุระยะยาว (พ.ศ. 2535-2554) และใหความเห็นชอบใน

โครงการผูสูงอายุในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติฉบับที่ 7 โดยมีหลักการและวัตถปุ ระสงคเ พื่อนโยบาย
และมาตรการหลกั เพ่อื ชวยเหลอื ผสู ูงอายุ 10 และพบวา ผูสูงอายุมีความสามารถท่จี ะนาํ ชีวติ ไปสคู วามสําเร็จได
(Buse, A. B., 1993) 11 เม่ือผูสูงอายุสามารถชวยเหลือตนเองได ยอมสงผลดีท้ังตอตนเองและลดภาระแก
บุคคลรอบขา ง

การถูกทอดทิ้งและถูกละเลยจากบุตรหลาน การถูกกระทํารุนแรงทางจิตใจจากบุตรหลานหรือคนใน
ครอบครัวโดยคําพูดและการไมใหเกียรติ (สถาบันวิจัยและพัฒนาผูสูงอายุไทยและสํานกั งานกองทุนสนับสนุน
การสรางเสริมสุขภาพ อา งถงึ ใน จิราพร เกศพิชญวัฒนา, มปป.) นอกจากน้ีรปู แบบของครอบครัวในสังคมไทย

ไดเปลี่ยนแปลงจากครอบครัวขยาย ซ่ึงมีปู ยา ตา ยาย บุตร หลานอยูรวมกันไป เปนครอบครัวเดี่ยว ซ่ึง
ประกอบดวยสามี ภรรยา และบตุ รเทา นั้น กลาวคอื มสี มาชกิ ในครอบครัวอยกู ันไมเกินสองรุน ซงึ่ ไมเ อ้ือตอการ

ดําเนินชีวิตของผูสูงอายุที่เคยมีบุตรหลานคอยดแู ล หรือคอยดูแลบุตรหลานให ปรากฏการณดังกลาว ทําให

ผูสูงอายุไมสามารถแสดงบทบาทตาง ๆ ได เกิดความรูสึกวาตนเองขาดคุณคา ขาดความภาคภูมิใจในตนเอง

ทําใหเ กิด เปนปญหาตอเนื่องกับกลุมผูสูงอายุในสังคมไทย (ศากุล ชางไม, 2550; สวุ ดี เบญจวงศ, 2541: 59)
จากสภาพปญหาขางตน ถาไดมีการเตรียมรับมือกับปญหาเหลานี้เสียแตลวงหนา หรือสรางภูมิคุมกันท่ีดีตาม

แนวคิด ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูทรงพระราชทานแกพสกนิกร ยอมเปนการ

7 ขุ.ธ.(ไทย) 25/148/78.
8 องฺ.จตุกฺก. (ไทย)21/157/217.
9 มูลนิธสิ ถาบันวิจยั และพัฒนาผสู ูงอายุ(มส.ผส). (2555, 11 สิงหาคม). Foundation of Thai Gerontology Research and Development
Institute (TGRI). จาก http://tgri.thainhf.org/?module=news&page2=detail&id=162
10 2555, 11 สิงหาคม. จาก www.cps.chula.ac.th/pop_info/thainop7/aging/policy8.html
11 Buse, A. B. (1993). “Roles of Local Level Elderlies in Respect of Their Families and Communities in Reproductive
Aging in Asia and The Pacific”, Report and selected background papers from The Expect Group Meeting on
Local-Level Policy Development for Dealing with The consequences of Population Aging, 1-4 September, 1992.
Pune, India, New York, United Nation, Asian Population Studies Series No 129, จาก
http://cps.chula.ac.th/pop_info/thai/nop7/aging/Socail2.html

การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ คร้งั ท่ี 1 ประจาํ ป 2562
“นวัตกรรมดา นวิทยาศาสตรและสงั คมศาสตร เพอ่ื ความยัง่ ยืน”

สงั คมศาสตรและมนุษยศาสตร 1038

เตรียมการอยางชาญฉลาด ชวยใหรัฐไมต องทุมงบประมาณจํานวนมหาศาลกบั การฟนฟู ดแู ล รกั ษาผูสูงอายุ
ดงั น้นั การพัฒนาคุณภาพชีวติ ผูสูงอายุเปนสง่ิ จําเปนและเปนเรอ่ื งเรงดว นที่รัฐควรเรงรีบในการดําเนินการ หาก
ไมมกี ารดําเนินการใด ๆ เพอ่ื รองรับสังคมผสู งู อายขุ องไทย กจ็ ะมีแนวโนมที่จะตองเผชญิ กับปญ หาความยากจน
ของผสู ูงอายุ โดยเฉพาะอยางยิง่ การนาํ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งซงึ่ ไดแก หลักความพอประมาณ หลักการ
มเี หตผุ ลและหลักการสรา งภมู ิคมุ กันท่ีดี มาสอดแทรกในปจ จัยที่เกยี่ วของกับคุณภาพชีวิตผสู ูงอายุ สําหรับการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุยอมเปนการสงเสริมสนับสนุนใหผูสูงอายุประสบผลสําเร็จในการดําเนินชีวิต
ซึ่งผูวิจัยไดศึกษาขอมูลในจังหวัดขอนแกน โดยการกําหนดเอาชมรมผูสูงอายทุ มี่ ีกิจกรรมอยูภายใตแนวคิดของ
เกษตรทฤษฎีใหมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อันสืบเน่ืองมาจากโครงการตามพระราชดําริของ

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว โดยชมรมดังกลาว ไดรับรางวัลชมรมนํารองเศรษฐกิจพอเพียงตามแนว
พระราชดําริ (เกษตรทฤษฎีใหม) ระดบั จงั หวัด

จากเหตุและผลทั้งหมดขางตน ผูวิจัยจึงเห็นความสําคัญในการศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตและ
วิเคราะหปจจัยท่ีเกี่ยวของกับคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุในจังหวัดขอนแกน เพื่อนําไปเปนฐานขอมูลในการ
กําหนดแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุจังหวัดขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือใหได
แผนพัฒนาคุณภาพชวี ิตที่เหมาะสมกับผูสูงอายุ และนําไปขยายผลไดอยางมปี ระสิทธภิ าพในชุมชนและสังคม

ตอไป

วัตถุประสงคของการวิจัย

1.เพือ่ ศกึ ษาคุณภาพชวี ติ ผูสูงอายุ จังหวัดขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
2. เพ่ือศกึ ษาปจจยั ท่ีเกีย่ วของกบั คุณภาพชวี ิตผสู งู อายุจงั หวัดขอนแกน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
3. เพอื่ ศกึ ษาแนวทางการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ผูสงู อายจุ งั หวดั ขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง

วิธีดําเนนิ การวจิ ยั
การวิจยั เรอื่ งการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตผูส งู อายุจังหวัดขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง

ผวู จิ ัยไดก ําหนด วิธกี ารศกึ ษาคน ควา ตามลาํ ดบั ดังน้ี
1. รปู แบบการวิจัย การวิจยั ในครงั้ น้ีเปน วิจยั เชงิ ปริมาณผสมการวจิ ยั เชิงคุณภาพ

