ใบความรู้
วทิ ยาการคานวณ ม.3
ใบความร้ทู ่ี 1 การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั และมีความรบั ผิดชอบ
การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
อย่างปลอดภยั และมีความรบั ผิดชอบ
ด้านความปลอดภยั
การทาธรุ กรรมออนไลน์ การซื้อสินค้าออนไลน์
1. ใช้งานอปุ กรณ์เทคโนโลยีส่วนตวั 1. ไม่ซื้อสินค้าออนไลน์ผา่ น WIFI สาธารณะ
2. ไม่ใช้งานผา่ น WIFI สาธารณะ 2. เลือกซื้อเวบ็ ไซต์ที่ขนึ้ ต้นด้วย https:// เท่านัน้
3. ตงั้ รหสั ผา่ นให้มีความปลอดภยั 3. เกบ็ หลกั ฐานการสงั่ ซื้อ
4. ออกจากระบบทกุ ครงั้ หลงั ใช้งาน 4. ตรวจสอบคณุ สมบตั ิของสินค้า
5. ใช้บริการ SMS แจ้งเตือน 5. อ่านรีวิวก่อนตดั สินใจสงั่ ซื้อ
6. จากดั วงเงินในการทาธรุ กรรม 6. ตรวจสอบประวตั ิฉ้อโกง
ด้านความรบั ผิดชอบ
ความเป็ นส่วนตวั ความถกู ต้อง ความเป็ นเจ้าของ การเข้าถงึ ขอ้ มลู
(Information แมน่ ยา (Information
Privacy) Property) (Data Accessibility)
(Information
Accuracy)
เป็ นสิ ทธิ การเผยแพรข่ ้อมูล เป็ นกรรมสิ ทธ์ิ ในการถอื การเข้าถงึ ข้อมูลของ
ของเจ้าของสามารถ ข่าวสารต่างๆจะต้องให้ ครองทรพั ยส์ ิน ซ่ึงอาจ
กาหนดความเป็ น ความสาคญั กบั ความ เป็นทรพั ยส์ ินทวั ่ ไปท่ีจบั ผอู้ ่ืนโดยไมไ่ ด้รบั ความ
ส่วนตวั ของข้อมลู ต้องได้ หรือ ทรพั ยส์ ินที่ ยิ นยอมถือเป็ นการผิด
ตนเองในการเผยแพร่ ถกู ต้องแมน่ ยาของ
ข้อมูลเป็ นอย่างมาก จบั ต้องไม่ได้ เช่น จริยธรรม
ให้กบั ผอู้ ่ืน ทรพั ยส์ ินทางปัญญา
ใบความรทู้ ่ี 2 กฎหมายคอมพิวเตอร์
กฎหมายคอมพิวเตอร์
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ คือพระราชบญั ญตั ิท่ีวา่ ด้วยการกระทาผิด
เก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นพ.ร.บ.ท่ีตงั้ ขนึ้ มาเพ่ือป้องกนั
ควบคมุ การกระทาผิดที่จะเกิดขนึ้ ได้จากการใช้คอมพิวเตอร์
หากใครกระทาความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอรน์ ี้
กจ็ ะต้องได้รบั การลงโทษตามที่ พ.ร.บ.กาหนด
13 ข้อ สรปุ เกี่ยวกบั กบั การกระทาความผิด
เก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 หรือ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ฉบบั ที่ 2
1. การฝากรา้ นใน Facebook, IG ถอื เป็นสแปม ปรบั 200,000 บาท
2. สง่ SMS โฆษณา โดยไมร่ บั ความยนิ ยอม ใหผ้ รู้ บั สามารถปฏเิ สธขอ้ มลู นนั้ ได้
ไมเ่ ชน่ นนั้ ถอื เป็นสแปม ปรบั 200,000 บาท
3. สง่ Email ขายของ ถอื เป็นสแปม ปรบั 200,000 บาท
