The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงงานผิวสวยด้วยงากลุ่ม เดี่ยว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by oyknw04, 2021-03-21 00:15:37

โครงงานผิวสวยด้วยงากลุ่ม เดี่ยว

โครงงานผิวสวยด้วยงากลุ่ม เดี่ยว

ผวิ สวยด้วยงา

จัดทาโดย
นางสาวกรกนกวรรณ ศรภี ารกั ษ์ เลขที่ 8

ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4

เสนอ
คุณครูวนดิ า บุญพิเชฐวงศ์

รายงานฉบับนเ้ี ปน็ ส่วนหนง่ึ ของวชิ าการงานอาชพี
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

โรงเรยี นสตรีราชินูทิศ จังหวดั อดุ รธานี
สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอดุ รธานี

บทคดั ยอ่

งาดา เปน็ ทัง้ อาหาร และยานัน้ เกิดขึ้นมาต่อเนื่องเป็นระยะเวลามากกว่า 5,000 ปี ภายในเมล็ดงานั้น
มีองค์ประกอบสาคัญคือ น้ามัน โดยจะมีถึงร้อยละ 44-60 น้ามันงาที่ได้นั้นมีฤทธ์ิช่วยในการต่อต้านการเกิด
ออกซิไดซ์ ทาใหร้ ่างกายเกิดสมดุล ช่วยชะลอความเส่ือมโทรมของส่วนต่างๆในร่างกายได้เป็นอย่างดี อีกท้ังยัง
ป้องกนั การเกิดโรคร้ายแรงต่างๆอกี ดว้ ย จงึ มีการนิยมนามาใสใ่ นอาหารจาพวกสลดั ใช้ปรุงอาหารท่ัวไป และใส่
ในขนมต่างๆ นอกจากน้ันยังเป็นส่วนผสมในการผลิตสบู่ ยา น้ามันหล่อลื่น และยังเป็นส่วนผสมของ
เครื่องสาอางบางชนิดอีกด้วย มีหลายๆคนยกให้งาดา เป็น ราชาแห่งธัญพืช เพราะเป็นธัญพืชที่อยู่ในหน้า
ประวัติศาสตรท์ ่ยี าวนาน โดยทุกวันนี้นอกจากงาดาจะทาหน้าท่ีหลักในการใช้ประกอบอาหารแล้ว ยังกลายมา
เปน็ ผลิตภัณฑ์เสริมสรา้ งสขุ ภาพอกี มากมาย นน่ั เปน็ เพราะคนเราในยุคนี้เร่ิมมองเป็นและเข้าใจคุณประโยชน์ท่ี
แท้จรงิ ของ งาดา อย่างลกึ ซึ้งยิ่งข้ึน

กิตตกิ รรมประกาศ

โครงงานครง้ั นส้ี าเร็จลุลว่ งด้วยดี เพราะไดร้ บั ความกรณุ า แนะนา ช่วยเหลอื เป็นอยา่ งดียงิ่ จาก
คุณครวู นิดา บุญพเิ ชฐวงศ์ ครทู ี่ปรึกษารายวิชาการงานอาชพี ซ่ึงผูศ้ ึกษาร้สู กึ ซาบซึ้งและเป็นพระคุณอย่างยงิ่
จึงขอกราบขอบพระคุณเปน็ อย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้

สุดท้ายขอขอบคณุ เพ่ือนๆนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5/4 ทใ่ี หข้ ้อมลู อยา่ งเต็มทท่ี าให้โครงงานครั้งนี้
สาเรจ็ ลุล่วงไปไดด้ ้วยดีในเวลาอนั รวดเรว็ และขอขอบคุณผู้ใหค้ วามชว่ ยเหลอื อกี หลายทา่ น ซงึ่ ไม่สามารถ
กลา่ วในนามในทนี่ ี้ได้ท้ังหมด

คณะผูจ้ ัดทา

สารบญั หนา้

เร่อื ง ข
บทคดั ยอ่ ค
กติ ติกรรมประกาศ จ
สารบัญ
สารบัญตาราง 1
บทที่ 1 บทนา 1
1
- หลักการและเหตผุ ล 1
- วัตถปุ ระสงค์การศึกษา 1
- สมมตฐิ านการศึกษา 1
- แผนการดาเนินงาน
- ขอบเขตการศึกษา 2
- ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รบั 3
บทที่ 2 ทฤษฎแี ละเอกสารทเี่ กีย่ วขอ้ ง 6
- ประวตั ิของงา
- ประโยชน์ทางโภชนาการของงาดาและงาขาว 7
- ตัวอย่างผลติ ภณั ฑ์ท่ที าจากงา 7
บทท่ี 3 วธิ ดี าเนนิ การศกึ ษา 7
- วสั ดุ อุปกรณ์ เครื่องมือท่ใี ช้ในการคน้ หาข้อมูล
- ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน
- อุปกรณแ์ ละสว่ นผสมการทาสบจู่ ากงา

- ขน้ั ตอนการทาสบจู่ ากงา 7
- เกณฑ์ในการพจิ ารณาให้คะแนนการตอบแบบสอบถาม 8
- สูตรการหาค่าเฉลยี่ 8
- สูตรการค่าสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) 8
บทท่ี 4 ผลการศึกษา
- ผลของการศึกษา 9
- ข้อมูลการประเมินจากกลุ่มตวั อยา่ ง 9
บทที่ 5 บทสรปุ
- กระบวนการศึกษา 10
- อภิปรายผล 10
- ข้อเสนอแนะ 10
บรรณานุกรม 11
ภาคผนวก 12
- ภาคผนวก ก ภาพขัน้ ตอนการดาเนินงาน 13
- ภาคผนวก ข เอกสารการประเมนิ 15
ประวัติผู้จัดทา 17

สารบัญตาราง หนา้
1
ตารางท่ี 9
1 ตารางแสดงเวลาการดาเนินงาน
2 ตารางผลการประเมนิ สบูจ่ ากงา

บทท่ี 1
บทนา

หลกั การและเหตุผล
งา "กวา่ ถ่วั จะสุกงากไ็ หม้" เป็นสภุ าษติ พ้นื เมืองท่ีแสดงใหเ้ ห็นความคุน้ เคยของคนไทย ท่ีมตี ่องาในอดีต

นอกจากนีย้ ังได้มีการนาเอาเมลด็ งามาประกอบอาหาร ขนมหวานมากมายหลายชนิด น้ามันงาทส่ี กัดใชเ้ ป็น
ส่วนผสมของเครื่องสาอาง ยารักษาโรค ตลอดจนในพิธีทางศาสนา และประเพณพี ้นื บ้านทัว่ ๆ คณะผู้จดั ทา
เลง็ เหน็ ถึงความสาคญั ประโยชน์และสรรพคุณท่มี ีอยู่มากมายในเมล็ดงาอนั แสนจะเลก็ นี้ คณะผูจ้ ดั จึงได้
ทาการศึกษาคน้ คว้า จนนามาเป็นความต้องการชวู ัตถดุ บิ ท่ีชอื่ วา่ งา พรอ้ มบอกเล่าสรรพคณุ ในรปู แบบสบู่
ในหัวขอ้ ผิวสวยด้วยงา