1.1 ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเก่ียวกับคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุ เพื่อใหทราบถึงหลักการ แนวทาง
ความสําคัญ และการนามาประยุกตใชในงานวิจัยนี้ โดยการทบทวนเอกสาร วารสาร หนังสือ ตํารา และ
งานวจิ ัยตา ง ๆ

1.2 ศึกษาตัวอยางแบบสอบถามคุณภาพชีวิตผูสูงอายุของนักการศึกษาที่ไดทําวิจัยในอดีตที่ผาน

จนถึงปจ จุบัน

การประชุมวิชาการระดบั ชาติ มหาวทิ ยาลัยกาฬสินธุ คร้งั ท่ี 1 ประจําป 2562
“นวัตกรรมดา นวิทยาศาสตรและสงั คมศาสตร เพือ่ ความย่งั ยืน”

สงั คมศาสตรและมนุษยศาสตร 1039

1.3 สรางขอ คําถามตามนิยามศัพทคุณภาพชีวิตจานวน 6 ดา น ประกอบดวยดานสภาพอารมณที่ดี
จํานวน 10 ขอ ดานความสัมพันธระหวา งบุคคล 15 ขอ ดานการรวมกลุมทางสังคม 10 ขอ ดานสภาพความ
เปน อยทู ี่ดี 15 ขอ ดานสภาพรางกายท่ีดี 15 ขอ และดา นการตัดสินใจดว ยตนเอง 10 ขอ รวมทัง้ ส้ิน 75 ขอ ซึง่
ขอคําถามที่ดําเนินการแลวเสร็จ โดยมีลักษณะการตอบเปนแบบมาตรวัดประเมินคา 5 ระดับในการพัฒนา
คณุ ภาพชวี ติ ผสู ูงอายจุ ังหวัดขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

ประชากรและกลุมตวั อยาง
ประชากรท่ีใชในการวิจัยคร้งั น้ีเปนผูสูงอายุในเขตการปกครองสวนทองถิ่นโดยผูวิจัยทําการสุมตัวอยาง
แบบเจาะจง ชมรมผูสูงอายุตําบลกระนวน อําเภอซําสูง และชมรมผูสูงอายุตําบลบานขาม อําเภอน้ําพอง

จังหวัดขอนแกน ซึ่งท้ังสองชมรมไดนําเอาหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาใชในพัฒนาหมูบาน เชน การลด
รายจา ยครวั เรืองมีการปลูกพืชผกั สวนครัว เล้ยี งสัตว คนในชมชนุ มีการลดอบายมขุ และเพมิ่ รายได เชน การใช
เคร่ืองทุนแรงในการประกอบอาชีพทางการเกษตร และการประหยัดครัวเรืองในชุมชนรูจกั การออมเงิน ชมรม
ใหความสําคัญในการนําหลักพุทธธรรมมาสงเสริมคุณภาพชีวิตของผสู ูงอายุ โดยการปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจ
พอเพียง โดยมโี ครงการ/กิจกรรมท่แี สดงถึงการสง เสริมคณุ ภาพชวี ิตของผูสงู อายุอยา งเปนรปู ธรรม

โดยตําบลกระนวน จํานวน 6 หมูบาน จํานวนผูสูงอายุ 771 คน (ขอมูล จากงานสวัสดิการสังคมของ

เทศบาลตําบลซําสูง ณ วันท่ี 6 กุมภาพันธ 2560) และผูสูงอายุตําบลบานขาม จํานวน 16 หมูบาน จํานวน
ผูสูงอายุ 1,482 คน (ขอมูล จากงานสวัสดิการสังคมขององคการบริหารสวนตําบลบานขาม ณ วันท่ี 6
กุมภาพันธ 2560) รวมผูสูงอายุท้ังส้ิน จํานวน 2,253 คน นํามาสุมตัวอยางโดยการใชตารางของ Taro

Yamane จากประชากร 2,253 ไดประชากรกลุมตัวอยาง จํานวน 297(300) คน นํามาคิดอัตราสวนของ
ผูส ูงอายุระหวา งตําบลกระนวนกบั ตําบลบา นขามไดด งั น้ี

ตําบลกระนวน ผูสูงอายุ จาํ นวน 771 คน คิดเปน รอ ยละ 34 ไดก ลุมตัวอยา ง จาํ นวน 101 คน
ตาํ บลบา นขาม ผูส งู อายุ จํานวน 1,482 คน คิดเปนรอ ยละ 67 ไดก ลมุ ตวั อยาง จํานวน 199 คน
เคร่อื งมือทีใ่ ชในการศึกษาวิจยั ประกอบดวย
1) แบบสอบถามสาํ หรับผูสูงอายุ จําแนกเปน 6 ดา น ดังตอ ไปน้ี ดา นสภาพอารมณท ี่ดี

ดานความสัมพันธระหวางบุคคล ดานการรวมกลุมทางสังคม ดานสภาพความเปนอยูที่ดี ดานสภาพ
รา งกายทด่ี ี และดานการตัดสินใจดวยตนเอง ตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง

2) แบบสอบถามประกอบการสัมภาษณ สําหรับคณะสงฆและผูเก่ียวของ โดยมีประเด็นที่สําคัญ เชน
การใชชีวติ ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง

3) การประชุมกลุมยอย (Focus Group) และการสมั มนาเชิงวิชาการ เพ่ือการวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอ
คณุ ภาพชีวติ ของผูสงู อายุตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง

การประชุมวชิ าการระดับชาติ มหาวทิ ยาลัยกาฬสินธุ คร้งั ท่ี 1 ประจาํ ป 2562
“นวัตกรรมดา นวิทยาศาสตรและสงั คมศาสตร เพอื่ ความย่งั ยืน”

สงั คมศาสตรและมนษุ ยศาสตร 1040

การสรา งและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
นาํ แบบสอบถามคณุ ภาพชวี ิตผสู งู อายุ ซงึ่ มจี าํ นวนขอ คาถามทัง้ หมด 75 ขอ เสนอตอผูเ ชย่ี วชาญ 3 ทา น
เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงเชงิ เน้อื หา โดยกําหนดเกณฑใ นการประเมนิ ดงั น้ี

+1 เมือ่ แนใ จวาขอ คาํ ถามมีความสอดคลองเหมาะสม
0 เมอื่ ไมแ นใจวาขอ คําถามมคี วามสอดคลองเหมาะสม
-1 เมอื่ แนใจวา ขอ คําถามไมม ีความสอดคลองเหมาะสม
วิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอมูล
1) การสังเกตแบบมีสวนรวม (Observations Participant) ซ่ึงเปนการสังเกตพฤติกรรมและการ

แสดงออกของฝายตางๆ และเขารวมกิจกรรมกับชุมชนของผูสูงอายุ เพ่ือใหสามารถมองเห็นถึงกระบวนการ
เรยี นรู และกระบวนพฒั นาจิตใจจากการฝก ปฏบิ ัติของผสู งู อายุ

2) การใชแบบสอบถาม เพ่ือเก็บรวบรวมขอมูลความคิดเห็นจากผูสูงอายุ ในดานกระบวนการ
บรู ณาการหลกั เศรษฐกิจพอเพียง

