The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือประกัน65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BantakuySchool, 2022-09-27 02:41:01

ประกัน 65

คู่มือประกัน65

คมู่ ือการประกันคณุ ภาพ

ภายในสถานศึกษา

ระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

โรงเรียนบ้านตะกยุ (ค้าคณู บารุง)

โรงเรียนบ้านตะกุย(ค้าคณู บารุง) อาเภอศีขรภมู ิ จังหวดั สุรินทร์
สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต ๑
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



คำนำ
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเป็นกระบวนการที่สร้างความมั่นใจแก่ทุกฝ่ายว่า การจัดการ
ศึกษาทุกระดับ มีคุณภาพและจะคงรักษาไว้ซึ่งมาตรฐาน กระทรวงศึกษาธิดาร จึงให้มีการปฏิรูประบบการ
ประเมินและการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยมีนโยบายปรับปรุงมาตรฐานและตัวชี้วัดให้มีจำนวน
น้อยลง กระชับและสะท้อนถึงคุณภาพอย่างแท้จริง เน้นการประเมินตามสภาพจริง ไม่ยุ่งยาก สร้างมาตรฐาน
ระบบการประเมิน เพื่อลดภาระการจัดเก็บข้อมูล ลดการจัดทำเอกสารที่ใช้ในการประเมิน รวมทั้งพัฒ นาผู้
ประเมินภายในให้มีมาตรฐาน มีความน่าเช่ือถือ สามารถให้คำชี้แนะและให้คำปรึกษาแก่สถานศึกษา ได้
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ปรับใหม่จำนวนไม่มาก แนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษาจะเน้นการเก็บข้อมูลในเชิงคุณภาพตามบริบทของสถานศึกษา ไม่เพิ่มภาระการจัดทำเอกสารให้
สถานศึกษา ปรับกระบวนทัศน์ในการประเมินที่มีเป้าหมาย เพื่อพัฒนาบนพื้นฐานบริบทของสถานศึกษา
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจึงเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาทุนมนุษย์ และเป็นเป้าหมายสำคัญท่ีสุด
เอกสารเล่มน้ีจัดขึ้นตามกรอบนโยบายปฏิรูประบบการประเมินและประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
เพือ่ ใช้เปน็ แนวทางในการดำเนนิ งาน และเตรียมการสำหรบั การประเมินคุณภาพภายนอกตามกรอบมาตรฐาน
การศกึ ษา ซ่งึ จะทำใหเ้ กิดความมั่นใจว่า การจัดการศึกษาของสถานศึกษามีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และคงรักษา
ไว้ซึ่งมาตรฐานจากการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ใช้เป็นแนวทางในการตรวจสอบและ
ประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ทงั้ น้ขี อขอบคณุ ผบู้ ริหารและคณะครูทกุ ท่าน ท่ีมีส่วนร่วมในการจัดทำ
เอกสารเล่มนีใ้ หส้ มบูรณ์ สามารถนำไปปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลต่อไป

โรงเรียนบ้านตะกยุ (ค้ำคูณบำรงุ )
คณะผูจ้ ัดทำ



สารบญั

เรื่อง หนา้

คำนำ ข

สารบัญ ๑

การประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา ๒

• ระดับการศึกษาปฐมวยั ๓
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ ๓
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ๔
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เนน้ เดก็ เปน็ สำคญั ๕

• ระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผูเ้ รียนเปน็ สำคญั

คำอธิบาย และระดบั มาตรฐานสถานศึกษา ระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน

ภาคผนวก
รอ่ งรอยเอกสารหลักฐานประกอบการจัดทำรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา



การประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา

ระดับการศึกษาปฐมวัย
มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

มีจำนวน ๓ มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพเดก็
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการณท์ ่ีเน้นเดก็ เป็นสำคัญ

แตล่ ะมาตรฐานมรี ายละเอยี ดดังนี้
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพเด็ก

๑.๑ มพี ฒั นาการด้านร่างกาย แข็งแรง มสี ุขนสิ ัยทด่ี ี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้
๑. เดก็ มนี ้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑท์ ี่เหมาะสม
๒. เดก็ สามารถเคล่ือนไหวรา่ งกายอย่างคลอ่ งแคล่วและทรงตัวไดด้ ี
๓. เด็กสามารถใชม้ อื เท้าและตาประสานสมั พนั ธ์กนั ได้ดี
๔. เด็กสามารถดแู ลรักษา ชอ่ งปากและสุขภาพอนามัยของตนเองโดยปฏบิ ัตจิ นเป็นนิสยั
๕. เดก็ สามารถปฏบิ ัตติ นตามข้อตกลงของห้องเรียนที่เกีย่ วกับความปลอดภัยได้
๖. เดก็ รแู้ ละสามารถหลีกเลีย่ งเหตุการณ์ที่เส่ียงต่อโรค