วัตถปุ ระสงค์การศึกษา
1. เพอ่ื นาประโยชน์จากเมลด็ งามาใชใ้ ห้มคี วามหลากหลายมากข้นึ โดยการนาเสนอในรปู แบบสบู่
2. เพ่ือคดิ คน้ สูตรการทาสบดู่ ว้ ยงาทค่ี งประโยชนแ์ ละสรรพคุณของงาให้ได้มาทสี่ ุด
3. เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ และใชเ้ วลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์

สมมตฐิ านการศึกษา
สบ่งู าทาให้ ผวิ นมุ่ ช่มุ ช้นื เรยี บเนยี นและมสี ขุ ภาพผิวดีมากยิง่ ขึน้

แผนการดาเนนิ งาน จานวน (วนั )
ตารางแสดงเวลาการดาเนินงาน 5
ท่ี ภาระงานทต่ี อ้ งดาเนินการหรอื ปฏิบตั ิ 8
1 วางแผน 8
2 สบื คน้ ข้อมูล 9
3 จัดทาวิเคราะหผ์ ล
4 สรุปผล

ขอบเขตการศึกษา
สถานที่ : โรงเรยี นสตรีราชนิ ูทิศ
ระยะเวลา : ใช้เวลาดาเนินการทง้ั ส้ินประมาณ 1 เดอื น

ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ
1. ทราบถงึ ท่ีมา ประโยชน์ และสรรพคุณของงา
2. สามารถทาสบูท่ ี่อุดมไปดว้ ยคุณคา่ จากงาใช้เองได้ในราคาประหยดั
3. เป็นแนวทางในการประกอบอาชพี หรือหารายไดพ้ เิ ศษ และเปน็ การใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน

บทท่ี 2
ทฤษฎีและเอกสารท่เี กี่ยวข้อง

ในการดาเนนิ โครงงาน ผวิ สวยด้วยงา นี้ผ้จู ัดทาไดศ้ ึกษาค้นควา้ เอกสารและงานวิจัยท่เี กยี่ วข้อง

เพ่อื ให้สามารถจัดทาโครงงานได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ โดยทาการศึกษาค้นคว้าเอกสารและทฤษฎที ีเ่ กีย่ วข้อง

ดงั หัวขอ้ ต่อไปน้ี

1. ประวัติของงา
2. ประโยชนท์ างโภชนาการของงาดาและงาขาว
3. ตัวอยา่ งผลิตภณั ฑท์ ท่ี าจากงา

1. ประวตั ิของงา
"กว่าถั่วจะสุกงาก็ไหม้" เป็นสุภาษิตพ้ืนเมืองที่แสดงให้เห็นความคุ้นเคยของคนไทย ที่มีต่องาในอดีต
และไดน้ าเอาเมลด็ งามาประกอบอาหาร และขนมหวานมากมายหลายชนิด นอกจากน้ันยังได้น้ามันงาท่ีสกัดใช้
เป็นส่วนผสมของเคร่ืองสาอาง ยารักษาโรค ตลอดจนในพิธีทางศาสนา และประเพณีพื้นบ้านทั่วๆ ไป งามี
ถ่ินกาเนิดในภาคตะวันออกของทวีปแอฟริกา และได้แพร่ขยายเข้ามาสู่ทวีปเอเชีย และทั่วโลก มีหลักฐาน
เกย่ี วกับการใชป้ ระโยชน์จากงาในประเทศอิหรา่ น ตัง้ แต่สมัย 4,000 ปีมาแลว้ บางครงั้ ก็ใช้เมล็ดงาแทนเงินตรา
และในบันทึกการเดินทางสปู่ ระเทศจนี ของมาโคโปโล ก็ไดก้ ลา่ วถึงงาไว้ด้วย
ในปี พ.ศ. 2530 ประเทศไทยมีพื้นท่ี ปลูกงา 283,000 ไร่ ได้ผลิตผล 27,000 ตัน ทารายได้ให้แก่
เกษตรกรผู้ปลูกเป็นเงิน 258 ล้านบาท นอกจากใช้บริโภคภายในแล้ว ก็ยังส่งออกจาหน่ายต่างประเทศปีละ
ประมาณ 10,000-15,000 ตนั งาปลูกกนั มากในภาคเหนอื และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
งาจัดอยู่ในวงศ์ (Family) Pedaliaceae และมชี ่ือทางวิทยาศาสตร์ว่า Sesamum indicum L. ได้มีการปลูกงามา
เป็นเวลานานในหลายประเทศ ทาใหต้ ้นงามคี วามแตกต่างกันมาก ในด้านความสงู รูปร่าง การแตกกิ่ง ขนาด สี
ของลาต้น ใบ และเมล็ด แต่โดยทั่วไปแล้ว งาจัดเป็นพืชล้มลุก (พืชอายุส้ันไม่เกินปี) มีรากแก้วที่เติบโตได้
รวดเร็ว และหย่งั ลึกลงไปถงึ 2-3 เมตร มรี ากแขนง และรากฝอย แตกออกมาเป็นจานวนมาก ทาให้งาเป็นพืชที่
มีความทนทานต่อความแห้งแล้งได้ดี ลาต้นตั้งตรงสูงต้ังแต่ 60 เซนติเมตร ถึง 2 เมตร ลาต้นเป็นรูปเหลี่ยม
บางพันธกุ์ แ็ ตกกงิ่ ย่อยออกไป ลาตน้ มสี เี ขียวหรอื ม่วง มีท้งั มีขน และไม่มีขน ใบงาเกิดข้ึนตรงข้อของลาต้น ใบที่
เกิดจากโคนต้น มีขนาดใหญ่ รูปกลมปลายแหลม ขอบใบกลมหรือเว้า บางพันธ์ุขอบใบเป็นรูปฟันเลื่อย ใบที่
เกิดจากส่วนกลางของลาต้น มีขนาดปานกลาง และใบท่ีเกิดจากส่วนยอดมีขนาดเล็ก ปลายเรีย วแหลม
เป็นรูปหอก ผิวใบมีขน และเมือกเหนียวติดอยู่ ดอกออกจากต้นตรงข้อใบ จานวน 1 หรือ 3 ดอกต่อข้อ กลีบ
ดอกตดิ กันเป็นหลอด ตอนปลายแตกออกเป็นห้ากลีบ มีสีขาว หรือชมพูอ่อน หรือม่วง ภายในกลีบ ดอกมีจุดสี
มว่ งหรือเหลอื ง ดอกบานในตอนเช้า และเห่ียวร่วงในตอนบ่าย ดอกท่ีได้รับการผสมเกสรจะพัฒนาเป็นฝักกลม
ปลายแหลมยาว 5-7 เซนติเมตร กว้าง 1-2 เซนติเมตร ฝักแบ่ง ออกเป็น 2 หรือ 4 พู แต่ละพูมี 1-2 กลีบ
เมอื่ สุกแก่ฝักแตกอ้าออกตรงรอยต่อของพู เมล็ดติดอยู่กับผนังภายในของเปลือก เมล็ดงามีขนาดเล็ก ค่อนข้าง

กลมรูปไข่ นา้ หนักต่อ 1,000 เมล็ด ประมาณ2-4 กรัม เปลือกหมุ้ เมล็ดมีทง้ั สีขาว สีเหลือง สีน้าตาล สีเทา หรือ
ดา