3) การประชุมกลุมยอย (Focus Group) และการสัมมนาเชิงวิชาการเพ่ือการศึกษาเก่ียวกับปจ จัย
ทมี่ ีผลตอ คณุ ภาพชวี ติ ของผสู งู อายุหลักเศรษฐกิจพอเพียง

วิธวี ิเคราะหขอมลู
การวเิ คราะหข อ มลู ที่ไดจากการเกบ็ รวบรวม แบงออกเปน 3 สวน

1. ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตผูสูงอายุในภาพรวมและเปนรายดานโดยใชความถ่ีคาเฉล่ีย และสวน

เบ่ยี งเบนมาตรฐาน ของคุณภาพชีวติ ผูสงู อายรุ ายดา น
สําหรับเกณฑแปลความหมายของคาเฉล่ีย ผูวิจัยไดเลือกใชเกณฑตามแนวคิดของบุญชุม ศรี

สะอาด (บุญชม ศรสี ะอาด และบญุ สง นิลแกว , 2535) พรอ มปรับใหสอดคลองกับมาตรวัดของแบบสอบถามที่
ใชในการวิจัยครัง้ นี้ ซึง่ กาํ หนดชว งของคา เฉลี่ยและการแปลผลระดับคุณภาพชีวิตดงั ตอไปนี้

ระดับ แปลผลระดบั คุณภาพชวี ติ
5 มากท่ีสดุ

4 มาก
3 ปานกลาง
2 นอย
1 นอ ยที่สดุ

2. การกาํ หนดแนวทางการพฒั นาคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุจงั หวัดตามหลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง จาก

การสัมภาษณ และสังเกต โดยการสมั ภาษณผูมีสวนไดสวนเสียในชุมชนหรือหมูบาน เชน ผูนําชุมชน นายก
องคก ารบรหิ ารสว นตําบล ผอู าํ นวยการโรงเรยี น เจาอาวาส

การประชุมวิชาการระดบั ชาติ มหาวทิ ยาลัยกาฬสินธุ ครง้ั ท่ี 1 ประจาํ ป 2562
“นวัตกรรมดา นวทิ ยาศาสตรและสงั คมศาสตร เพื่อความยั่งยืน”

สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร 1041

ผลการศกึ ษา
ผลจากการศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุจังหวัดขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงสรุปผล

เพื่อใหสอดคลองกบั วตั ถปุ ระสงค ไดด งั น้ี
1. ศึกษาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุจังหวัดขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ระดับคุณภาพชีวิตของ

ผสู ูงอายจุ ังหวัดขอนแกนตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง โดยภาพรวม อยใู นระดบั ปานกลาง เม่อื พจิ ารณาเปนราย
ประเด็น โดยเรียงจากมากไปหานอย พบวา ดานความสัมพันธระหวางบุคคลอยูในระดับ มาก รองลงมาคือ
ดานสภาพรา งกายทดี่ ีอยใู นระดบั มาก ดานการรวมกลุมทางสังคมอยูในระดบั มาก ดานสภาพความเปน อยูท่ีดี
อยูในระดับ ปานกลาง ดานสภาพอารมณที่ดีอยูในระดับ ปานกลาง และดานการตัดสินใจดวยตนเองอยูใน

ระดบั ปานกลาง เมื่อแยกเปน ดานตางๆ ไดด ังน้ี
1.1 ดานสภาพอารมณที่ดี โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เม่ือพิจารณาเปนรายประเด็น โดย

เรียงจากมากไปหานอย พบวา ทานเขากับคนอ่นื ไดงาย อยูในระดับมากท่ีสุด รองลงมาคือ ทานรูสึกแจมใส
เบิกบานกับส่ิงรอบขางอยูในระดับมากที่สุด ทานมีความสุขกับสง่ิ รอบขางอยูในระดับมากที่สดุ ทานพึงพอใจ
กับสภาพที่เปนอยูในปจจุบันอยูในระดับมาก ทานสามารถควบคุมความรูสึกของตนเองไดอยูในระดับ มาก
ทานพรอมที่จะยอมรับการเปล่ยี นแปลงที่จะเกิดขึ้นในชีวิตอยูในระดับมาก ทานรูสึกเบ่ือหนายในสิ่งตางๆ อยู

ในระดับนอย ทานไมสบายใจกับสภาพท่ีเปน อยูในปจจุบันอยูในระดับ นอย ทา นรูสึกวาตนเองโดดเด่ยี วอยูใน
ระดบั นอ ยทีส่ ดุ และทา นคิดวา ตนเองไมมีประโยชนตออื่นๆ อยูในระดับนอ ยทีส่ ดุ

1.2 ดานความสัมพันธระหวางบุคคล โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนรายประเด็น

โดยเรียงจากมากไปหานอย พบวา สมาชิกในครอบครัวทานเอาใจใสทานเปนอยางดีอยูในระดับ มากที่สุด
รองลงมาคือ ทา นพดู คุยกับสมาชกิ ภายในครอบครัวเปน ปกตดิ ีอยูในระดับมากที่สดุ เม่อื ทา นเจ็บปว ยเพื่อนบาน
ของทา นไดไปเย่ียมเยียนทานอยูในระดับมากที่สุด สมาชิกในครอบครัวชวยจัดหาอาหารใหทานเปนประจําอยู
ในระดับมากที่สุด ทานชอบใชเวลากับสมาชิกในครอบครัวอยูในระดบั มาก ทานและเพือ่ นบานมีการสนทนา
พูดคุยกันดีอยูในระดับ มาก เพ่ือนบานเปนมิตรกับทานดีอยูในระดับมาก ทานชอบเพื่อนบานของทานอยูใน
ระดับมาก ทานยังไดรับความสําคัญในการปรึกษาเร่ืองตางๆ จากสมาชิกครอบครัวอยูในระดับมาก ทานกับ

เพื่อนของทานไดมีการติดตอ กันอยูในระดับมาก ทานและสมาชิกในครอบครัวมีกจิ กรรมรวมกันเปนประจําอยู
ในระดับมาก ทานมีกิจกรรมตางๆ กับเพ่ือนของทานอยูในระดับมาก เพื่อนบานเปนส่ิงท่ีมีความหมายสําหรับ
ทานอยูในระดับปานกลาง เมื่อทานมีเร่ืองไมสบายใจ ทานสามารถปรับทุกขกับเพื่อนบานของทานไดอยูใน
ระดับ ปานกลาง และสมาชิกในครอบครัวของทา นมักจะปลอยใหทานอยูตามลําพังเพียงคนเดียวอยูในระดับ
นอ ย

1.3 ดานการรวมกลุมทางสังคม โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนรายประเด็น โดย

เรียงจากมากไปหานอย พบวา คนในชุมชนใหความเคารพนับถือทานอยูในระดับมาก รองลงมาคอื ทานไดรับ
การยอมรบั จากคนในชมุ ชนท่ีทานอาศยั อยู อยูในระดับมาก ทา นมีกลมุ เพอื่ นในชุมชนในการพบปะพูดคุยอยูใน