สงิ่ เสพตดิ และสวัสดิภาพของตนเองจากสิ่งแวดลอ้ มที่เปน็ อันตรายได้
๑.๒ มพี ัฒนะการทางด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณไ์ ด้
๑. เด็กมนี สิ ยั ร่าเรงิ แจม่ ใส สามารถจัดการกับอารมณ์ ความรสู้ กึ และแสดงออกได้อย่างเหมาะสม
๒. เด็กสามารถยับย้ังชงั่ ใจ ร้จู ักการอดทนรอ
๓. เดก็ ยอมรับ พอใจในความสามารถ ผลงาน ของตนเองและเพื่อนร่วมชั้นเรียน
๔. เดก็ สามารถพดู และแสดงออกได้อย่างเหมาะสมดว้ ยความมน่ั ใจ
๕. เดก็ สามารถช่วยเหลอื แบง่ ปนั เคารพสิทธขิ์ องผู้อน่ื และรู้หน้าท่ีความรับผิดชอบของ

ตนเอง อดทน อดกลน้ั ได้
๖. เด็กมีวินัยความซื่อสตั ย์สุจรติ และมีคุณธรรมตามที่สถานศึกษากำหนด
๗. เด็กรกั และมีความสุขกับศิลปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว

๑.๓ มพี ัฒนาการดา้ นสังคม ชว่ ยเหลือตนเอง และเป็นสมาชกิ ทด่ี ีของสังคม
๑. เด็กสามารถชว่ ยเหลอื ตนเองในการปฏิบตั ิกิจวัตรประจำวันของตนได้อย่างเหมาะสม
๒. เดก็ มวี นิ ัยรจู้ ักประหยัดอดออมและมีความพอเพยี ง
๓. เด็กมีสว่ นรว่ มในการทำนบุ ำรุง และดูแลรกั ษาสิง่ แวดลอ้ มในโรงเรียนและนอกโรงเรยี น
๔. เดก็ มมี ารยาททางสังคมตามวัฒนธรรมประเพณีไทย การไหว้ การย้ิม การทกั ทาย

มีสมั มาคารวะ
๕. เดก็ สามารถยอมรับความแตกต่างระวางบุคคล เชน่ ความคดิ พฤตกิ รรม พนื้ ฐานครอบครวั

วัฒนธรรมตา่ งๆ
๖.เด็กสามารถเล่นและทำงานตา่ งรว่ มกบั ผอู้ น่ื ได้และสามารถแก้ไขความขัดแย้งโดยไม่ใชค้ วามรุนแรงได้

๑.๔ มพี ฒั นาการดา้ น สติ ปัญญา สื่อสารได้ มีทกั ษะการคิดพน้ื ฐานและแสวงหาความร้ไู ด้
๑. เดก็ สามารถสนทนาโต้ตอบและเลา่ เรอื่ งใหผ้ ้อู น่ื เข้าใจได้
๒. เดก็ สามารถต้ังคำถามในสินทต่ี นเองสงสัยหรือสนใจ และสามารถคน้ หาคำตอบเองได้



๓. เด็กสามารถอา่ นนิทาน และเล่าเรื่องทตี่ นเองสนใจหรืออา่ นได้อย่างเหมาะสมตามวัย
๔. เด็กมีความคดิ รวบยอด การคิดเชงิ เหตผุ ลทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
การแก้ปัญหาสามารถตดั สนิ ใจแกป้ ัญหาได้อยา่ งเหมาะสมตามวัย
๕. เดก็ สามารถสร้างสรรคผ์ ลงานตามความคดิ และจิตนาการ เช่น ศิลปะ
การเคล่อื นไหวร่างกายการเล่นเกมส์ อย่างอสิ ระ และเหมาะสมตามวยั
๖. เด็กสามารถใช้ส่อื และเทคโนโลยี เช่น ส่ือการเรียนรู้ตา่ ง ๆ แว่นขยาย ลกู บาศก์ กล้องถ่ายรปู
ตัดต่อภาพ เป็นเครื่องมือในการเรยี นรูแ้ ละแสวงหาความรู้ได้

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
๒.๑ มีหลกั สูตรครอบคลมุ พัฒนาการทั้ง ๔ ดา้ น สอดคล้องกับบรบิ ทของท้องถนิ่
๑. สถานศกึ ษามหี ลกั สูตรสถานศึกษา ทส่ี อดคล้องและครอบคลุมพฒั นาท้ัง ๔

ด้านกบั หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั และบรบิ ทของโรงเรียนและท้องถน่ิ
๒.๒ จัดครูให้เพียงพอกับช้นั เรียน
๑. สถานศกึ ษาจัดครูใหเ้ หมาะสมกบั การจัดการเรียนการสอน