เมล็ดงามีโปรตีนร้อยละ 18-25 น้ามัน ร้อยละ 40-50 และเป็นน้ามันชนิดไม่อ่ิมตัว สูงถึงร้อยละ 85
ซ่งึ จดั วา่ เป็นน้ามนั ท่มี ีคณุ ภาพ สูง และยงั มสี ารปอ้ งกันการเหมน็ หนื อยดู่ ้วย ทาใหเ้ ก็บไวไ้ ด้นานขน้ึ

งาเจริญเติบโตได้ดีในเขตที่มีอากาศร้อน และค่อนข้างแห้งแล้ง แต่เม่ือมีฝนตกชุก หรือมีน้าขังแฉะ
จะเกดิ โรคหลายชนดิ ทาใหใ้ บรว่ ง โคนและลาต้นเน่าตาย ดังน้ัน เกษตรกรจึงนิยมปลูกงา เฉพาะในช่วงต้นและ
ปลายฤดฝนเท่าน้ัน โดยเลือกปลูกบนท่ีดอน ซึ่งมีดินอุดมสมบูรณ์ และระบายน้าได้ดี พันธุ์งาที่กรมวิชาการ
เกษตร แนะนามี 2 พันธุ์ คอื พันธรุ์ อ้ ยเอ็ด 1 และ พันธม์ุ หาสารคาม 60

เกษตรกรเริ่มเตรียมดินปลูกงาไว้ล่วงหน้า ตั้งแต่ในฤดูแล้ง เม่ือมีฝนแรกตกในเดือนมีนาคม หรือ
เมษายน ก็จะหว่านเมล็ดงาทันที โดยใช้เมล็ดในอัตรา 3 กิโลกรัมต่อไร่ ปนกับทรายละเอียด เพ่ือให้เมล็ด
กระจายออกไปอย่างสม่าเสมอ คราดหน้าดินกลบเมล็ด เมล็ดงาจะงอกภายใน 3-5 วัน หลังจากนั้นก็จะปล่อย
ให้ต้นงาเจริญเตบิ โต อาจมีการพ่นสารเคมีป้องกันกาจัด แมลงศัตรูพืชหนึ่งหรือสองครั้ง ส่วนการปลูกในปลาย
ฤดูฝน เร่ิมหลังจากเก็บเกี่ยวพืชอื่นๆ เสร็จแล้ว โดยหว่านเมล็ดในเดือนสิงหาคม หรือกันยายน ซึ่งมีฝนตก
น้อยลง

หลงั จากตน้ กล้างอกแล้ว 35-45 วนั ตน้ งาจะเริ่มออกดอก การออกดอกเร่มิ จากโคน ทยอยไปสู่ยอด มี
ช่วงเวลาออกดอกนานประมาณ 25-45 วนั (แลว้ แต่พนั ธ์ุ) จากดอกพัฒนาเป็นฝัก และสุกแก่ภายใน 25-35 วัน
ฝักงาสุกแก่ไม่พร้อมกัน ฝักท่ีแก่ก่อนจะแตกอ้าออก ทาให้เมล็ดร่วงหล่นเสียหาย ดังนั้น การเก็บเกี่ยว จึงต้อง
พิจารณาช่วงที่มีจานวนฝักที่สุกแก่มากที่สุด ถ้าเก็บเกี่ยวเร็วเกินไป ฝักเกิดทีหลังยังมีเมล็ดไม่สมบูรณ์ ทาให้ได้
ผลิตผลน้อย และมีคุณภาพต่า แต่ถ้าปล่อยท้ิงไว้นานเกินไป ฝักจะแตก ทาให้เมล็ดร่วงเสียหาย โดยท่ัวไปงามี
อายุ 85-120 วัน

การเก็บเก่ียวทาไดโ้ ดยตดั ต้นมากองสุมไว้ และนาไปแขวนในร่ม โดยมีเสื่อหรือผ้าพลาสติกรองพ้ืน ทิ้ง
ไว้ 7-10 วัน ฝักแห้งจะแตกอ้าออก และเมล็ดร่วงตกลงมา หรืออาจใช้ไม้ตี หรือนาต้นมาเคาะกับพื้นอีกครั้ ง
เพ่อื ให้ฝักแตก และเมลด็ ร่วงออกจากฝกั จนหมด ตากเมล็ดให้แห้งสนิท แลว้ จึงเก็บไวร้ อจาหนา่ ย

2. ประโยชนท์ างโภชนาการของงาดาและงาขาว
อาการไอ จากการระบปุ ระสิทธภิ าพการรกั ษาโรคของเมล็ดงาโดยฐานข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่ว่าช่วย
บรรเทาอาการไอ นับเป็นประโยชนข์ อ้ เดียวของงาดาและงาขาวที่มีข้อมูลมากที่สุดในปัจจุบัน โดยอยู่ในระดับที่
อาจได้ผล (Possibly Effective) ต่างจากโรคชนิดอื่น ๆ ที่ยังศึกษาไม่มากพอจะระบุประสิทธิภาพในการรักษาได้
(Insufficient Evidence)
การศึกษาเก่ียวกับสรรพคุณของงาดาและงาขาวที่ช่วยรักษาอาการไอ เป็นการทดลองในเด็กอายุ 2-
12 ปี จานวน 107 คน ทม่ี ีอาการไอจากโรคหวัด โดยให้รับประทานน้ามันงา 5 มิลลิลิตรก่อนนอนติดต่อกัน 3
วัน เพื่อลดความรนุ แรงและความถข่ี องการไอ ผลลพั ธ์พบว่าในวันแรกอาการไอของเด็กที่รับประทานน้ามันงาดี
ข้ึนกว่ากลมุ่ รบั ประทานยาหลอก แต่อยู่ในระดับไม่มากนัก และเมื่อผ่านไป 3 วัน เด็กท้ัง 2 กลุ่มต่างมีอาการดี

ขึ้น และไม่พบว่าการใช้น้ามันงาก่อให้เกิดผลข้างเคียงใด ๆ หากต้องการใช้แก้อาการไอจึงน่าจะใช้ได้อย่าง
ปลอดภยั ในช่วงระยะเวลาสน้ั ๆ กอ่ นนอนดงั การทดลองลดระดับ

คอเลสเตอรอล น้ามันงาเป็นหน่ึงในน้ามันจากพืชที่กล่าวกันว่าดีต่อสุขภาพโดยเชื่อว่าอุดมไปด้วยกรด
ไขมันไม่อิ่มตัวซึ่งเป็นไขมันชนิดดีท่ีอาจช่วยลดปริมาณคอเลสเตอรอลและในน้ามันงาน้ียังพบไขมันอิ่มตัวใน
ปริมาณนอ้ ย