การประชุมวิชาการระดบั ชาติ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ คร้งั ท่ี 1 ประจาํ ป 2562
“นวัตกรรมดา นวิทยาศาสตรและสงั คมศาสตร เพอ่ื ความยัง่ ยืน”

สังคมศาสตรและมนษุ ยศาสตร 1042

ระดับ มาก ทานรักษาผลประโยชนของชุมชนอยูในระดับมาก ทานกิจกรรมรวมกับบุคคลอ่ืน เชน ไปพบปะ
สังสรรค รับประทานอาหาร รวมประชุม งานเล้ียง งานศพ อยใู นระดับ มาก ทานใหความรวมมือในกิจกรรม
ตางๆ ท่ีชุมชนจัดขึ้นอยูในระดับมาก ทานมักใหความชวยเหลือกับชุมชนหรือองคกรตาง ๆ อยูในระดับมาก
ทานเขารวมกิจกรรมที่ชุมชนของทานจัดอยางสม่ําเสมอ อยูในระดับ ปานกลาง ทานไดรับเลอื กทางสังคม เชน
เปน ทป่ี รกึ ษากรรมการชมุ ชน วัด โรงเรยี น หรือสมาคมศิษยเ กา อยูในระดบั ปานกลาง และทานคดิ วา ทานไมมี
ความผูกพันกบั ชุมชนท่อี าศยั อยู อยูใ นระดบั นอ ยทีส่ ุด

1.4 ดานสภาพความเปนอยูที่ดี โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เม่ือพิจารณาเปนรายประเด็น
โดยเรียงจากมากไปหานอย พบวา ทานไมชอบรับประทานอาหารประเภทมีมันสูงอยูในระดับ มากที่สุด

รองลงมาคือ ทา นสนใจการเลือกอาหารท่ีมีประโยชนตอสุขภาพอยูในระดับมาก หองนํ้าท่ีบานมีความสะอาด
ถูกสุขลักษณะเหมาะสมสําหรับทานอยูในระดบั มาก อาหารท่ีทา นรบั ประทานในแตล ะวนั มีผักและผลไมรวมอยู
ดวย อยูในระดบั มาก ทานมเี งินเก็บสะสมเพื่อการดาํ รงชีพ อยูในระดับมาก ปจจบุ ันรายจายของทานเพียงพอ
ตอการดํารงชีพอยู อยูในระดับมาก ปจจุบนั ทา นมีรายไดดว ยตนเองพอเพียงตอการดํารงชีพ อยใู นระดับมาก
ปจจุบนั ทา นยังประกอบอาชีพหลักอยู อยูในระดับมาก รายไดข องทานปจจุบันยังตองพ่ึงพาอาศยั ลูกหลานอยู
อยูในระดับปานกลาง เม่ือทานเจ็บปวยขน้ึ มาทานยังตองพ่ึงคา ใชจายรักษาพยาบาลจากลกู หลาน อยูในระดับ

ปานกลาง ปจ จบุ นั ทา นยงั มีอาชีพเสริมรายไดอยู อยูใ นระดบั ปานกลาง เมื่อทานมีความจําเปนตองชวยงานการ
กุศลตางๆ จําเปนตองพ่ึงเงินจากลูกหลาน อยูในระดับนอย ปจจุบันทานยังมีความตองการไดรับการอบรม
อาชีพเสริมเพ่ือสรางรายได อยูในระดับนอย เม่อื เจ็บปวยทานจะตองเสียคารักษาพยาบาลดวยตนเอง อยูใน

ระดบั นอ ย และปจ จุบันทา นยงั มภี าวะหนส้ี ินจะตองจา ยเปนประจาํ อยูใ นระดบั นอ ย
1.5 ดานสภาพรางกายทีด่ ี โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เมอ่ื พิจารณาเปน รายประเดน็ โดยเรยี งจาก

มากไปหานอย พบวา ทานหลีกเลี่ยงการสูบบุหร่ี อยูในระดับมากท่ีสุด รองลงมาคือ ทานหลีกเลี่ยงการด่ืม
เคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอล อยใู นระดับมากที่สุด ทานหลีกเล่ียงอาหารที่เปนอันตรายตอสุขภาพ เชน อาหารมี
ไขมนั สูง คอเรสเตอรอลสงู อาหารหรือขนมทมี่ ีหวานมาก อยใู นระดับมากท่ีสุด ทานปฏิบัติตนอยา งเครง ครัดใน
การดูแลสขุ ภาพของตนเอง อยใู นระดบั มาก ทา นเดนิ ทางไปทต่ี า งๆ ดวยตวั เอง อยใู นระดับมาก ทานมคี วามพึง

พอใจในสุขภาพของตนเอง อยูในระดับมาก ทานอาน/ดูขาวสาร เรื่องสุขภาพ อยูในระดับมาก ทานไดรับ
ขา วสารทางสขุ ภาพจากครอบครัว ญาติมิตร อยูในระดบั มาก ทา นไดร บั ขา วสารตางๆ เกย่ี วกบั การดแู ลสุขภาพ
ผูสูงอายุในสถานการณปจจุบัน อยูในระดับมาก ทานมีเวลาในการออกกําลังกาย อยูในระดับมาก ปจจุบัน
หนวยราชการและเอกชนใหการสนับสนนุ สงเสริมสุขภาพแกทา น อยใู นระดับปานกลาง ทา นตรวจสุขภาพเปน
ประจํา อยูในระดับ ปานกลาง ทานไมชอบกิจกรรมที่ตองมีการเคล่ือนไหวรางกาย อยูในระดับปานกลาง และ
ทานมกั เจบ็ ไขไ ดป วย อยูในระดบั นอย

1.6 ดานการตัดสินใจดว ยตนเอง โดยภาพรวมอยูในระดบั ปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายประเด็น
โดยเรยี งจากมากไปหานอ ย พบวา ทา นตดั สินใจท่ีจะทําหรือไมท ํา ส่ิงตา งๆ ไดด ว ยตนเอง อยูใ นระดบั มากทสี่ ุด

การประชุมวชิ าการระดับชาติ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ คร้งั ท่ี 1 ประจาํ ป 2562
“นวัตกรรมดา นวิทยาศาสตรและสังคมศาสตร เพอื่ ความย่ังยืน”

สงั คมศาสตรและมนุษยศาสตร 1043

รองลงมาคอื ทานสามารถกาํ หนดส่งิ ตางๆ ในชีวิตประจําวันไดดวยตนเอง อยูในระดับมาก ทานสามารถเลือก
ทําในส่ิงทท่ี านปรารถนาหรือตอ งการ อยูในระดับมาก ทา นจะแสดงความคิดเห็นในกิจกรรมทท่ี านไมเห็นดวย
วาตองทํา อยูในระดับปานกลาง ทานมักจะทําตามส่ิงท่ีทานตั้งใจ แมวาจะมีคนอ่ืนไมเห็นดวยก็ตาม อยูใน
ระดับนอย ทานชอบปฏิบัติตามคําแนะนาํ ของผูอื่นมากกวาท่ีจะตัดสินใจดวยตนเอง อยูในระดับนอย ทานไม
กลาท่ีจะแสดงความคิดเห็นในเร่ืองตางๆ กับคนรอบขาง เชน คนในครอบครัว ญาติมิตร เพื่อนสนิท อยูใน
ระดบั นอ ย ทา นมักจะไดส่งิ ท่ีทานไมตองการ อยใู นระดบั นอย ทานขาดความเปน อิสระในการทาํ กิจกรรมตางๆ
ทีท่ านอยากจะทํา อยูในระดบั นอ ย และทา นตอ งทาํ สง่ิ ที่ทา นรูสกึ ฝนใจ อยูในระดับนอยทสี่ ุด