โดยครูท่ีจบการศึกษาวชิ าเอกประถมวยั หรอื ครูท่ีมีความเช่ียวชาญทางด้านปฐมวยั
และผ่านการอบรมการศึกษาปฐมวัย อยา่ งเพยี งพอกบั ช้นั เรียน

๒.๓ สง่ เสรมิ ใหค้ รมู คี วามเชี่ยวชาญด้านการจดั ประสบการการณ์
๑. สถานศึกษามีการส่งเสริมใหค้ รูมคี วามเชี่ยวชาญด้านการจดั การประสบการณ์

การเรียนการสอนที่ส่งผลต่อคุณภาพการศกึ ษาของเด็กเป็นรายบุคคล
๒.๔ จดั สภาพแวดล้อมและสื่อเพือ่ การเรียนรู้ อยา่ งปลอดภัยและเพยี งพอ
๑. สถานศกึ ษาจัดสภาพแวดลอ้ ม ห้องเรียนให้ดงึ ดดู ผูเ้ รียนรู้ เพียงพอและหลากหลาย

ปลอดภัยต่อผูเ้ รยี น
๒.๕ ใหบ้ ริการสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและส่อื การเรียนรู้ เพื่อสนับสนนุ

การจัดประสบการณ์สำหรับครู
๑. สถานศกึ ษาใหบ้ ริการ อำนวยความสะดวกดา้ นสือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและสอ่ื การเรียนรู้

วัสดุ อุปกรณ์ เพ่ือสนับสนุนการเรยี นรู้และการจัดการประสบการณ์
๒.๖ มีระบบบริหารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผู้ทเี่ กี่ยวข้องทกุ ฝ่ายมสี ่วนร่วม
๑. สถานศึกษา มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา โดยมีการประชมุ PLC

ทีส่ มบูรณ์แบบ เปิดโอกาสให้ผู้ทเ่ี กยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ย มีสว่ นร่วมและจัดส่งผลงาน
ประเมนิ ตนเองให้หนว่ ยงานต้นสังกัด

มาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการณท์ ่เี น้นเดก็ เป็นสำคญั
๓.๑ จดั ประสบการณ์ทีส่ ง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มพี ัฒนาการทกุ ดา้ นอยา่ งสมดลุ เต็มศักยภาพ
๑. ครผู สู้ อนวเิ คราะห์เด็กเปน็ รายบคุ คล
๒. ครผู สู้ อนทำแผนการจดั ประสบการณ์ แผนการจดั การเรยี นรู้

จากการวเิ คราะห์มาตรฐานคุณภาพท่ีพง่ึ ประสงค์ในหลักสูตรสถานศกึ ษา
๓. ครูผสู้ อนจัดใหม้ ีกจิ กรรมที่สง่ เสริมพัฒนาการของเดก็ ให้ครบทกุ ด้าน ร่างกาย ด้านอารมณ์

จิตใจ ด้านสังคม ดา้ นสติปัญญา
๓.๒ สร้างโอกาสใหเ้ ด็กได้รบั ประสบการณต์ รง เล่น และปฏิบตั อิ ย่างมคี วามสขุ



๑. ครูผู้สอนสรา้ งโอกาสและสถานการณต์ รง เลน่ และปฏบิ ตั ิ อยา่ งอสิ ระตามความตอ้ งการ
ความสนใจ และความสามารถของเดก็

๓.๓ จัดบรรยากาศทเ่ี อือ้ ตอ่ การเรียนรู้ ใช้สอื่ และเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมกับวัย
๑. ครูผสู้ อนจดั ช้ันเรยี นใหส้ ะอาดเรียบร้อย อากาศถ่ายเทได้สะดวก ปลอดภยั
๒. ครูผู้สอนจัดใหม้ ีทนั ทีแสดงผลงานเด็ก มุมกจิ กรรม มมุ การเรียนรู้ และมุมกจิ กรรม
๓. ครผู ้สู อนใหเ้ ด็กออกความคดิ เหน็ และมีสว่ นรว่ มในการจดั ตกแต่งห้องเรียน เชน่ ป้ายนิเทศ

ปลูกดแู ลต้นไม้
๔. ครูผสู้ อนใช้ส่ือและเทคโนโลยี ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับชว่ งอายุ ประสบการณ์

ระยะความสนใจและการเรยี นรู้ของเด็ก
๓.๔ ประเมินพัฒนาการของเด็ก ตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมินพฒั นาการเดก็
๑. ครูผู้สอนมเี ครอ่ื งมือและวิธีการทีห่ ลากหลาย

ครอบคลุมและมีมาตรฐานในการประเมนิ พฒั นาการเดก็
๒. ครผู ้สู อนจดั ให้ผปู้ กครองและผู้ที่มสี ่วนเก่ียงข้องได้มีสวนร่วมในการพฒั นาคุณภาพเดก็

ระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น
๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผู้เรยี น

๑.๑.๑ มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคิดคำนวณ
๑. ผู้เรยี นมที ักษะในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สาร

และคดิ คำนวณตามเกณฑท์ ีส่ ถานศึกษากำหนด
๑.๑.๒ มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ

อภิปรายแลกเปลยี่ นความคิดเห็น และแก้ปญั หา
๑. ผู้เรียนมคี วามสามารถในการคดิ จำแนก แยกแยะ ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง พจิ ารณาอยา่ ง

รอบคอบโดยใชเ้ หตุผลในการตัดสนิ ใจ
๒. ผ้เู รยี นมคี วามสามารถในการอภิปรายแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ ได้
๓. ผเู้ รยี นมีความสามารถแก้ปัญหาอย่างมเี หตผุ ล

๑.๑.๓ มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม
๑. ผเู้ รียนมีความสามารถในการรวบรวมความรู้ไดด้ ้วยตนเอง
๒. ผูเ้ รียนมีความสามารถทำงานเป็นทีมได้
๓. ผเู้ รียนมคี วามสามารถเช่ือมโยงองค์ความรแู้ ละประสบการณ์มาใชใ้ นการสร้างสรรคส์ ่งิ ใหม่

เช่น โครงการ โครงงาน ชิ้นงาน ผลผลติ แนวความคิด
๑.๑.๔ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
๑. ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเพ่ือการพัฒนาตนเอง

และสงั คมในด้านการเรยี นรู้ การสอื่ สาร การทำงาน อยา่ งสรา้ งสรรค์ และมีคุณธรรม
๑.๑.๕ มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา
1 . ผู้เรียนบรรลแุ ละมคี วามก้าวหน้าในการเรยี นรู้ตามหลักสตู รสถานศึกษา

จากพน้ื ฐานเดิมในดา้ น ความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ กระบวนการต่าง ๆ
๒. ผเู้ รียนมีความกา้ วหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ หรือผลการทดสอบอ่ืนๆ



๑.๑.๖ มีความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคติที่ดตี อ่ งานอาชพี
๑. ผู้เรียนมีความร้แู ละทักษะพ้นื ฐานในการจดั การ

เจตคติที่ดีพร้อมทีจ่ ะศึกษาต่อในระดบั ชน้ั ท่ีสูงขนึ้
๒. ผเู้ รยี นมีความรแู้ ละทักษะพ้ืนฐานและเจตคติท่ีดี ในการทำงาน หรืองานอาชีพ

๑.๒ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผู้เรียน
๑.๒.๑ มีคณุ ลักษณะและคา่ นิยมทด่ี ตี ามทีส่ ถานศึกษากำหนด
๑. ผู้เรยี นมีพฤตกิ รรมเปน็ ผทู้ มี่ คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม เคารพในกฎกติกา

มคี ่านิยมและจติ สำนกึ ตามท่สี ถานศึกษากำหนดโดยไม่ขดั กับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคม
๑.๒.๒ มีความภูมใิ จในท้องถิ่นและความเปน็ ไทย
๑. ผเู้ รียนมีความภมู ิใจในท้องถ่นิ ของตนเอง
๒. ผ้เู รียนเห็นคณุ คา่ ของความเปน็ ไทย

และมีส่วนรว่ มในการอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมและประเพณไี ทย รวมทง้ั ภมู ิปัญญาไทย
๑.๒.๓ ยอมรบั ที่จะอยู่รว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย
๑. ผู้เรยี นยอมรับและอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลในดา้ น เพศ วยั เชอ้ื ชาติ

ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี
๑.๒.๔ มสี ขุ ภาวะทางกาย และจิตสังคม
๑. ผเู้ รยี นสามารถรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสงั คม

และแสดงออกอย่างเหมาะสมในแตล่ ะชว่ งวยั
๒. ผเู้ รียนสามารถอยู่ร่วมกบั อน่ื ได้อย่างมีความสุข เข้าใจผู้อืน่ ไม่มีความขัดแยง้ กับผู้อน่ื

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
๒.๑ มเี ป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพนั ธกจิ ที่สถานศกึ ษากำหนดอย่างชดั เจน
๑. สถานศกึ ษากำหนดเป้าหมาย วสิ ยั ทศั น์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดอยา่ งชัดเจน

สอดคล้องกับบรบิ ทของสถานศึกษา ความตอ้ งการของชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ วัตถุประสงค์ของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ
นโยบายรฐั บาล และของต้นสังกัดรวมทั้งทนั ต่อการเปล่ียนแปลงของสงั คม

๒.๒ มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา
๑. สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเปน็ ระบบตามกระบวนการ