งานวจิ ยั หน่ึงยนื ยนั ถงึ ประสิทธิภาพดา้ นนข้ี องน้ามันงาเปรียบเทียบกับน้ามันมะกอก โดยให้ผู้ท่ีมีภาวะ
คอเลสเตอรอลสูง 48 คนเข้าโปรแกรมรับประทานอาหารเพ่ือลดคอเลสเตอรอลเป็นเวลา 1 เดือน จากนั้นจึง
รับประทานอาหารที่ปรุงด้วยน้ามันมะกอกหรือน้ามันงาบริสุทธ์ิทุกวันแทนน้ามันชนิดอื่นในปริมาณ 60 กรัม
อีก 1 เดือน ผลลัพธ์ชี้ว่าน้ามันงาและน้ามันมะกอกต่างช่วยลดระดับไขมันในเลือดได้ แต่น้ามันงาจะช่วยให้
ระดับไขมันไตรกลีเซอร์ไรด์และไขมันชนิดไม่ดีในเลือดลดลงได้มากกว่าอย่างมีนัยสาคัญ รวมท้ังส่งผลให้ระดับ
ไขมนั ดใี นเลอื ดสงู ขน้ึ น้าหนกั และรอบเอวลดลงเชน่ เดียวกันกบั กลุม่ บริโภคน้ามันมะกอก

ทง้ั น้ี ในปัจจุบันยังไมม่ กี ารแนะนาให้ใชน้ า้ มันงาลดระดบั คอเลสเตอรอลอย่างแพร่หลาย นอกจากน้ียัง
จัดเปน็ หนง่ึ ในอาหารท่ีมีไขมันสูง การรับประทานในปริมาณมาก ๆ เพราะต้องการใช้รักษาโรคใด ๆ จึงไม่ควร
อย่างย่ิง ควรใช้สาหรับปรงุ อาหารแทนนา้ มนั ชนดิ อ่นื เทา่ น้ัน

เบาหวาน จากการทดสอบประสิทธิภาพของน้ามันงาเมื่อใช้ร่วมกับยารักษาเบาหวานอย่างยาไกลเบน
คลาไมด์ (Glibenclamide) ในผ้ปู ่วยเบาหวานระดบั ไม่รุนแรงถงึ ระดบั รุนแรงปานกลาง โดยใหแ้ บง่ ออกเป็น 3 กลุ่ม
กลุ่มแรกได้รับน้ามันงาแทนน้ามันชนิดอื่น ๆ จากอาหาร กลุ่มที่ 2 ได้รับไกลเบนคลาไมด์ 5 มิลลิกรัมต่อวัน
และกลุม่ สดุ ท้ายได้รับน้ามนั งาผสมกบั ยาไกลเบนคลาไมด์ ใช้เวลาทั้งหมด 60 วัน ผลการศึกษาพบว่า น้ามันงา
ทางานรว่ มกบั ยาไกลเบนคลาไมด์ได้ดี โดยสง่ ผลใหม้ ปี ระสิทธภิ าพในการลดระดับน้าตาลในเลือดได้มากขึ้นและ
ปลอดภัยสาหรบั ผู้ปว่ ยโรคเบาหวาน

น้ามันงามีคุณสมบัติลดระดับน้าตาลในเลือดได้จริงหรือไม่ คงต้องรอผลสรุปในอนาคตที่อาจช่วย
รับรองไดม้ ากกวา่ น้ี อย่างไรก็ตาม ผปู้ ่วยเบาหวานที่ตอ้ งการลองใช้ ควรปรึกษาแพทย์ก่อนตัดสินใจ เพราะอาจ
สง่ ผลใหร้ ะดับนา้ ตาลในเลือดลดต่าและเป็นอันตรายได้

ความดนั โลหติ สงู ประสิทธภิ าพของการใชน้ ้ามันงากับการรักษาภาวะความดันโลหิตสูงนั้นมีการศึกษา
โดยให้ผู้ป่วยจานวน 32 คน ใช้น้ามันงาประกอบอาหารแทนน้ามันชนิดอ่ืนเป็นเวลา 45 วัน ซ่ึงผลการทดลอง
บง่ ช้ีว่าการใช้นา้ มันงาชว่ ยให้ระดบั ความดนั โลหิตของผู้ป่วยภาวะความดันโลหิตสูงลดต่าลง รวมถึงลดปฏิกิริยา
ระหวา่ งไขมันกบั ออกซเิ จน และเพมิ่ ระดบั สารตา้ นอนุมูลอิสระซ่ึงสง่ ผลดีต่อรา่ งกาย

คาดว่าหากในอนาคตมีการศึกษาเพ่ิมเติมถึงคุณประโยชน์ของน้ามันงาในด้านนี้ อาจระบุได้อย่าง
ชดั เจนยิ่งข้ึนวา่ นา้ มนั งาชว่ ยลดความดันโลหิตไดจ้ ริงหรอื ไม่ และเป็นเพราะการทางานของสารชนิดใด อย่างไร

ปอ้ งกนั โรคหัวใจ เม่อื กล่าววา่ การรบั ประทานงาอาจชว่ ยรักษาโรคความดันโลหิตสงู เบาหวาน หรือลด
ระดบั ไขมนั ในเลือดลง อกี โรคหนึง่ ทเี่ กิดขึน้ จากปัจจยั เดียวกันคอื โรคเกีย่ วกับหัวใจท้ังหลาย อย่างไรก็ดี สาหรับ
การศึกษาคณุ ประโยชนจ์ ากการใชง้ าปอ้ งกันโรคหัวใจโดยตรงนั้นยังไม่พบว่างาดาหรืองาขาวช่วยลดความเส่ียง
จากโรคน้ีได้ และงานวิจัยเกีย่ วกบั การลดปจั จยั เสย่ี งดังกล่าวข้างต้นก็ยังไม่เพียงพอต่อการสรุปว่าการบริโภคงา

ดาหรืองาขาวจะช่วยลดโอกาสเกิดโรคหัวใจ วิธีป้องกันท่ีดีท่ีสุดซ่ึงทุกคนสามารถทาได้คือ การปรับเปล่ียน
พฤติกรรม โดยการรับประทานอาหารท่ีดีต่อสุขภาพ ลดไขมัน โซเดียม น้าตาล และหมั่นออกกาลังกายเป็น
ประจา

โรคหลอดเลือดในสมอง เช่นเดียวกับโรคอื่น ๆ ที่มีปัจจัยเสี่ยงสัมพันธ์กับภาวะไขมันในเลือดสูง ความ
ดันโลหิตสูง หรือโรคเบาหวาน ซึ่งภาวะเหล่านี้อาจส่งผลให้เกิดโรคหลอดเลือดในสมองขาดเลือดจากภาวะ
หลอดเลือดในสมองตีบ ด้วยเหตุน้ีงาดาหรืองาขาวท่ีได้รับการกล่าวถึงสรรพคุณลดไขมัน ความดันโลหิต และ
ลดระดับน้าตาลในเลือดจึงถูกอนุมานว่าจะส่งผลดีต่อการรักษาหรือป้องกันโรคน้ีไปด้วย ท้ังท่ียังไม่ปรากฏว่ามี
การศึกษาท่เี ชื่อถือไดใ้ นด้านนีโ้ ดยตรง