4. กด Like ไดไ้ ม่ผดิ พ.ร.บ.คอมพฯ์ ยกเวน้ การกดไลค์ เป็นเรอ่ื งเกย่ี วกบั สถาบนั เสย่ี ง เขา้ ขา่ ยความผดิ มาตรา 112
หรอื มคี วามผดิ รว่ ม
5. กด Share ถอื เป็นการเผยแพร่ หากขอ้ มลู ทแ่ี ชรม์ ผี ลกระทบตอ่ ผอู้ น่ื อาจเขา้ ขา่ ย ความผดิ ตาม พ.ร.บ.คอมพฯ์
โดยเฉพาะทก่ี ระทบต่อบุคคลท่ี 3
6. พบขอ้ มลู ผดิ กฎหมายอยใู่ นระบบคอมพวิ เตอรข์ องเรา แตไ่ มใ่ ชส่ งิ่ ทเ่ี จา้ ของ คอมพวิ เตอรก์ ระทาเอง สามารถแจง้ ไปยงั
หน่วยงานทร่ี บั ผดิ ชอบได้ หากแจง้ แลว้ ลบ ขอ้ มลู ออกเจา้ ของกจ็ ะไมม่ คี วามผดิ ตามกฎหมาย เชน่ ความเหน็ ในเวบ็ ไซต์
ตา่ ง ๆ รวมไปถงึ เฟซบุก๊ ทใ่ี หแ้ สดงความคดิ เหน็ หากพบวา่ การแสดงความเหน็ ผดิ กฎหมาย เมอ่ื แจง้ ไปท่ี
หน่วยงานทร่ี บั ผดิ ชอบเพอ่ื ลบไดท้ นั ที เจา้ ของระบบเวบ็ ไซตจ์ ะไม่มี ความผดิ
7. สาหรบั แอดมนิ เพจ ทเ่ี ปิดใหม้ กี ารแสดงความเหน็ เมอ่ื พบขอ้ ความทผ่ี ดิ พ.ร.บ. คอมพฯ์ เมอ่ื ลบออกจากพน้ื ทท่ี ่ี
ตนดแู ลแลว้ จะถอื เป็นผพู้ น้ ผดิ
8. ไมโ่ พสตส์ งิ่ ลามกอนาจาร ทท่ี าใหเ้ กดิ การเผยแพร่สปู่ ระชาชนได้
9. การโพสเกย่ี วกบั เดก็ เยาวชน ตอ้ งปิดบงั ใบหน้า ยกเวน้ เมอ่ื เป็นการเชดิ ชู ชน่ื ชม อยา่ งใหเ้ กยี รติ
10. การใหข้ อ้ มลู เกย่ี วกบั ผเู้ สยี ชวี ติ ตอ้ งไมท่ าใหเ้ กดิ ความเสอ่ื มเสยี เชอ่ื เสยี ง หรอื ถกู ดู หมน่ิ เกลยี ดชงั ญาตสิ ามารถ
ฟ้องรอ้ งไดต้ ามกฎหมาย
11. การโพสตด์ า่ วา่ ผอู้ น่ื มกี ฏหมายอาญาอยแู่ ลว้ ไม่มขี อ้ มลู จรงิ หรอื ถกู ตดั ต่อ ผู้ถกู กล่าวหา เอาผดิ ผโู้ พสตไ์ ด้ และ
มโี ทษจาคุกไมเ่ กนิ 3 ปี ปรบั ไม่เกนิ 200,000 บาท
12. ไมท่ าการละเมดิ ลขิ สทิ ธผิ์ ใู้ ด ไมว่ ่าขอ้ ความ เพลง รปู ภาพ หรอื วดิ โี อ
13. สง่ รปู ภาพแชรข์ องผอู้ น่ื เชน่ สวสั ดี อวยพร ไมผ่ ดิ ถา้ ไมเ่ อาภาพไปใชใ้ นเชงิ พาณชิ ย์ หารายได้
COPYRIGHT ใบความรทู้ ี่ 3 ลิขสิทธ์ิ (Copyright)
ลิขสิทธ์ิ
ลิขสิทธ์ิ
เป็นผลงานที่เกิดจากการใช้สติปัญญา ความร้คู วามสามารถ
และความอตุ สาหะพยายามในการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน ซึ่งถอื ว่า
เป็นทรพั ยส์ ินทางปัญญาประเภทหนึ่ง ที่ทางกฎหมายให้ความค้มุ ครอง
โดยเจ้าของลิขสิทธ์ิจะเป็นผเู้ ดียวที่จะกระทาการใดๆ
เก่ียวกบั งานที่สรา้ งสรรคไ์ ด้
การค้มุ ครองลิขสิทธ์ิ
ลิขสิทธ์ิจะมีตลอดอายผุ สู้ ร้างสรรค์ และจะมีต่อไปอีก 50 ปี
นับแต่ผสู้ ร้างสรรคถ์ งึ แก่ความตาย กรณีเป็นนิติบคุ คล
ลิขสิทธ์ิจะมอี ยู่ 50 ปี นับแต่ได้สรา้ งสรรคง์ านนัน้ ขึน้