PDCA อย่างต่อเน่ือง
๒. สถานศึกษามีการบริหารอตั รากำลงั ทรพั ยากรทางการศึกษาอยา่ งมีประสิทธิภาพ
๓. สถานศึกษามรี ะบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น
๔. สถานศกึ ษามีระบบการนิเทศภายใน มีการนำข้อมูลมาใชใ้ นการพัฒนา
๕. บุคลากรและผทู้ เี่ กี่ยวขอ้ งทุกฝา่ ยมสี ว่ นร่วมในการวางแผน ปรบั ปรุง และพฒั นา

และรว่ มรบั ผดิ ชอบต่อการจดั การศึกษา
๒.๓ ดำเนินงานพฒั นาวิชาการท่เี น้นคุณภาพผู้เรียนรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา
และทุกกลุ่มเป้าหมาย
๑. สถานศกึ ษามีหลักสูตรสถานศึกษา และกจิ กรรมเสริมหลกั สตู รทเี่ นน้ คุณภาพผูเ้ รียนรอบด้าน

เชอ่ื มโยงวิถีชวี ติ จรงิ และครอบคลุมทกุ กลุม่ เปา้ หมาย
รวมถึงการจัดการเรียนการสอนของกลุ่มที่เรยี นแบบควบรวมหรอื เรียนรว่ มด้วย



๒.๔ พัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเชยี่ วชาญทางวิชาชพี
๑. สถานศกึ ษาส่งเสรมิ สนบั สนนุ ครู บคุ ลากร ให้มคี วามเชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ
๒. สถานศึกษาจดั ให้มชี ุมชนการเรียนรู้ (PLC) มาใชใ้ นการพัฒนางานและการเรียนร้ขู องผู้เรียน

๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทีเ่ อื้อต่อการจัดการเรยี นรู้
๑. สถานศกึ ษามีการจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพท้ังภายในและภายนอกหอ้ งเรียน

และสภาพแวดล้อมทางสงั คม ทเี่ ออ้ื ตอ่ การจดั การเรยี นรู้
๒. สถานศกึ ษามีการจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ปลอดภยั ตอ่ ผู้เรียน

๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนุนการบริหารจดั การและการจดั การเรยี นรู้
๑. สถานศึกษามีการจดั หา พฒั นาและบริการ

เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือใชใ้ นการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ
๓.๑ จดั การเรียนร้ผู า่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตได้
๑. ครผู สู้ อนจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสตู รสถานศกึ ษา
๒. ครผู ู้สอนจัดกิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริงทำใหผ้ ู้เรียน

ไดร้ บั การฝึกทักษะ แสดงออก แสดงความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ นำเสนอผลงาน
และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ได้

๓. ครูผสู้ อนมีแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ีสามารถนำไปจัดกจิ กรรมได้จรงิ
๔. ครูผสู้ อนมีรปู แบบการเรยี นจัดการเรยี นรูเ้ ฉพาะสำหรับ
ผูท้ ่ีมคี วามจำเปน็ และต้องการความช่วยเหลอื พิเศษ
๓.๒ ใช้ส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ท่เี อือ้ ต่อการเรยี นรู้
๑. ครผู ู้สอนมีการใช้สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้
รวมท้ังภมู ิปญั ญาท้องถิน่ มาใช้ในการจดั การเรียนรู้
๒. ครผู ้สู อนจัดกจิ กรรมการเรียนรูโ้ ดยสร้างโอกาสให้ผ้เู รยี นไดแ้ สวงหาความร้ดู ้วยตนเอง
จากสอื่ ทหี่ ลากหลาย
๓.๓ มีการบรหิ ารจัดการช้นั เรียนเชิงบวก
๑. ครูผสู้ อนมกี ารบรหิ ารจัดการชนั้ เรยี น โดยเน้นการมีปฏิสัมพนั ธ์เชงิ บวก ใหเ้ ดก็ รกั ครู
ครูรักเด็ก และเด็กรักเด็ก เด็กรกั ทจ่ี ะเรียนรู้ สามารถอยู่รว่ มกนั อย่างมีความสุข
๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผเู้ รียน
๑. ครูผ้สู อนมเี คร่อื งมือ วธิ ีการวัดและประเมินผลทเี่ หมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรยี นรู้
๒. ครูผ้สู อนให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผเู้ รียนเพ่ือนำไปใชใ้ นการพัฒนาการเรียนรู้
๓.๕ มกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรู้และให้ขอ้ มูลป้อนกลบั เพ่ือปรับปรงุ และพัฒนาการจัดการเรียนรู้
๑. ครผู สู้ อนและผทู้ ม่ี สี ว่ นเกี่ยวข้องมีการแลกเปลยี่ นความรูแ้ ละประสบการณ์ (PLC)
รวมท้งั ใหข้ ้อมูลป้อนกลับเพ่อื นำไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัดการเรยี นรู้