เพ่ิมน้าหนักตวั ในผู้ติดเชื้อเอชไอวีหรือเอดส์ ประโยชน์ข้อน้ีของงาดาและและงาขาวมีการศึกษาโดยให้
ผู้ป่วยโรคเอดส์ 63 คน รับประทานอาหารพร้อมใช้ท่ีทาจากถั่วลูกไก่และเมล็ดงาวันละ 500 กรัม หรือคิดเป็น
พลงั งานเท่ากบั ประมาน 2,600 แคลอรี อาหารดังกล่าวมีส่วนช่วยให้น้าหนักตัวของผู้ป่วยเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว
อีกทัง้ ช่วยส่งเสริมสมรรถภาพทางกายในการทากิจกรรมต่าง ๆ และน่าจะมีประสิทธิภาพคุ้มค่าต่อราคาต้นทุน
มากกว่าอาหารเสริมโภชนาการสาหรับผู้ป่วยโรคเอดส์ชนิดอ่ืน ๆ ซ่ึงผลลัพธ์ท่ีดีนั้นเกิดจากงาท่ีเป็น
ส่วนประกอบหรือไมน่ ั้นยงั คงต้องทดลองกันต่อไปก่อนจะมีการแนะนาให้ใช้ได้จรงิ

โรคกระดูกอ่อนในเด็ก งานวิจัยหนึ่งทดลองว่าการเพ่ิมอาหารบางชนิดจะช่วยให้เด็กที่เป็นโรคกระดูก
อ่อนจากการขาดแคลเซียมได้รับแคลเซียมเพิ่มขึ้นหรือไม่ โดยอาสาสมัครท้ังหมดเป็นเด็กอายุน้อยกว่า 10 ปี
จานวน 41 คน ทุกคนรับประทานอาหารเพม่ิ เติมจากขา้ ว 5 ชนดิ ได้แก่ หินปูน 1 กรัมต่อข้าว 1 กิโลกรัม ปลา
เล็กมีกระดูกแทนปลาใหญ่ กากเมล็ดงา 5 กรัม ใบผัก 100 กรัม หรือนม 100 กรัม ซ่ึงผลปรากฏว่าอาหาร
เหล่าน้ีไม่ได้ช่วยให้อาการของโรคดีข้ึนมากนัก เพียงแต่ดีขึ้นกว่าเดิม ทางผู้วิจัยจึงแนะนาว่าการรับประทาน
อาหารเหลา่ นีเ้ พ่ิมเติมอาจมีประสิทธิภาพคมุ้ ราคาและเป็นตัวเลือกการรักษาในระยะยาว ทั้งน้ีประโยชน์ของงา
และอาหารดังกลา่ วทส่ี ง่ ผลตอ่ โรคกระดกู อ่อนยังคงคลุมเครือ หากตอ้ งการลองรับประทานตามควรปฏิบัติอย่าง
เหมาะสม

โรคข้อเส่ือม เชื่อกันว่างาดาอาจเป็นทางเลือกเสริมในการรักษาโรคนี้ ซ่ึงทางวิทยาศาสตร์ได้มี
การศึกษากับผู้ป่วยโรคข้อเข่าเส่ือม 50 คน ทั้งหมดถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มจานวนเท่า ๆ กัน กลุ่มแรกรับการ
รักษาตามมาตรฐานปกติ ส่วนอีกกลุ่มให้รับประทานงาวันละ 40 กรัม นาน 2 เดือนควบคู่กับการใช้ยารักษา
โรคผลลัพธ์ที่ได้ช้ีว่าในอาการของผู้ป่วยกลุ่มโรคข้อเข่าเสื่อมท่ีรับประทานงาน้ันดีขึ้น อย่างไรก็ตาม การใช้งา
ร่วมรักษากับโรคนี้ยังไม่มีการแนะนาอยา่ งเป็นมาตรฐานเพราะมีขอ้ พสิ ูจนท์ างวิทยาศาสตรท์ นี่ ้อยเกินไป

โรคข้ออักเสบ การศึกษาชนิ้ หนึง่ เกีย่ วกับประสิทธภิ าพของน้ามนั งาในการบรรเทาอาการที่เกิดจากโรค
ข้ออักเสบพบว่าการรับประทานน้ามันงา 1 มิลลิกรัมต่อน้าหนักตัว 1 กิโลกรัม ทุกวันต่อเนื่องนาน 28 วัน มี
ประโยชนใ์ นการช่วยลดการเกิดอนมุ ูลอิสระและสารเคมที ก่ี อ่ การอักเสบในร่างกายของผู้ป่วย อีกท้ังยังช่วยเพ่ิม
การผอ่ นคลายของของหลอดเลอื ดแดงเอออร์ตา และมีแนวโน้มท่ีจะลดการบวมของเท้าด้านหลัง ซ่ึงประโยชน์
เหล่าน้ีส่งผลดีต่อตัวผู้ป่วยเอง ท้ังน้ีงาดาจะนามาใช้รักษาผู้ป่วยโรคข้ออักเสบได้จริงหรือไม่คงต้องรอผล
การศกึ ษาในอนาคตท่ีแน่นอนกวา่ นตี้ ่อไป

วยั ทอง หญงิ ทเ่ี ข้าสู่วยั หมดประจาเดอื นซึ่งเปน็ ภาวะของความเปล่ียนแปลงด้านร่างกายและจิตใจจาก
การท่ีร่างกายไม่ผลิตฮอร์โมนเอสโตรเจนอีกต่อไป อาจได้ใช้ประโยชน์จากสารเซซามิน (Sesamin) ในเมล็ดงาท่ี
เชื่อว่าเม่ือเข้าสู่ร่างกายจะถูกจุลินทรีย์ในลาไส้เปล่ียนไปเป็นสารสาคัญอย่างเอนเทอโรแลกโตน (Enterolactone)
ซึง่ เปน็ สารทีม่ ฤี ทธิเ์ อสโตรเจนและมโี ครงสร้างทางเคมีคล้ายฮอร์โมนเอสโตเจนของเพศหญิงอย่างไฟโตเอสโตร
เจน (Phytoestrogens)

สาหรับหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ มีการให้หญิงวัยหมดประจาเดือน 26 คน รับประทานงาดาทุกวัน
วันละ 50 กรัม นาน 5 สัปดาห์ พบว่ามีประโยชน์ต่อระดับไขมันในเลือดที่ลดลงและเพิ่มระดับสารต้านอนุมูล
อิสระในร่างกาย รวมถึงอาจเป็นผลดีต่อระดับฮอร์โมนเพศในร่างกายด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ตามคุณสมบัติ
เก่ยี วกบั การมฤี ทธเิ์ ป็นสารเอนเทอโรแลกโตนหรือไฟโตเอสโตรเจนนนั้ ยงั ไม่ทราบแน่ชัดในตอนน้ี

แผลไหม้ เนื่องจากงาดาและงาขาวมีคุณสมบัติต้านการอักเสบ จึงเชื่อว่าอาจส่งผลต่อการรักษาแผล
ไหม้ โดยงานวจิ ัยหนง่ึ แนะนาวา่ การใช้ขีผ้ ้งึ ท่มี ีสว่ นผสมของนา้ มันงา เบตา้ ซิโตสเตอรอล (Beta-sitosterol) เบอเบอ
รนี (Berberine) และสว่ นผสมอืน่ ๆ รักษาแผลไหม้ ทกุ 4 ชั่วโมงช่วยเพิ่มการรักษาตัวของแผลและลดอาการเจ็บ
บริเวณบาดแผลของผู้ป่วย 211 คนที่ต้องได้รับการรักษาแผลแบบประคับประคอง ทว่าวิธีนี้ยังไม่อาจยืนยัน
ประสทิ ธภิ าพการรักษาไดอ้ ย่างแนช่ ัด