พระราชบญั ญตั ิลิขสิทธ์ิ พ.ศ.2537 ได้มีการยกเวน้ ในงานบางประเภท
ที่จะมีอายกุ ารค้มุ ครองลิขสิทธ์ิต่างออกไป คือ ศิลปะประยกุ ต์
ที่จะมีอายกุ ารค้มุ ครองลิขสิทธ์ิเพียง 25 ปี เท่านัน้
การใช้สิทธ์ิของผอู้ ื่นโดยชอบธรรม (Fair Use)
เป็นหลกั ขอ้ ยกเว้นของกฎหมายลิขสิทธ์ิ (Copyright Act) มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ให้เกิดความ
สมดลุ ระหว่างการปกป้องผลประโยชน์อนั ชอบธรรมของเจ้าของลิขสิทธ์ิ กบั การรกั ษา
ประโยชน์ของสาธารณชนที่จะได้รบั จากการใช้งานอนั มีลิขสิทธ์ิ
โดยไมต่ ้องได้รบั ความยินยอมจากเจ้าของลิขสิทธ์ิ ซึ่งได้กลา่ วไว้ในพระราชบญั ญตั ิลิขสิทธ์ิ
พ.ศ.2537 ในมาตรา 32 – 43
โดยการกระทาที่เป็นขอ้ ยกเวน้ การละเมิดลิขสิทธ์ิ สามารถจาแนก
เป็นหลกั เกณฑ์ ได้ดงั นี้
1. การกระทานัน้ เป็นการกระทาเพื่อใช้ในการวิจยั หรือศึกษา
2. การกระทานัน้ ไม่ได้เป็นการกระทาเพ่อื หากาไร
3. การกระทานัน้ ไม่ขดั ต่อการแสวงหาผลประโยชน์ของเจ้าของลิขสิทธ์ิ และไม่
กระทบกระเทือนถึงสิทธิอนั ชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของลิขสิทธ์ิเกินสมควร
ใบความร้ทู ่ี 4 การสืบคน้ แหล่งข้อมลู
การสืบค้นแหล่งข้อมลู
การสืบค้นแหล่งข้อมลู คือ กระบวนการค้นหาข้อมูล
ที่ต้องการ โดยใช้โปรแกรมในคอมพิวเตอรเ์ พื่อการสืบค้นหา
และอาจจะค้นหาจากแหล่งอ่ืน ๆ ที่ไมใ่ ช้อินเทอรเ์ น็ต
การสืบค้นหาแหล่งข้อมูลสามารถทาได้ ดงั นี้
การสืบค้นข้อมลู ด้วยมือ
เป็ นการสืบค้นจากเอกสาร
เช่น จากหนังสือ ตารา ตามสถานท่ีต่าง ๆ
หรอื ห้องสมุด
การสืบค้นข้อมลู ด้วยระบบคอมพิวเตอร์
เช่น การสืบค้นข้อมูลจากระบบออนไลน์จากโปรแกรมค้นหา Search Engine
Search Engine โปรแกรมที่ออกแบบมาเป็นเครอ่ื งมอื สาหรบั ใช้ ค้นหา
Web Search Engine เวบ็ ไซตท์ ่ีใช้สาหรบั ค้นหาข้อมูล
ประโยชน์ของ Search Engine
1. ค้นหาเวบ็ ไซตท์ ่ีต้องการได้ง่าย สะดวกและรวดเรว็
2. ค้นหาขอ้ มลู ได้อยา่ งละเอียด และหลากหลายรปู แบบ
3. ค้นหาข้อมลู ได้จากเวบ็ ไซต์เฉพาะทางต่างๆ ได้
4. ค้นหาข้อมลู ได้อยา่ งหลากหลาย
5. รองรบั การค้นหาได้หลายภาษา รวมทงั้ ภาษาไทย
Search Engine ท่ีนิยมใช้ในปัจจบุ นั http://www.google.com
http://www.sanook.com
http://www.yahoo.com
http://www.msn.com
ใบความร้ทู ี่ 5 การดาเนินการสืบค้นข้อมลู บนอินเทอรเ์ น็ต
การดาเนิ นการ
สืบค้นข้อมลู บนอินเทอรเ์ น็ต
1 กาหนดวตั ถปุ ระสงคก์ ารสืบค้น
ผสู้ ืบค้นหรอื ผวู้ ิจยั ที่จะนาข้อมลู สารสนเทศไปใช้ ควรตงั้ วตั ถปุ ระสงคก์ ารสืบค้นท่ีชดั เจน