2. ปจจัยที่เก่ียวของกับคุณภาพชีวิตผูสูงอายุจังหวัดขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ปจจัยท่ี

เก่ียวของกับคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุจังหวดั ขอนแกน โดยภาพรวม อยูในระดับ มาก เมื่อพิจารณาเปนราย
ประเด็น โดยเรียงจากมากไปหานอย พบวา ดานคุณธรรม อยูในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ดานความ
พอประมาณ อยูในระดับมาก ดานความรู อยูในระดับมาก ดานมีเหตุผล อยูในระดับมาก และดานการมี
ภมู คิ ุม กนั อยูในระดับมาก เมือ่ แยกเปน ดา นตา งๆ ไดด ังน้ี

2.1 ดานความพอประมาณ โดยภาพรวม อยูในระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนรายประเด็น โดยเรียง
จากมากไปหานอย พบวา ทานและครอบครัวไมพยายามกอหนีส้ ิน อยใู นระดบั มากท่ีสดุ รองลงมาคือ ทา นใช

จายเงินอยางประหยัดเลือกซ้ือเฉพาะสินคาที่จําเปนตอการดํารงชีวิต อยูในระดับ มากท่ีสุด ทานจะคํานึงถึง
คุณคา และราคาสิ่งท่ีทานคิดวาฟมุ เฟอยอยูเสมอ อยูในระดับมากท่ีสุด ทานมีความระมัดระวังและวางแผนการ
ใชจา ยของทา นอยา งรอบคอบ อยใู นระดบั มากทีส่ ดุ และทา นมีรายไดเพยี งพอตอ การดํารงชวี ิตประจาํ วนั อยูใน

ระดบั มาก
2.2 ดานความมีเหตุผล โดยภาพรวม อยูในระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนรายประเด็น โดยเรียงจาก

มากไปหานอย พบวา ทานกระทําการใด ๆ ท่ปี ราศจากการเบยี ดเบยี นทั้งตนเองและผูอืน่ อยใู นระดับมากทีส่ ุด
รองลงมาคือ ทานมีการพิจารณาที่จะดําเนินงานใดๆ ดว ยความถี่ถวนรอบคอบ ไมยอทอ ไรอคติ อยูในระดับ
มากที่สุด ทา นใชทรัพยากรธรรมชาติอยางประหยัดและรูคุณคาอยา งสมํ่าเสมอ อยูในระดับมาก ทานคํานึงถึง
เหตแุ ละผลของปจจัยสิง่ แวดลอ มทั้งหมดกอ นกระทาํ การส่ิงใดๆ อยูใ นระดับมาก และทานใชอารมณความรสู ึก

สวนตวั ในการตัดสนิ ใจในการดาํ รงชีวติ อยูในระดับนอ ย
2.3 ดานการมีภูมิคุมกันท่ีดี โดยภาพรวม อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายประเด็น โดยเรียง

จากมากไปหานอย พบวา ทานยึดความประหยัด ตัดทอนรายจายในทุกๆ วันท่ีไมจาํ เปน ลดละความฟุมเฟอย
อยูในระดับมาก ทานมกี ารฝากเงินออม การซ้ือพันธบัตรรัฐบาล สลากออมสิน อยา งเปนประจํา อยูในระดับ
มาก ทานมีการวางแผนระยะยาว เพื่อเตรียมรับกับเหตุการณที่คาดไมถึง อยูในระดบั มาก ทานมักจะมีวิธีการ
หรอื แนวทางในการลดคาใชจา ยในแตละวนั อยูในระดบั มาก และทา นมกี ารทาํ รายรับรายจายของตนเองอยาง

สมาํ่ เสมอ อยูในระดับปานกลาง

การประชุมวชิ าการระดับชาติ มหาวทิ ยาลัยกาฬสินธุ ครง้ั ท่ี 1 ประจาํ ป 2562
“นวัตกรรมดา นวทิ ยาศาสตรและสงั คมศาสตร เพื่อความยงั่ ยืน”

สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร 1044

2.4 ดานความรู โดยภาพรวม อยใู นระดบั มาก เมอ่ื พจิ ารณาเปนรายประเด็น โดยเรยี งจากมากไปหา
นอย พบวา ทานคิดรอบคอบทุกครงั้ ที่ปฏิบัตสิ ิ่งใด อยูในระดับมากที่สุด รองลงมาคอื ทา นเพิ่มพูนความรูโดย
การติดตามขาวสาร ทําใหทานรูทันสถานการณในปจจุบัน อยูในระดับมาก ทานนําความรูเกี่ยวกับเศรษฐกิจ
พอเพียงทไ่ี ด ไปประยกุ ตใชในชีวติ ประจาํ วนั อยใู นระดบั มาก ทานนาํ หลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง ไปเผยแพรใหเกิด
ประโยชนอยางแพรหลาย อยูในระดับมาก และทานเรียนรูจากคนที่ประสบความสําเร็จแลวนํามาปรับใชก ับ
ชีวิตของทาน อยูในระดบั มาก

2.5 ดานคุณธรรม โดยภาพรวม อยูในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเปนรายประเด็น โดยเรียงจาก
มากไปหานอย พบวา ทานมีความซ่ือสัตยตอตนเอง อยูในระดับมากท่ีสุด รองลงมาคือ ทานมีความขยนั มั่น
เพียรในการประกอบอาชีพ อยูในระดับมากท่ีสุด ทานมีความซ่ือสัตยตอผูอ่ืน อยูในระดับมากที่สุด ทานใช
สตปิ ญญาในการดําเนนิ ชีวิต ไมโลภ และไมตระหน่ี อยูในระดับมากที่สุด และทานมคี วามอดทน มีความเพียร
ในการดาํ รงชีวิต อยใู นระดับมากทสี่ ดุ

3. แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุจังหวัดขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการ
พฒั นาคณุ ภาพชีวิตผสู ูงอายุจังหวัดขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยผวู ิจยั ไดนําเอาปญหาของผสู ูงอายุ
จังหวัดขอนแกน และแยกเปนดานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง คือ 1) ดานสภาพอารมณท่ีดี โดยการ
นําเอาปญหาของผูสูงอายุจังหวัดขอนแกน คือ เหงา สภาพจิตใจไมดี อารมณไมดี แนวทางการพัฒนา ควร
สนับสนุนกิจกรรมที่หลากหลาย ผลท่ีจะได คือ ทําใหผูสูงอายุเพลิดเพลินคลายความเหงาและมีอารมณที่ดีขึ้น
2) ดา นความสัมพันธระหวางบคุ คล โดยการนําเอาปญหาของผสู ูงอายุจังหวัดขอนแกน คือ ชอบเก็บตัวอยูคน
เดยี ว แนวทางการพฒั นา ตอ งสรางกิจกรรมใหผ สู ูงอายุไดแ สดงออก เชน แบง ปนความรูใหเพอ่ื นบาน ใหเพ่ือน
ขา งบานมาพูดคุย ผลท่จี ะได คอื ทาํ ใหเ ปน มติ รไมตรีตอ กัน มีเพื่อนบานเพม่ิ ข้ึน 3) ดา นการรวมกลุมทางสังคม
โดยการนําเอาปญ หาของผูสูงอายุจังหวัดขอนแกน คือ ความแตกตางดานรู แนวทางการพัฒนา การไปทําบุญ
แบงปนความรูใหสังคม ผลท่ีจะได คือ ทําใหจิตใจดี เพ่ือนบานใหความสนใจ และไดรับการชื่นชม 4) ดาน
สภาพความเปนอยูที่ดี โดยการนําเอาปญหาของผูสูงอายุจังหวัดขอนแกน คือ บานไมมีราวจับสาํ หรับผูสูงอายุ
ไมมีทางเดินทางลาด แนวทางการพฒั นา มีความมั่นคงในบา น บานรมรื่น ควรทําทางลาดใหผูสูงอายุ ผลท่ีจะ
ได คอื มีสิ่งแวดลอมที่ดี-มีความเปนอยูท่ีพอเพียง 5) ดานสภาพรางกายที่ดี โดยการนําเอาปญหาของผูสูงอายุ
จังหวัดขอนแกน คือ ไมมีที่ออกกําลังกายอยางเหมาะสม แนวทางการพัฒนา ควรจัดที่ออกกําลังกาย ตรวจ
สุขภาพตนเองเปนประจํา ผลท่ีจะได คือ สุขภาพรางกายแข็งแรง ไมปวยงาย 6) ดานการตัดสินใจดวยตนเอง
โดยการนําเอาปญหาของผูสูงอายุจังหวัดขอนแกน คือ ขาดความเชื่อม่ันในตนเอง แนวทางการพัฒนา ไม
คิดถึงส่ิงทผี่ ดิ มีความมนั่ ใจ ผลทจี่ ะได คอื กลา ตดั สินใจดว ยตนเอง ไมมคี วามไมสบายใจแกค รอบครัว

อภปิ รายผลการวจิ ัย
1) คุณภาพชีวิตผูสูงอายุจังหวัดขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ระดับคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุ

จังหวัดขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ดานความสัมพันธระหวางบคุ คลอยูในระดับมาก และเปนดา นที่มี

การประชุมวิชาการระดบั ชาติ มหาวทิ ยาลัยกาฬสินธุ ครง้ั ท่ี 1 ประจําป 2562
“นวัตกรรมดา นวิทยาศาสตรและสังคมศาสตร เพื่อความยง่ั ยืน”

สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร 1045

คุณภาพชีวติ ท่ีสูงที่สุดเมื่อเทียบกบั ดานอ่ืนๆ จากการศึกษาพบวา ผูสูงอายสุ วนใหญมีสภาพรางกายที่ดี มีการ
รวมกลุมทางสังคม สภาพความเปนอยูที่ดี สภาพอารมณท่ีดี และการตัดสินใจดวยตนเอง ซึ่งสอดคลองกับ
ปล้ืมใจ ไพจิตร.คุณภาพในการดํารงชีวิตของผูสงู อายุในจังหวดั สุราษฎรธานี ผลการวิจัยพบวา ระดบั คุณภาพ
ในการดํารงชวี ิตของผูสูงอายุ ในภาพรวมและรายดานอยูในระดับคุณภาพดี ไดแก ดา นสัมพันธภาพทางสังคม
ดานจิตใจ ดานรางกายและดานส่งิ แวดลอม ผลเปรียบเทียบคุณภาพในการดํารงชีวติ ของผูสงู อายุ จําแนกตาม
ปจจัยสวนบุคคลพบวา เพศ อายุ วุฒิการศึกษา แหลงทมี่ าของรายไดหลัก และ รายไดเฉล่ียตอเดือน แตกตาง
กันทาํ ใหค ณุ ภาพในการดํารงชีวติ ของผูสูงอายตุ า งกนั อยา งมี นยั สาํ คัญทางสถติ ิ .05 ระดบั ความพงึ พอใจในการ
จดั สวัสดิการสงั คมของผสู ูงอายุพบวา ในภาพรวม อยรู ะดับปานกลาง เมอ่ื พจิ ารณารายดา น พบวา อยูใ นระดับ

มาก 3 ดานและ ระดับปานกลาง 7 ดาน ผลการศึกษาปญหาและขอเสนอแนะในการจดั สวัสดิการสังคม ของ
ผูสูงอายุมปี ญ หาที่สําคัญ คอื การจา ยเบี้ยยงั ชพี ไมต รงเวลา ความลา ชา การใหบริการ การบรกิ ารของเจาหนาท่ี
สาธารณสุขไมท่ัวถึงพื้นท่ีชนบทขอเสนอแนะท่ีสําคัญ คือ เพ่ิมเบ้ียยังชีพและจายตรงเวลามีหนวยงานของรัฐ
หรอื เจาหนาที่สาธารณสุขใหความรูการดูแล สุขภาพแกผูสงู อายุ และต้ังศูนยตรวจสุขภาพของผูสูงอายุทุก ๆ
เดอื น

2) การวิเคราะหปจจัยที่เกี่ยวของกับคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุจังหวัดขอนแกน โดยภาพรวม อยูใน

ระดับมาก จากการศึกษาพบวา ปจจัยที่เก่ียวของกับคุณภาพชีวิตของผสู ูงอายุจังหวัดขอนแกน ดานคุณธรรม
อยใู นระดบั มากทสี่ ดุ รองลงมาคอื ดานความพอประมาณ ดานความรู ดา นมเี หตผุ ล และดา นการมีภูมิคุมกัน
ซึ่งสอดคลองกับ วรรณวิมล เมฆวิมล. รายงานการวิจัย เร่ือง ปจจัยท่ีมีความสัมพันธตอพฤติกรรมการ

รับประทานอาหารของผูสูงอายุจังหวัดสมุทรสงคราม กลุมตัวอยาง จานวน 316 คน เก็บขอมูลโดยใชแบบ
สัมภาษณ วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติ คารอยละคาเฉล่ีย คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน วิเคราะหหาความสัมพันธ
ระหวางปจจัยตางๆกับพฤติกรรมการรับประทานอาหารของผูสูงอายุดวยสถิติไคสแควร และสถิติคา
สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธของเพยี รสัน ผลการวิจัยพบวา 1) พฤติกรรมการรบั ประทานอาหารของผูส งู อายุอําเภอ
อัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม อยูในระดับปานกลาง 2) ปจจยั ทางชีวสังคมท่มี ีความสัมพันธกับพฤติกรรมการ
ดแู ลสขุ ภาพ คือ แหลง ที่มาของรายได สวน เพศ อายุ สถานภาพ การพกั อาศยั รวมกบั บุคคลตา งๆ ของผสู งู อายุ