ท้องผูก งาดาและงาขาวนั้นข้ึนชื่อว่าเป็นหนึ่งในอาหารที่มีเส้นใยอาหารสูง โดยเมล็ดงา 1 ช้อนโต๊ะ
ประกอบด้วยเส้นใยอาหารถึง 1.1 กรัม ในขณะท่ีเมล็ดฟักทองประมาณ 60 กรัมนั้นประกอบเส้นใยอาหาร
เพียง 5 กรัม ด้วยเหตุนี้งาดาและงาขาวจึงได้รับความนิยมในฐานะอาหารช่วยแก้ท้องผูก ซึ่งจะช่วยได้จริง
หรือไม่นั้นยังเป็นที่สงสัย เพราะในปัจจุบัน ไม่มีผลวิจัยที่น่าเช่ือถือเกี่ยวกับคุณประโยชน์ด้านนี้ของเมล็ดงา
เกิดขึ้น

ลาไส้เล็กอุดตัน มีการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสรรพคุณในการรักษาโรคนี้ของงากับผู้ป่วยโรคลาไส้เล็กอุด
ตันบางส่วนท้ังหมด 64 คน ผลการวิจัยได้ข้อสรุปว่าน้ามันงาเป็นทางเลือกที่ปลอดภัยและได้ผลในการรักษา
ผู้ป่วยโรคน้ี โดยพบว่าช่วยให้อัตราการผ่าตัดลดลงอย่างมีนัยสาคัญ อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาเท่านี้ยังไม่
นา่ เชื่อถือพอ จึงไมม่ กี ารแนะนาใหใ้ ช้เปน็ ทางเลือกในการรักษา เชน่ เดียวกบั อีกหลาย ๆ โรค

ภาวะมีบุตรยาก อีกหนึ่งสรรพคุณที่ทาให้ผู้ที่ประสบปัญหามีลูกยากต่างสรรหางาดาหรืองาขาวมา
ลองใช้ เก่ียวกับข้อน้ีมีผลการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ที่ชี้ว่างาดาหรืองาขาวอาจเป็นทางเลือกที่ดีและปลอดภั ย
ต่อชายท่ีมีลูกยาก หลังจากการรับประทานงาดา 0.5 มิลลิกรัม เป็นเวลา 3 เดือนสามารถช่วยเพิ่มการ
เคล่ือนไหวและจานวนของสเปิร์มในชายจานวน 25 คน อย่างไรก็ตาม ประโยชน์ต่อการรักษาภาวะมีบุตรยาก
ของงากย็ ังคงต้องได้รบั การศึกษาเพิ่มเติมต่อไปก่อนจะนามาใช้ได้อย่างม่ันใจ

อัลไซเมอร์ มีการกล่าวถึงคุณสมบัตินี้ของงาดาอย่างแพร่หลาย โดยอ้างงานวิจัยงานหน่ึงที่แนะนาว่า
การรับประทานแคปซูลสารสกัดจากงาดาช่วยให้ผู้สูงอายุมีความทรงจาและความสามารถในการเรียนรู้ดีขึ้น
แต่แหล่งท่ีมาของงานวิจัยนี้ถือว่าไม่น่าเช่ือถือเท่าไรนัก และยังเป็นการศึกษาในผู้สูงอายุท่ีมีสุขภาพดี ไม่ใช่ผู้มี
อาการของโรคสมองเสื่อมแต่อย่างใด จึงกล่าวได้ว่าการศึกษาประสิทธิภาพของงาดาต่อผู้ป่วยโรคอัลไซเอมอร์
โดยตรงนนั้ ยงั ไมเ่ กดิ ข้ึนในมนษุ ย์ และไมอ่ าจสรปุ คุณประโยชน์ด้านนี้ของงาดาและงาขาวได้

มะเร็งเต้านม คุณประโยชน์ของงาเกี่ยวกับการช่วยรักษาโรคมะเร็งน้ัน มีเพียงการทดลองกับ
เซลล์มะเร็งในห้องปฏิบัติการ โดยพบว่าเม่ือนาสารเซซามินซึ่งเป็นสารท่ีพบได้จากงาดาและงาขาวมาใช้
สามารถชว่ ยกาจัดและยับยงั้ การเจรญิ เตบิ โตของเซลล์มะเร็งจากเต้านมมนุษย์ ซ่ึงแน่นอนว่าการศึกษาแต่เพียง
ในห้องปฏบิ ตั กิ ารดงั กลา่ วยงั ถอื วา่ ไม่เพียงพอท่จี ะยืนยันคณุ สมบตั ขิ องงาดาในการยับยั้งเซลล์มะเร็ง เพราะขาด
การศกึ ษาโดยตรงในมนษุ ย์ทเ่ี ชอ่ื ถอื ได้มากกว่า

ช่วยคลายกังวล ผลิตภัณฑ์น้ามันงาหลายชนิดมีการกล่าวอ้างสรรพคุณช่วยคลายความวิตกกังวลและ
หากนวดตัวด้วยน้ามันงาจะทาให้นอนหลับสบายย่ิงขึ้น ทว่าปัจจุบัน ทางวิทยาศาสตร์ยังไม่พบข้อมูลที่
น่าเชื่อถือของน้ามันงาในด้านนี้ และหากต้องการลองพิสูจน์ด้วยตนเอง ควรทาอย่างเหมาะสมเพื่อความ
ปลอดภยั

3. ตวั อยา่ งผลติ ภณั ฑท์ ท่ี าจากงา
- น้ามนั งา
ผลิตภัณฑ์น้ามันงาเพื่อสุขภาพบ้านปางหมู ตรา เกวียน (Kwian) เราได้คัดสรรเมล็ดงาคุณภาพ

จากธรรมชาติ ที่มาจากการเพาะปลูกโดยชาวบ้านในชุมชนอย่างพิถีพิถัน เพื่อให้ได้ซึ่งเม็ดงาที่มีคุณประโยชน์
นาๆ ชนดิ โดยมสี รรพคุณจากวติ ามนิ แรธ่ าตุต่างๆ มากมาย ท่ีช่วยในเรอื่ งของการบารงุ เสน้ ผม

ช่วยชะลอร้ิวรอยบนใบหน้าและบารุงผิวพรรณให้นุ่มชุ่มช้ืน แถมยังมีคุณประโยชน์ทาง
โภชนาการอีกมากมาย ท้ังช่วยบารุงในเร่ืองของกระดูกและฟัน สายตา หลอดเลือด และหัวใจ จะเห็นได้ว่างา
น้ันมีประโยชน์ต่อร่างกายทั้งภายในและภายนอก เราจึงได้ใส่ใจทุกรายละเอียดเพื่อให้ได้มาซ่ึงประโยชน์สูงสุด
แก่ผบู้ ริโภค

- ครีมงา
ผลิตภัณฑท่ีไดจากการนางาดาหรืองาขาวมาลางใหสะอาด ทาใหแหง ค่ัวใหสุก บด ใหละเอียด