ทาให้สามารถกาหนดขอบเขตของแหล่งขอ้ มลู สารสนเทศที่จะสืบคน้ ให้แคบลง
กาหนดประเภทของเครือ่ งมือหรอื โปรแกรมสาหรบั การสืบค้นทางอินเทอรเ์ น็ต
ท่ีเรียกว่า search engine ให้เหมาะสม
2 ประเภทของข้อมลู สารสนเทศท่ีสามารถสืบค้นได้
ขอ้ มลู สารสนเทศท่ี อยบู่ นอินเทอรเ์ น็ตมีมากมายหลายประเภท มีลกั ษณะเป็นมลั ติมีเดีย
คือ มีทงั้ ที่เป็นข้อความ (text) ภาพวาด (painting) ภาพเขียน
หรือภาพลายเส้น (drawing) ภาพไดอะแกรม (diagram)
ภาพถ่าย (photograph) เสียง(sound) การสืบค้นท่ีมีประสิทธิภาพท่ีสดุ
คือ การสืบค้นขอ้ มลู สารสนเทศประเภทขอ้ ความ
3 การสืบค้นต้องอาศยั อปุ กรณ์และความรู้
ต้องมีการจดั เตรียมอปุ กรณ์ดงั ต่อไปนี้ คือ เครอื่ งคอมพิวเตอร์ อปุ กรณ์เช่ือมต่อ
อินเทอรเ์ น็ต นอกจากอปุ กรณ์ ต่างๆ ดงั กลา่ วข้างต้นแล้ว ยงั ต้องมคี วามรู้
และทกั ษะพนื้ ฐานในการใช้งานคอมพิวเตอร์ (computer literacy)
ความรภู้ าษาองั กฤษ และยงั ต้องมีการจดั สรรเวลาให้เหมาะสมอีกด้วย
4 บริการบนอินเทอรเ์ น็ต
บริการท่ีสามารถใช้ช่วยในการสืบค้นข้อมลู ซึ่งมีมากมายหลายบริการ
เช่น บริการเครอื ข่ายใยแมงมมุ โลก หรือ Word-Wide-Web (WWW)
บริการสอบถามผา่ นทางจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์
หรอื การสนทนาออนไลน์กบั ผใู้ ช้งาน
5 เครื่องมือหรือโปรแกรมสาหรบั การสืบค้น
เครอ่ื งมอื หรือโปรแกรมสาหรบั การสืบค้น มีอยมู่ ากมายและมีให้บริการ
อยตู่ ามเวบ็ ไซตต์ ่างๆ ท่ีให้บริการการสืบค้นขอ้ มลู โดยเฉพาะ
การเลอื กใช้นัน้ ขนึ้ กบั ประเภทของข้อมลู ท่ีต้องการสืบค้นจากโปรแกรมค้นหาต่างๆ
ใบความร้ทู ่ี 6 PROMPT
PROMPT
Presentation
การนาเสนอข้อมลู ต้องชดั เจน ตรงตามเนื้อหา กระชบั
Relevance
การพิจารณาความสมั พนั ธ์ ความสอดคล้องของข้อมลู กบั ส่ิงที่ต้องการ
Objectivity
ข้อมลู ที่นามาใช้ต้องมีวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีชดั เจน ไม่มีเจตนาแอบแฝง หรือเป็นข้อมลู
ท่ีแสดงความคิดเหน็
Method
มีการวางแผนการเกบ็ รวบรวมข้อมลู อย่างเป็นระบบ
Provenance
มีการระบแุ หล่งท่ีมาของข้อมลู อย่างชดั เจน เชื่อถือได้
Timeliness
ข้อมลู ต้องเป็นปัจจบุ นั ทนั สมยั
ใบความร้ทู ี่ 7 เหตผุ ลวิบตั ิ (Logical Fallacy)
Logical Fallacy
เหตผุ ลวิบตั ิ/ตรรกะวิบตั ิ
เหตผุ ลวิบตั ิ (Logical Fallacy) หรือ ตรรกะวิบตั ิ เป็นการอ้างเหตผุ ลท่ีบกพร่อง
อนั เกิดจากความผิดพลาดในกระบวนการคิดหาเหตผุ ล (reasoning process)
ทงั้ แบบอปุ นัยเละนิรนัยซึ่งส่งผลให้การอ้างเหตผุ ลนัน้ เป็นการอ้างหตผุ ลท่ีวิบตั ิ