คำอธิบาย และระดบั มาตรฐานสถานศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผ้เู รยี น

1.1 ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผเู้ รียน

๑.๑.๑ ความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสือ่ สาร และการคดิ คำนวณตามเกณฑ์ของแตล่ ะ

ระดบั ชั้นคำอธบิ าย

ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถในการอ่าน เขียน การส่ือสาร และการคดิ คำนวณตามเกณฑ์ของแตล่ ะ

ระดบั ชนั้ โดยแยกแยะข้อเท็จจรงิ รายละเอยี ด จัดกลุ่มข้อมูล จัดกลุ่มความคิด เช่ือมโยงความรู้เดิมกับความรู้

ใหม่ และสือ่ สารเพ่ือเสนอความคิดจากเรื่องทอี่ า่ น ฟัง และดู โดยการพูดหรือเขียนตามความคิดของตนเอง

เกณฑก์ ารพจิ ารณา

คำอธิบายระดับคุณภาพ ระดับการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ

ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการอา่ น เขยี นการสอ่ื สารทงั้ ภาษาไทย ๕ ยอดเย่ยี ม

และภาษาองั กฤษ มีความสามารถในการคิดคำนวณ

เหมาะสมตามระดบั ชน้ั ร้อยละ ๙๐ ขน้ึ ไป

ผู้เรียนมีความสามารถในการอา่ น เขียนการสือ่ สารทั้งภาษาไทย ๔ ดเี ลศิ

และภาษาองั กฤษ มีความสามารถในการคิดคำนวณ

เหมาะสมตามระดบั ช้นั ร้อยละ ๘๐ - ๘๙

ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถในการอา่ น เขยี นการสอื่ สารทั้งภาษาไทย ๓ ดี

และภาษาอังกฤษ มีความสามารถในการคดิ คำนวณ

เหมาะสมตามระดับชั้น รอ้ ยละ ๗๐ - ๗๙

ผู้เรยี นมีความสามารถในการอ่าน เขียนการส่อื สารทั้งภาษาไทย ๒ ปานกลาง

และภาษาองั กฤษ มคี วามสามารถในการคิดคำนวณ

เหมาะสมตามระดับชน้ั ร้อยละ ๖๐ – ๖๙

ผู้เรยี นมีความสามารถในการอ่าน เขยี นการส่ือสารทัง้ ภาษาไทย ๑ กำลงั พัฒนา

และภาษาอังกฤษ มคี วามสามารถในการคิดคำนวณ

เหมาะสมตามระดบั ช้นั ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐

๑.๑.๒ ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ
อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และแกป้ ัญหา
คำอธบิ าย

ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ียน ความคดิ เห็น
และแก้ปัญหาในภาพรวม จากการจัดการเรียนการสอน การสง่ เสรมิ และการพัฒนาผ้เู รียน มีความสามารถ
ในการคิดวเิ คราะหแ์ ละเขียนเรอ่ื งหรือข้อความที่ได้จากการอ่าน ตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากำหนดนำเสนอวิธีคิด
วิธีแก้ปญั หาดว้ ยภาษาหรือวิธีการของตนเอง มีความคดิ รเิ ริ่ม และสร้างสรรคผ์ ลงานด้วยความภาคภมู ิใจ
กำหนดเปา้ หมาย คาดการณ์ และตัดสนิ ใจแกป้ ัญหาโดยมีเหตผุ ลประกอบ



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ระดบั การประ ระดับคุณภาพ
เมนิ
คำอธิบายระดับคณุ ภาพ
๕ ยอดเย่ียม
ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการคิดจำแนก แยกแยะ ใครค่ รวญ ไตร่ตรอง
พิจารณาอยา่ งรอบคอบโดยใชเ้ หตผุ ลในการตัดสินใจ ๔ ดเี ลศิ
การอภปิ รายแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ได้ ๓ ดี
ความสามารถแก้ปัญหาอย่างมีเหตผุ ล ร้อยละ ๙๐ ขน้ึ ไป ๒ ปานกลาง

ผ้เู รียนมีความสามารถในการคิดจำแนก แยกแยะ ใครค่ รวญ ไตร่ตรอง ๑ กำลังพฒั นา
พิจารณาอย่างรอบคอบโดยใชเ้ หตผุ ลในการตดั สินใจ
การอภิปรายแลกเปลยี่ นความคิดเห็นได้
ความสามารถแก้ปญั หาอยา่ งมเี หตุผล ร้อยละ ๘๐ - ๘๙
ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการคิดจำแนก แยกแยะ ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง
พิจารณาอยา่ งรอบคอบโดยใช้เหตุผลในการตัดสินใจ
การอภปิ รายแลกเปลีย่ นความคิดเห็นได้
ความสามารถแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล รอ้ ยละ ๗๐ - ๗๙
ผู้เรยี นมีความสามารถในการคดิ จำแนก แยกแยะ ใครค่ รวญ ไตรต่ รอง
พิจารณาอยา่ งรอบคอบโดยใชเ้ หตผุ ลในการตัดสนิ ใจ
การอภปิ รายแลกเปลย่ี นความคดิ เห็นได้
ความสามารถแก้ปญั หาอยา่ งมีเหตุผล รอ้ ยละ ๖๐ – ๖๙

ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการคดิ จำแนก แยกแยะ ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง
พิจารณาอยา่ งรอบคอบโดยใชเ้ หตผุ ลในการตัดสินใจ
การอภปิ รายแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ได้
ความสามารถแก้ปัญหาอยา่ งมีเหตุผล ต่ำกวา่ รอ้ ยละ ๖๐

๑.๑.๓ ผ้เู รียนมีความสารมารถในการสร้างนวตั กรรม
คำอธบิ าย

ผเู้ รยี นมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถในการรวบรวมความรู้ไดด้ ้วยตนเองสามารถเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง
ด้วยกระบวนการที่หลายหลาย เช่นการเรียนรู้ในห้องเรียน นอกห้องเรียน การเรียนแบบออนไลน์ เป็นต้น
ทำให้นักเรียนมีความสามารถในการทำงานเปน็ ทมี และสามารถเชอื่ มโยงองค์ความร้แู ละประสบการณม์ าใช้ใน
การสรา้ งสรรค์ส่งิ ใหม่ เชน่ โครงการ โครงงาน ชิ้นงาน ผลผลิต แนวความคดิ ได้



ประเด็นการพิจารณา ระดบั การประเมนิ ระดับคุณภาพ
๕ ยอดเย่ยี ม
คำอธบิ ายระดับคุณภาพ ๔ ดเี ลิศ

ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการรวบรวมความรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง ๓ ดี
ทำงานเปน็ ทีมมคี วามสามารถเชอ่ื มโยงองคค์ วามรแู้ ละประสบกา
รณม์ าใชใ้ นการสรา้ งสรรคส์ ่งิ ใหม่ เช่น โครงการ โครงงาน ๒ ปานกลาง
ชิ้นงาน ผลผลติ แนวความคิด รอ้ ยละ ๙๐ ข้ึนไป
๑ กำลงั พัฒนา
ผู้เรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรไู้ ดด้ ้วยตนเอง
ทำงานเปน็ ทีม
มคี วามสามารถเชอ่ื มโยงองค์ความรแู้ ละประสบการณ์มาใชใ้ นกา
รสรา้ งสรรคส์ ิง่ ใหม่ เชน่ โครงการ โครงงาน ชิน้ งาน ผลผลิต
แนวความคิด ร้อยละ ๘๐ - ๘๙

ผู้เรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง
ทำงานเป็นทีม
มีความสามารถเชอ่ื มโยงองค์ความรแู้ ละประสบการณ์มาใชใ้ นกา
รสรา้ งสรรคส์ ิง่ ใหม่ เชน่ โครงการ โครงงาน ชิ้นงาน ผลผลิต
แนวความคิด รอ้ ยละ ๗๐ - ๗๙

ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถในการรวบรวมความรู้ไดด้ ้วยตนเอง
ทำงานเป็นทีม
มคี วามสามารถเชอ่ื มโยงองค์ความรแู้ ละประสบการณ์มาใช้ในกา
รสรา้ งสรรค์สง่ิ ใหม่ เช่น โครงการ โครงงาน ชิ้นงาน ผลผลติ
แนวความคดิ รอ้ ยละ ๖๐ – ๖๙

ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการรวบรวมความรไู้ ด้ด้วยตนเอง
ทำงานเป็นทีม
มีความสามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้และประสบการณม์ าใชใ้ นกา
รสรา้ งสรรคส์ ิง่ ใหม่ เชน่ โครงการ โครงงาน ชน้ิ งาน ผลผลิต
แนวความคดิ ตำ่ กว่าร้อยละ ๖๐

๑.๑.๔ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร
คำอธิบาย

ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเพื่อการพัฒนาตนเอง
และสังคมในด้านการเรยี นรู้ การส่อื สาร การทำงาน อย่างสร้างสรรค์ ปลอดภยั มีประสทิ ธิภาพและมีคุณธรรม

ประเดน็ การพจิ ารณา ระดับการประเมิน ระดับคณุ ภาพ
๕ ยอดเยยี่ ม
คำอธิบายระดับคุณภาพ

ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื
สารเพ่ือการพฒั นาตนเอง และสังคมในด้านการเรยี นรู้
การสอ่ื สาร การทำงาน อย่างสร้างสรรค์ ปลอดภยั
มีประสิทธภิ าพและมีคุณธรรม ร้อยละ ๙๐ ขน้ึ ไป