นาไปใหความร้อนอีกคร้ัง เติมสวนประกอบอื่น เชน น้าตาล เกลือ น้าผึ้ง สารทาใหคงสภาพ ผสมใหเขากัน
อาจแตงสกี ลน่ิ หรอื กล่ินรส บรรจุในภาชนะบรรจุขณะรอน แลวทาใหเย็นทันทีใชทาขนมปงหรือผสมในอาหาร
และเครอื่ งดมื่ เปน็ ต้น

บทที่ 3
วิธดี าเนินการศึกษา

ในการจดั ทาโครงงานผวิ สวยด้วยงา ผู้จัดทาโครงงานมีวิธดี าเนนิ งานโครงงาน ตามข้ันตอนดังต่อไปนี้

3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการคน้ หาขอ้ มูล
1) คอมพิวเตอร์ โทรศพั ทม์ ือถือ
2) อินเทอร์เนต็
3) เว็บไซต์ท่ีใช้ในการหาข้อมูล

3.2 ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน
1) คดิ หวั ข้อท่ีจะศกึ ษา
2) ศึกษาข้อมลู ที่เกี่ยวขอ้ งเก่ียวกบั การทาสบู่จากงา และหาข้อมลู อนื่ ๆ เพิ่มเตมิ เพื่อที่จะได้จดั ทา

เน้อื หาต่อไป
3) ศึกษาการทาสบจู่ ากงา จากเอกสารและเวบ็ ไซสต์ ่าง ๆ ท่ีนาเสนอเทคนิคและวธิ ที าสบจู่ ากงา
4) ปฏบิ ัติการจดั ทาโครงงานอาชพี เร่ือง ผิวสวยด้วยงา นาเสนอรายงานความก้าวหนา้ ของงานเปน็

ระยะ ๆ ซ่งึ ครูที่ปรึกษาจะให้ขอ้ เสนอแนะต่าง ๆ เพ่ือให้จดั ทาเนื้อหาและนาเสนอท่นี ่าสนใจต่อไป ทง้ั นี้เม่ือ
ไดร้ ับคาแนะนาก็จะนามาปรับปรงุ แก้ไขใหด้ ยี ง่ิ ขึน้

5) จัดทาเอกสารรายงานการศึกษา
6) นาเสนองาน
7) เผยแพรส่ ู่ชมุ ชน

3.3 อุปกรณ์และส่วนผสมการทาสบู่จากงา

1) เนอื้ สบู่ 1 กโิ ลกรัม

2) น้าธรรมดา 200 มิลลิลิตร

3) หัวนา้ หอมทาสบู่ 15 มิลลิลติ ร

4) งาขาว 100 กรัม

5) งาดา 100 กรัม

6) หม้อและเตาสาหรับต้มสบู่

7) พมิ พร์ ปู แบบตา่ งๆ

3.4 ขน้ั ตอนการทาสบ่จู ากงา
- ขัน้ ตอนการเตรียมงาขาว งาดา
1) นางาขาวและงาดาท่ีเตรียมไว้ป่นั
2) ใส่นาลงไป 100 กรมั คนใหเ้ ขา้ กนั แล้วนาสว่ นผสมทไี่ ด้กรอกเอากากทิ้ง
- ข้นั ตอนการทาสบู่
1) นาเบสสบู่กลีเซอลีนมาหน่ั เปน็ ช้ินเล็ก ๆ
2) ใสน่ า้ สะอาดลงไป 100 มิลลลิ ติ ร
3) ใส่นา้ งาขาว งาดาท่ีเตรียมไวล้ งไปสกั 5 - 6 ช้อนโตะ๊ หรือมากกว่านไ้ี ด้ตามชอบ
4) คนให้สว่ นผสมทุกอยา่ งเข้ากนั ดี ให้เหลวประมาณครีมทาตัวทัว่ ไป
5) เอาส่วนผสมใสห่ ม้อต้ังไฟออ่ น ๆ กวนจนส่วนผสมท้งั หมดเขา้ เปน็ เนื้อเดียวกนั ปดิ ไฟแลว้
ยกลงจากเตา

6) ตักส่วนผสมใสพ่ มิ พ์ตามชอบ จะใชน้ า้ มนั มะกอกทาพมิ พน์ ิดหน่อยก็ได้จะได้แคะสบอู่ อก
ง่าย

7) พกั สบทู่ ่ีไดใ้ ห้เนื้อสบู่แขง็ ตัว แคะออกจากพมิ พ์
8) จะไดส้ บู่งาตามต้องการ

3.5 เกณฑ์ในการพจิ ารณาใหค้ ะแนนการตอบแบบสอบถาม
5 คะแนน หมายถึง ดีเยีย่ ม
4 คะแนน หมายถึง ดี
3 คะแนน หมายถึง ปานกลาง
2 คะแนน หมายถงึ พอใช้
1 คะแนน หมายถึง ปรับปรงุ

3.6 ระดับของคะแนนในการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใชส้ บู่จากงา
5-4 = ดีเย่ียม
4-3 = ดี
3-2 = ปานกลาง
2-1 = พอใช้
0 = ปรับปรุง

3.7 สูตรการหาค่าเฉลย่ี
x=
x = คา่ เฉล่ียเลขคณติ
= ผลบวกของข้อมลู ทกุ คา่
= จานวนข้อมลู ทั้งหมด

3.8 สูตรการคา่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

S.D = √ ̅
S.D = คอื ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

= ข้อมลู (ตัวที่ 1,2,3,..,n)
x = คา่ เฉลย่ี เลขคณติ

= จานวนข้อมลู ทง้ั หมด

บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน

ตารางท่ี 1 : ผลการทดลองจากการสอบถามความคิดเห็นจากกลุ่มตวั อย่างจานวน 20 คน ไดผ้ ลดงั นี้

ระดับคะแนน

54 3 21 S.D. แปลผล

รายข้อ ดเี ยี่ยม ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ค่าเฉลี่ย ส่วน

เบ่ยี งเบน

มาตราฐาน

1. บรรจภุ ณั ฑ์ 88 3 1 0 4.15 0.88 ดเี ยี่ยม

2. กลน่ิ 11 7 2 0 0 4.45 0.69 ดีเยีย่ ม

3. ประสิทธิภาพในการทา 5 10 5 0 0 4.00 0.73 ดเี ยย่ี ม

ความสะอาด

4. ปรมิ าณ 7 10 2 0 0 4.15 0.81 ดีเยี่ยม

5. ราคา 13 6 1 0 0 4.60 0.60 ดเี ยี่ยม

คา่ เฉล่ียรวม ( ) 4.27 0.74 ดีเยี่ยม

จากตารางท่ี 1 พบว่าราคามีระดับค่าเฉลยี่ สูงที่สดุ มีค่า x = 4.6 ผ้ใู ช้พอใจมากทส่ี ุดในระดบั ดีเยย่ี ม
กล่ินมรี ะดบั คา่ เฉลยี่ รองลงมามีค่า x = 4.45 ผู้ใชพ้ อใจรองลงมาในระดบั ดเี ยย่ี ม
ประสิทธิภาพในการทาความสะอาดมีระดบั คา่ เฉลยี่ น้อยที่สุดมีคา่ x = 4 ผใู้ ช้พอใจน้อยทส่ี ดุ
ในระดับ ดเี ย่ียม