(fallacious argument)
เหตผุ ลวิบตั ิสามารถแบง่ ได้ 2 ประเภท คือ
เหตผุ ลวิบตั ิแบบเป็นทางการ
เกิดจากการให้เหตผุ ลที่ใช้หลกั ตรรกะท่ีไม่ถกู ต้อง
แต่เขียนในรปู แบบที่เป็นทางการทาให้ดสู มเหตสุ มผล
เหตผุ ลวิบตั ิแบบไม่เป็นทางการ
เกิดจากการให้เหตผุ ลท่ีไม่เก่ียวข้องกบั การใช้ตรรกะ
ในการพิจารณาแต่เป็นการสนั นิษฐาน หรือเล่นสานวนซึ่งเกิดจากการใช้
ภาษาชกั นาให้เกิดความเข้าใจผิด
เช่น การพดู กากวม หรือการพดู มากเกินความจาเป็น
ใบความรทู้ ่ี 8 การรวบรวมข้อมลู
การรวบรวมข้อมลู
สามารถแบง่ ประเภทของขอ้ มลู ตามแหลง่ ท่ีมา ได้เป็น 2 กล่มุ คือ
ข้อมลู ปฐมภมู ิ (Primary data)
ข้อมลู ปฐมภมู ิ (Primary data) คือ ขอ้ มลู ที่เกบ็ รวบรวม
มาจากแหลง่ ขอ้ มลู ขนั้ ต้นหรอื ได้มาจากแหลง่ ขอ้ มลู โดยตรง
เช่น การสมั ภาษณ์ (interview)
การสารวจ (survey)
การสงั เกต (observe)
การทดลอง (experiment)
ข้อมลู ทตุ ิยภมู ิ (Secondary Data)
ข้อมลู ทุติยภมู ิ (Secondary Data) เป็นขอ้ มูลท่ีมีการรวบรวมไวแ้ ลว้ โดยผอู้ ื่น การนา
ข้อมูลทตุ ิยภมู ิมาใช้จะต้องตรวจสอบคณุ ภาพของขอ้ มูลก่อน ซ่ึงการรวบรวมขอ้ มูลจาก
แหล่งขอ้ มูลทุติยภมู ิ สามารถแบง่ ออกได้เป็น 2 รปู แบบ
ขอ้ มูลจากแหลง่ ขอ้ มูลภายใน
เป็นข้อมูลท่ีเกิดขึน้ ภายในหน่วยงาน
หรอื ภายในขององคก์ รของผใู้ ช้งาน
ข้อมลู จากแหลง่ ขอ้ มูลภายนอก
เป็นขอ้ มลู ที่ได้จากการรวบรวมข้อมลู
ของบคุ คล หน่วยงาน หรอื องคก์ รภายนอก
ใบความร้ทู ่ี 9 การประมวลผล (Data Processing)
DATA PROCESSING
การประมวลผล
DATA PROCESSING INFORMATION
การประมวลผล (Data Processing) เป็นการประมวลผลทางข้อมูล
เป็นการนาข้อมลู ท่ีเกบ็ รวบรวมได้มาผา่ นกระบวนการต่าง ๆ
เพ่ือแปรสภาพข้อมลู ให้อย่ใู นรปู แบบที่ต้องการ เรียกว่า
ข้อมูลสนเทศหรอื สารสนเทศ (Information)
Information คือ ผลลพั ธท์ ่ีได้จากขอ้ มลู ที่ไดร้ วบรวม
และนาเข้าส่กู ระบวนการประมวลผล ซึ่งผลลพั ธท์ ่ีได้
สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการวิเคราะหท์ ิศทาง
หรอื การตดั สินใจได้ทนั ที
โดยวิธีการประมวลผล จาแนกได้ 3 วิธี
การประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing)
การประมวลผลด้วยเครอ่ื งจกั ร
(Mechanical Data Processing)
การประมวลผลขอ้ มลู ด้วยเครอ่ื งอิเลก็ ทรอนิกส์
(Electronic Data Processing)
ขนั้ ตอนการประมวลผลข้อมลู หรอื ขนั้ ตอนให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ
แบง่ ออกเป็น 3 ขนั้ ตอน ดงั นี้
1. ขนั้ เตรียมข้อมลู (Input)
2. ขนั้ การประมวลผล (Processing)
3. ขนั้ การแสดงผลลพั ธ์ (Output)
ใบความรทู้ ี่ 10 ซอฟตแ์ วรท์ ่ีช่วยในการจดั การขอ้ มูล
ซอฟตแ์ วร์
ที่ช่วยในการจดั การข้อมลู
ซอฟตแ์ วรป์ ระมวลผลคา ( Word Processing software)
เป็นซอฟตแ์ วรท์ ่ีออกแบบสาหรบั การพิมพเ์ อกสาร สามารถแก้ไข จดั เกบ็ ไฟล์ และจดั รปู แบบ
เอกสารได้ค่อนข้างงา่ ย พิมพอ์ อกทางเครอื่ งพิมพส์ ะดวก ตวั อย่างซอฟตแ์ วรป์ ระมวลผลคา
เช่น Writer ของ OpenOffice.org, Microsoft Word
ซอฟตแ์ วรต์ ารางทางาน (spread sheet software)
เป็นซอฟตแ์ วรท์ ่ีช่วยในการคานวณ มีลกั ษณะการทางานแบบตารางหรือช่องซึ่งเรียกว่าเซล
สาหรบั ส่งข้อความหรอื จานวนตวั เลข
เพ่ือให้ทาการคานวณตามเงือ่ นไขท่ีกาหนด โดยจะมีสตู ร
ฟังกช์ นั่ เพ่ือช่วยให้คานวณได้สะดวกมากขึน้ ตวั อย่าง
เช่น calc ของ OpenOffice.org, Microsoft excel
ซอฟตแ์ วรน์ าเสนอ (presentation software)
เป็นซอฟตแ์ วรท์ ี่ช่วยในการนาเสนอข้อมูล ที่สามารถทาได้อย่างสะดวก รวดเรว็ สามารถสรา้ ง
สไลดท์ ี่ประกอบด้วย ตวั อกั ษร รปู ภาพ เสียง แอนิเมชนั ทาให้เนื้อหามีความน่าสนใจ
ตวั อย่างซอฟตแ์ วรน์ าเสนอได้แก่ impress ของ OpenOffice.org, Microsoft PowerPoint,
keynote
ซอฟตแ์ วรจ์ ดั การฐานข้อมูล (database management software) เป็นซอฟตแ์ วรท์ ่ีใช้ในการ
จดั การฐานข้อมูล ทาให้ผใู้ ช้สามารถทางานด้านข้อมลู ต่าง ๆ เช่น การจดั เกบ็ การแก้ไข การ
ค้นหาข้อมูลทาได้สะดวกและการใช้ซอฟตแ์ วรจ์ ดั การฐานข้อมูลจะทาให้ลด
ความซา้ ซ้อนข้อมูล ตวั อย่างซอฟตแ์ วรจ์ ดั การฐานข้อมูล
เช่น base ของ OpenOffice.org, Microsoft access
ซอฟตแ์ วรก์ ราฟิ ก (graphic software)
เป็นซอฟตแ์ วรท์ ่ีออกแบบสาหรบั งานกราฟิ กและส่ือประสมต่างๆ
เป็นซอฟตแ์ วรท์ ่ีสรา้ ง วาด ตกแต่ง งานเอกสาร รปู ภาพ ภาพเคล่ือนไหว เสียง วีดีทศั น์ ตวั อย่าง
ซอฟตแ์ วรก์ ราฟิ ก
และสื่อประสม ได้แก่ paint, gimp, sketch Up, Photoshop, 3Dsmax, flash
ใบความร้ทู ี่ 11 องคป์ ระกอบของเทคโนโลยี IoT
องคป์ ระกอบของเทคโนโลยี IoT
The Internet of Things
IoT หรอื Internet of Things เป็นเทคโนโลยี
ท่ีเก่ียวกบั การนาระบบทางกลหรือระบบทางไฟฟ้าต่างๆในชีวิตประจาวนั
มาพฒั นาให้สะดวกขึน้
ด้วยการควบคมุ ผา่ นอินเตอรเ์ น็ต
เน่ืองจากในปัจจบุ นั มีการพฒั นาเทคโนโลยีใหมๆ่ มาอยา่ งต่อเนื่อง บาง
เทคโนโลยีเป็ นเทคโนโลยี
ที่เหมาะกบั สภาพการณ์ต่างๆที่แตกต่างกนั ไป