รายไดตอเดือน และการมีโรคประจาตัว ไมมีความสัมพันธพฤติกรรมการรับประทานอาหารของผูสูงอายุ
3) ปจจยั นําซึ่งประกอบไปดวย ความรูเก่ียวกับการรับประทานอาหาร และการรับรูประโยชนของการดูแล
สุขภาพ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการรบั ประทานอาหารของผูสูงอายุ 4) ปจจัยเอื้อ ซึ่งประกอบไปดวย
ทรพั ยากรทีส่ งเสริมพฤติกรรมการรับประทานอาหารของผูส ูงอายุ และกจิ กรรมในการสงเสริมสุขภาพผสู ูงอายุ
มีความสัมพนั ธกับพฤติกรรมการรับประทานอาหารของผูสูงอายุ 5) ปจจัยเสริม ซ่ึงประกอบไปดวย การไดรับ
ขอมูลขาวสารเก่ียวกับการรับประทานอาหารจากส่ือตางๆ และการไดรับคําแนะนํา หรือการสนับสนุนให

ปฏิบัติตนเรื่องการรับประทานอาหารของผูสูงอายุจากบุคคลตางๆ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการ
รบั ประทานอาหารของผสู ูงอายุ

การประชุมวชิ าการระดับชาติ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ ครง้ั ท่ี 1 ประจาํ ป 2562
“นวัตกรรมดา นวิทยาศาสตรและสงั คมศาสตร เพอ่ื ความย่ังยืน”

สงั คมศาสตรและมนษุ ยศาสตร 1046

3) แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวติ ผูสูงอายุจังหวัดขอนแกน ตามหลักเศรษฐกิจมีแนวทางในการพัฒนา
6 ดาน ไดร บั จากการระดมสมองแบบการมีสว นระหวา งผสู งู อายุในพื้นที่การวิจยั ผวู ิจัย พรอ มทัง้ ใชการทบทวน
เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของสังเคราะห เชอื่ มโยงใหเกิดลักษณะที่เปนรูปธรรมมากทสี่ ุด โดยพิจารณาจาก
บริบท ศักยภาพของชุมชน ทองถิ่นเขามาเสริมสรางใหแนวทางการพัฒนาสูการปฏิบัติซ่ึงสอดคลองกับ
เศรษฐวัฒน โชควรกุล.นโยบายการพฒั นาคุณภาพชวี ิตผูสูงอายขุ ององคกรปกครองสว นทองถิ่นในเขตจังหวัด
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผลการวิจัยพบวา ประการแรกพบวาการวิเคราะหประเด็นเรื่องการกอตัวของ
นโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุท่ีสามารถเขา สูวาระนโยบายขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนไป
ตามกรอบการวิเคราะหสามกระแส ไดแก กระแสการเมือง กระแสตัวปญหา กระแสนโยบายและหนาตาง
นโยบายตามตวั แบบของ Kingdon ประการท่ีสองพบวาปจจัยที่สงผลตอความสาํ เรจ็ ของการนํานโยบายการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตผสู ูงอายุขององคก รปกครองสวนทอ งถ่ินไปปฏิบัติเรียงตามลาดับความสําคัญไดด ังน้ี คือ 1)
ภาวะผูนํา 2) ทรัพยากรนโยบาย 3) การบริหารจัดการ 4) ความตองการของผูสูงอายุ 5) ความรวมมือของ
หนวยงานที่เกี่ยวของ ประการที่สามพบวาผลกระทบในดานบวกคือ การนํานโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ผูสูงอายุไปปฏิบัติจะทําใหคุณภาพชีวติ ผูสูงอายุดีข้ึนท้ังทางสุขภาพรางกายจิตใจและรายไดผ ลกระทบในดาน
ลบคอื ปญหาดานความจํากดั ของงบประมาณการขาดความรูความเขา ใจในเร่ืองผสู งู อายขุ องบุคลากรในองคกร

ปกครองสวนทองถิ่นรวมท้ังการมีบคุ ลากรจํานวนนอยไมส ามารถดูแลผสู ูงอายุไดท่ัวถงึ ประการท่สี ี่พบวา องคกร
ปกครองสวนทอ งถ่ินประสบความสําเร็จในการนาํ นโยบายการพฒั นาคุณภาพชีวติ ผูส ูงอายไุ ปปฏิบตั ิอยูในระดับ
ปานกลางและควรปรับปรุงการนํานโยบายไปปฏิบัติหลายดานไดแกงานดานงบประมาณการบริหารบุคลากร
การจัดทาฐานขอ มูลอยา งบูรณาการและการจัดใหมีเครอื ขา ยความรว มมือท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ

องคความรูทีไ่ ดจ ากการวิจยั

ผลจากการศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุจังหวัดขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง องค
ความรดู งั น้ี

1. คุณภาพชีวิตผูสูงอายุจังหวัดขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ระดับคณุ ภาพชีวิตของผูสูงอายุ
จงั หวัดขอนแกน ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง โดยภาพรวม อยใู นระดับ ปานกลาง เม่อื พจิ ารณาเปน รายประเด็น
โดยเรยี งจากมากไปหานอย พบวา ดานความสมั พันธระหวางบคุ คลอยูในระดับ มาก รองลงมาคอื ดานสภาพ
รางกายที่ดีอยูในระดับ มาก ดานการรวมกลุมทางสังคมอยูในระดับ มาก ดานสภาพความเปนอยูท่ีดีอยูใน
ระดับ ปานกลาง ดานสภาพอารมณท่ีดีอยูในระดับ ปานกลาง และดานการตัดสินใจดวยตนเองอยูในระดับ
ปานกลาง เม่อื แยกเปนดา นตา งๆ

2) ปจจัยท่ีเกี่ยวของกับคุณภาพชีวิตผูสูงอายุจังหวัดขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ปจจัยท่ี

เกี่ยวของกับคุณภาพชีวิตของผูสงู อายุจังหวัดขอนแกน โดยภาพรวม อยูในระดับ มาก เม่ือพิจารณาเปนราย
ประเด็น โดยเรียงจากมากไปหานอย พบวา ดานคุณธรรม อยูในระดับ มากที่สุด รองลงมาคือ ดานความ

การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ ครง้ั ท่ี 1 ประจาํ ป 2562
“นวัตกรรมดา นวิทยาศาสตรและสงั คมศาสตร เพอ่ื ความยงั่ ยืน”

สงั คมศาสตรและมนษุ ยศาสตร 1047

พอประมาณ อยูในระดับ มาก ดานความรู อยูในระดับ มาก ดานมีเหตุผล อยูในระดับ มาก และดานการมี
ภมู คิ ุมกนั อยูในระดับ มาก

3) การพฒั นาคณุ ภาพชีวิตผูสงู อายุจังหวดั ขอนแกน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง มีแนวทางในการพัฒนา
6 ดาน ไดร ับจากการระดมสมองแบบการมีสวนรวมระหวางผูสงู อายุในพื้นที่การวิจัย ผูวิจัย พรอมท้ังใชการ
ทบทวยเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของสังเคราะห เชื่อมดยงใหเกิดลักษณะที่เปนรูปธรรมมากท่ีสุด โดย
พจิ ารณาจากบริบทศกั ยภาพของชมุ ชน ทอ งถน่ิ เขา มาเสริมสรางใหแ นวทางการพัฒนาสกู ารปฏิบัตติ อได