และโดยภาพรวมพบวา่ คา่ เฉลี่ยรวมมคี า่ x = 4.27 แสดงว่าผูใ้ ช้มีคา่ ความพึงพอใจอยูใ่ นระดบั ดเี ยี่ยม
สามารถนาไปใช้งานไดจ้ ริง ถือวา่ ผลงานได้บรรลุตามจุดประสงค์ท่ีกาหนดไว้แล้ว

บทท่ี 5
สรปุ ผลการดาเนินงานและขอ้ เสนอแนะ

จากการทดลองโครงงาน ผิวสวยด้วยงา มีวัตถปุ ระสงค์เพือ่ นาประโยชน์จากเมล็ดงามาใช้ให้มีความ
หลากหลายมายง่ิ ขึ้นในผลติ ภณั ฑ์รูปแบบของสบแู่ ละสามารถเป็นแนวทางในการประกอบอาชพี ได้ มสี มมุตฐิ าน
ท่สี บงู่ าจะทาใหผ้ วิ นมุ่ ชุม่ ชน้ื เรยี บเนียนและมีสุขภาพดีมากยิ่งขึ้น มีตัวแปรคือความเข้มข้นของเบสสบูแ่ ละน้า
งา ได้ผลการดาเนินงานการทดลองและสรปุ ไดว้ า่

1. สรปุ ผลการดาเนินงาน
จากการทาสบงู่ าที่ใช้สว่ นผสมเปน็ งาดาและงาขาวนัน้ ได้ผลดงั นี้
(1) มีสรรพคุณช่วยในการบารุงผิว ทาให้ผิวมคี วามนมุ่ ชมุ่ ชืน้ ออ่ นโยน ไม่ทารา้ ยผวิ
(2) กล่มุ ตวั อยา่ งผ้ทู ดลองใช้ไม่มีผลข้างเคยี งหรืออาการแพ้ใดๆ
(3) สามารถนาไปต่อยอดเปน็ ผลิตภณั ฑส์ รา้ งรายได้ไดต้ ามวัตถุประสงค์

2. อภิปรายผล
จากการทดลองโครงงานเร่อื ง ผิวสวยด้วยงา พบวา่ คะแนนเฉล่ียของการประเมนิ คิดเปน็ คา่ เฉลยี่

x = 4.27 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานทค่ี าดไว้ ดังนั้น ผลิตภัณฑ์สบ่จู ากงาในโครงงาน ผิวสวยดว้ ยงา จงึ ประสบ
ความสาเร็จบรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์และสมมตุ ฐิ าน

3. ขอ้ เสนอแนะ
(1) ถา้ ตอ้ งการเกบ็ สบู่ไว้ใช้ในระยะเวลานานควรเกบ็ ไว้ในตู้เยน็
(2) ผผู้ ลติ อาจใช้พิมพ์หรือภาชนะเปน็ แม่พมิ พท์ แี่ ปลกใหมเ่ พ่อื เปน็ การดึงดูดใหอ้ ยากซ้ือมากขน้ึ

บรรณานุกรม

คณาจารยภ์ าควชิ าพืชไรน่ า มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน. (2547). งา พืชเศรษฐกิจ.
กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.

ปรชั ญา คงทวเี ลิศ. (2555). งาดา ราชินแี ห่งพชื น้ามนั ราชันย์แห่งธัญพืช. เชียงใหม่ : แฮปป้บี ุค๊ พบั ลชิ ชง่ิ
จากดั .

พรดี จันทรเวชชสมาน. (2559). คุณประโยชน์มหาศาลของงาน้ามันงา. กรงุ เทพฯ : อมรนิ ทร์เฮลท์.
ฐานขอ้ มลู ส่งเสริมและยกระดับสนิ คา้ คณุ ภาพ 0-TOP. (2562). งา : ธัญพืชมากคณุ ประโยชน์, สบื ค้นเมือ่ 18

ธันวาคม 2563 , จาก http://www.sptn.dss.go.th
ปราณี รัตนสุวรรณ. (2559). งา ธญั พืชเมล็ดจ๋วิ อนั ทรงคณุ ค่า, สืบคน้ เมื่อ 18 ธนั วาคม 2563 , จาก http

s://www.graceherb.com
ธวชั ชัย ศรีภักด.ี (2560). วิธที าสบู่, สืบคน้ เมื่อ 18 ธนั วาคม 2563 , จาก https://favforward.com



ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
ภาพขั้นตอนการดาเนนิ งาน

ภาพท่ี 1 วางแผนงานและสืบหาข้อมูล
ภาพท่ี 2 ลงมือทาสบู่

ภาพท่ี 3 เผยแผ่สชู่ ุมชนผ่านเพจเฟสบ๊กุ

ภาคผนวก ข
เอกสารการประเมนิ

ประวัติผจู้ ดั ทา

1. ชอ่ื – สกุล นางสาวกรกนกวรรณ ศรีภารกั ษ์
วัน เดอื น ปีเกิด 20 ธันวาคม พ.ศ. 2547
ท่อี ยู่ปจั จุบัน 139 ม.10 ต.หนองหาน อ.หนองหาน จ.อดุ รธานี 41130
สถานทศ่ี ึกษาปจั จุบนั โรงเรยี นสตรีราชินทู ิศ
ประวตั กิ ารศึกษา กาลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 5/4 โรงเรยี นสตรีราชนิ ูทิศ 2563

2. ช่ือ - สกุล นางสาวศลษิ า เสรฐิ ศรี
วัน เดือน ปีเกิด 1 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2546
ทอี่ ยปู่ ัจจบุ ัน 162 ม.3 ต.ศรีธาตุ อ.ศรธี าตุ จ.อดุ รธานี 41230
สถานท่ีศึกษาปัจจบุ ัน โรงเรยี นสตรีราชนิ ูทิศ
ประวัติการศึกษา กาลงั ศกึ ษาอยู่ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 5/4 โรงเรยี นสตรีราชนิ ูทิศ 2563

3. ชื่อ - สกลุ นางสาวศศิชา ทามูระ
วนั เดอื น ปีเกดิ 11 เมษายน พ.ศ. 2546
ที่อยู่ปัจจุบัน 48 ม.12 ต.หว้ ยสามพาด อ.ประจักษศ์ ิลปาคม จ.อุดรธานี 41110
สถานทศ่ี ึกษาปัจจุบัน โรงเรยี นสตรรี าชินทู ิศ
ประวตั ิการศึกษา กาลังศกึ ษาอยู่ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนสตรรี าชินูทศิ 2563

4. ชื่อ – สกุล นางสาวประกายกาญจน์ สวุ รรณโคตร
วัน เดือน ปเี กิด 16 ธันวาคม พ.ศ. 2546
ที่อยปู่ ัจจบุ นั 312 ม.8 ต.หนองขอนกว้าง อ.เมือง จ.อดุ รธานี 41000
สถานทศ่ี ึกษาปัจจบุ นั โรงเรยี นสตรีราชนิ ทู ิศ
ประวตั กิ ารศึกษา กาลังศกึ ษาอยู่ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5/4 โรงเรียนสตรรี าชนิ ูทศิ 2563


Click to View FlipBook Version