องคป์ ระกอบของเทคโนโลยี IoT
Smart Device Cloud Computing Dashboard
เป็นอปุ กรณ์ชาญฉลาด ที่มี เป็นส่ือกลางในการรบั ส่งข้อมลู เป็ นส่วนที่ใช้แสดงผลและ
ส่วนประกอบของหน่วย หรอื เป็นหน่วยประมวลผลกลาง ควบคมุ การทางานของผใู้ ช้โดย
ประมวลผล เช่น ไมโครโพรเซส ที่รบั ขอ้ มลู จาก Smart Device อาจจะอยใู่ นรปู แบบของอปุ กรณ์
เซอร และส่งต่อไปยงั ผใู้ ช้งาน หรอื แอปพลิเคชนั ใน
คอมพิวเตอร์
เทคโนโลยี IoT ที่เชื่อมโยงอปุ กรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกนั
กอ็ าจมีผลก่อให้เกิดความเส่ียงต่อภยั คกุ คาม
ตงั้ แต่ระดบั บคุ คลไปจนถึงองคก์ รมากขนึ้
ดงั นัน้ การเตรียมความพรอ้ มรบั มือภยั คกุ คาม
ท่ีมาพรอ้ มกบั เทคโนโลยีเป็นประเดน็ ที่ทุกคนให้ความสาคญั เพอ่ื ขบั เคล่ือนนวตั กรรม
ให้เกิดประสิทธิภาพสงู สดุ ในยคุ ดิจิทลั
ใบความร้ทู ี่ 12 ประเภทแอปพลิเคชนั
ประเภทแอปพลิเคชนั
Application คือโปรแกรมประเภทหนึ่ง ที่เรียกวา่ โปรแกรมประยกุ ต์
โปรแกรมเหล่านี้จะถกู ออกแบบมาให้ทางานเฉพาะด้าน เช่น พิมพเ์ อกสาร,
คานวณ, ตกแต่งรปู ภาพ เป็นต้น จากอดีตนัน้ โปรแกรมเหล่านีท้ างาน
บนเครือ่ งคอมพิวเตอรเ์ พียงอย่างเดียว เราจึงมกั เรียกชื่อเตม็ ๆ ว่า Application
แต่เมื่อมีการพฒั นา Smartphone ขึน้ มา Application กไ็ ด้พฒั นา
และไปใช้งานบนโทรศพั ทม์ อื ถอื ได้อีกด้วย และนิยมเรียกกนั สนั้ ๆ ว่า "App"
แอปพลิเคชนั แบง่ ได้ 2 ประเภท ดงั นี้
แอปพลิเคชนั ระบบ แอปพลิเคชนั ท่ีตอบสนองความ
ต้องการของกล่มุ ผใู้ ช้
แอปพลิเคชนั ระบบเป็นส่วนซอฟตแ์ วรร์ ะบบ หรอื แอปพลิเคชนั ท่ีตอบสนอง
ระบบปฏิบตั ิการ (Operating system) ความต้องการ ของกล่มุ ผใู้ ช้
ท่ีทาหน้าท่ีควบคมุ การทางานของอปุ กรณ์และรองรบั เป็นซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์
การใช้งาน หรอื โปรแกรมประยกุ ต์
ที่ทางานภายใต้ระบบปฏิบตั ิการ
ของแอปพลิเคชนั หรือโปรแกรมต่างๆ ที่ติดตงั้ อยู่ มีวตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะอยา่ ง
ภายในคอมพิวเตอร์
ใบความร้ทู ี่ 13 ขนั้ ตอนการพฒั นาแอปพลิเคชนั
7 ขนั้ ตอน
การพฒั นาแอปพลิเคชนั
1 กาหนดปัญหา
(Problem Definition)
2 ศึกษาความเป็นไปได้
(Feasibility Study)
3 วิเคราะหค์ วามต้องการแอปพลิเคชนั
(Analyzing Application Needs)
4 ออกแบบแอปพลิเคชนั
(Designing the Applications)
5 พฒั นาแอปพลิเคชนั
(Developing)
6 ทดสอบแอปพลิเคชนั
(Testing and Maintaining the System)
7 จดั ทาเอกสาร
(Documenting)