ขอเสนอแนะและการนาํ ไปใช

เพ่ือศึกษาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ จังหวัด ค ว ร มี ก า ร ศึ ก ษ า ผ ล ก า ร นํ า แ น ว ท า ง ก า ร

ขอนแกน ตามหลักเศรษฐกจิ พอเพียง พัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุไปทดลองใช เพื่อจะได

นํามาปรับปรุง หรือเสริมแนวทางการพัฒนา

ดังกลาวใหม ปี ระสทิ ธิภาพยงิ่ ขึ้นตอไป

เพื่อศึกษาปจจัยที่เก่ียวของกับคุณภาพชีวิต ควรมีการศึกษาปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับ

ผูสูงอายุจังหวัดขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจ ความพงึ พอใจของคุณภาพชีวติ ผสู งู อายุ

พอเพยี ง

เพ่ือศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิต 1.ควรมกี ารศึกษาแนวทางหรือการจัดทํากล

ผูสูงอายุจังหวัดขอนแกนตามหลักเศรษฐกิจ ยุทธในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ เพ่ือนํา

พอเพยี ง ขอมูลที่ไดมาวิเคราะหและจัดทําแนวทางการ

พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ผูสงู อายไุ ดอ ยา งเหมาะสม

2.ควรมีการศึกษาและหาแนวทางการพัฒนา

คุณภาพชีวิตในการสงเสริมกิจพัฒนากิจกรรม เพื่อ

ชวยในการสรางเสริมสุขภาพดานสุขภาพจิต และ

สุขภาพทางสังคมของผูสูงอายุ ตลอดจนการใช

บรกิ ารที่ดคี วรมีลักษณะเปนอยา งไร

เอกสารอางองิ
จิราพร เกศพิชญวฒั นา. (มปป.).
บังอร ธรรมศิริ. (2549). ครอบครัวกับการดูแลผูสูงอายุ. วารสารการเวก ฉบับนิทรรศการวันเจาฟาวิชาการ,

คณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ, 47-56.

พีรเทพ รุงคุณากร. (2550). ตามรอยพระบาทประชาราษฎรเศรษฐกิจพอเพียง. มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาสารคาม

การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ คร้งั ท่ี 1 ประจําป 2562
“นวัตกรรมดา นวิทยาศาสตรและสังคมศาสตร เพอื่ ความย่ังยืน”

สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร 1048

วลัยพร นันทศุภวัฒน และคณะ. (2548). โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ. คณะพยาบาลศาสตร
มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.

วศิน สิริเกียรติกุล. (2553). พฤติกรรมการมีภูมิคุมกันตนตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของนักเรียน
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ช้ันปที่ 1 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม โรงเรียนเซนตจอหนเทคโนโลยี.
วารสารศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร วทิ ยาเขตปตตานี, 21(2), 291-312.

วิพรรณ ประจวบเหมาะ. (2553). โครงสรางระบบการติดตามและประเมินผลแผนผูสูงอายุแหงชาติ ฉบับที่ 2
(พ.ศ. 2545 - 2564) จุฬาสัมพันธ ปที่ 53 ฉบับท่ี 9, วันจันทรท่ี 8 มีนาคม 2553, จาก
http://www.research.chula.ac.th/cu_online/2553/vol_9_1.html

วิ ท ย า ลั ย ป ร ะ ช า ก ร ศ า ส ต ร จุ ฬ า ล ง ก ร ณ ม ห า วิ ท ย า ลั ย . ( 2 5 5 5 , 1 1 สิ ง ห า ค ม ) , จ า ก
www.cps.chula.ac.th/pop_info/ thai/nop7/nop5/ N5-WHOLE.HTM

ศากุล ชางไม. (2550). สงั คมไทยกบั สถานการณผูสงู อายุในปจจุบันและอนาคต. มตชิ น.
ศาลินา บุญเก้ือ และคณะ. (2557). รายงานการวิจัยการถอดบทเรียนและวิเคราะหอัตลักษณศูนยการเรียนรู

ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา. ศูนยสถานศึกษาพอเพียง มูลนิธิยุวสถิรคุณ:
สาํ นกั งานทรพั ยสินสว นพระมหากษัตรยิ .

สมศักด์ิ ดลประสิทธ์ิ. (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการอบรมสัมมนาเร่ืองการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน.
จาก http://www.moe.go.th/wijai/sbm.htm

สิงหา จันทริยวงษ. (2551). รายงานการวิจัยการพัฒนารูปแบบที่เหมาะสมสาหรับคุณภาพชีวิตผูสูงอายุใน

ชนบทโดยใชค รอบครัวเปน ศูนยกลาง. สถาบันวจิ ัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ ินทร.
สุวดี เบญจวงศ. (2541). ผูสูงอายุ คนแกและคนชรา : มิติทางสังคมและวัฒนธรรม. มนุษยสังคมสาร

มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมูบ า นจอมบึง, 54-60.
สุทธิพงศ บุญผดุง. (2554). รายงานการวิจยั การพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสงู อายุในทองถน่ิ โดยใชโรงเรียนเปนฐาน

ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง (ระยะท่ี 1). มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสนุ นั ทา.
สํานกั งานคณะกรรมการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาต.ิ (2549). แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต.ิ

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผูสูงอายุ (มส.ผส). (2555, 11 สิงหาคม). Foundation of Thai Gerontology
Research and Development Institute ( TGRI) . จ า ก http: / / tgri. thainhf. org/ ?module=
news&page2= detail&id=162

ศรีเรือน แกวกังวาน. (2540). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกชวงวัย (พิมพครั้งท่ี 7). กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร, 515.

อรศรี งามวทิ ยาพงศ. (2545). “จัดระเบยี บความตาย ”. เสขยิ ธรรม, 12(53), 58

Buse, A. B. (1993). “Roles of Local Level Elderlies in Respect of Their Families and

การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ ครง้ั ท่ี 1 ประจาํ ป 2562
“นวัตกรรมดา นวทิ ยาศาสตรและสงั คมศาสตร เพือ่ ความยง่ั ยืน”

สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร 1049

Communities in Reproductive Aging in Asia and The Pacific” , Report and selected
background papers from The Expect Group Meeting on Local- Level Policy
Development for Dealing with The consequences of Population Aging, 1-4 September,
1992. Pune, India, New York, United Nation, Asian Population Studies Series No 129, จาก
http://cps.chula.ac.th/pop_info/thai/nop7/aging/Socail2.html

Phalakornkule, Suchint & Saowalos Tongpan. (1992). Elderly in Thailand, Productive Aging
in Asia and The Pacific. Asian Population Studies Series. N 129, pp 100-104.

การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ ครง้ั ท่ี 1 ประจาํ ป 2562
“นวัตกรรมดา นวทิ ยาศาสตรและสงั คมศาสตร เพอื่ ความย่งั ยืน”


Click to View FlipBook Version