คำอธบิ ายระดับคุณภาพ ระดับการประเมิน ระดับคณุ ภาพ
๔ ดีเลิศ
ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื
สารเพอื่ การพฒั นาตนเอง และสังคมในดา้ นการเรยี นรู้
การสอื่ สาร การทำงาน อย่างสร้างสรรค์ ปลอดภัย
มปี ระสทิ ธภิ าพและมีคุณธรรม รอ้ ยละ ๘๐ - ๘๙

ผเู้ รยี นมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือ ๓ ดี
สารเพ่ือการพฒั นาตนเอง และสังคมในดา้ นการเรยี นรู้ ๒ ปานกลาง
การส่ือสาร การทำงาน อย่างสร้างสรรค์ ปลอดภัย ๑ กำลงั พฒั นา
มปี ระสทิ ธภิ าพและมีคุณธรรม ร้อยละ ๗๐ - ๗๙

ผู้เรยี นมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื
สารเพ่ือการพัฒนาตนเอง และสงั คมในดา้ นการเรียนรู้
การสือ่ สาร การทำงาน อย่างสรา้ งสรรค์ ปลอดภยั
มปี ระสทิ ธิภาพและมีคณุ ธรรม ร้อยละ ๖๐ – ๖๙

ผู้เรยี นมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื
สารเพื่อการพฒั นาตนเอง และสังคมในด้านการเรยี นรู้
การส่ือสาร การทำงาน อย่างสรา้ งสรรค์ ปลอดภัย
มีประสิทธภิ าพและมีคณุ ธรรม ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐

๑.๑.๕ มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา
คำอธบิ าย

ผ้เู รยี นมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลย่ี ทัง้ ๘ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ มีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญ
ตามหลักสตู รเป็นไปตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากำหนดรวมทงั้ มีผลการทดสอบระดบั ชาตเิ ป็นไปตามเกณฑ์ท่ีกำหน
ดและผู้เรียนมีผลการทดสอบรวบยอดระดับชาติในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
และวิทยาศาสตร์ NT LAS เฉล่ยี ตามเกณฑ์

ประเดน็ การพจิ ารณา ระดับการประเมนิ ระดบั คุณภาพ
๕ ยอดเยย่ี ม
คำอธบิ ายระดับคุณภาพ
๔ ดเี ลิศ
ผเู้ รยี นมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรียน ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรู้
เพิม่ ขึน้ รอ้ ยละ ๓
และมผี ลการทดสอบระดับชาติสงู กวา่ เกณฑ์ของสถานศึกษาหรือเขต
พนื้ ทกี่ ารศกึ ษากำหนด รอ้ ยละ ๙๐ ขึ้นไป
ผู้เรียนมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ๘ กลุม่ สาระการเรียนรู้
เพ่ิมขึน้ ร้อยละ ๓
และมีผลการทดสอบระดับชาติสงู กวา่ เกณฑข์ องสถานศกึ ษาหรือเขต
พนื้ ทก่ี ารศึกษากำหนด ร้อยละ ๘๐ - ๘๙

๑๐

คำอธบิ ายระดับคณุ ภาพ ระดบั การประเมิน ระดับคุณภาพ
๓ ดี
ผู้เรียนมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรยี น ๘ กล่มุ สาระการเรียนรู้
เพ่ิมขึ้นร้อยละ ๓ ๒ ปานกลาง
และมผี ลการทดสอบระดบั ชาติสูงกวา่ เกณฑ์ของสถานศกึ ษาหรือเขต
พ้ืนท่กี ารศึกษากำหนด ร้อยละ ๗๐ - ๗๙
ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน ๘ กล่มุ สาระการเรยี นรู้
เพม่ิ ขึ้นร้อยละ ๓
และมีผลการทดสอบระดับชาติสูงกว่าเกณฑข์ องสถานศกึ ษาหรือเขต
พ้นื ท่กี ารศึกษากำหนด รอ้ ยละ ๖๐ – ๖๙

ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรยี น ๘ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ๑ กำลังพัฒนา
เพมิ่ ข้ึนรอ้ ยละ ๓
และมผี ลการทดสอบระดับชาติสูงกวา่ เกณฑข์ องสถานศกึ ษาหรือเขต
พืน้ ท่ีการศกึ ษากำหนด ตำ่ กว่ารอ้ ยละ ๖๐

๑.๑.๖ มีความรู้ ทกั ษะพนื้ ฐาน และเจตคติทด่ี ตี อ่ งานอาชพี
คำอธบิ าย

ผูเ้ รียนมคี วามพร้อมในการศึกษาตอ่ การฝกึ งาน หรือการทำงานอย่างเป็นระบบ
โดยมีการวางแผนการทำงาน ดำเนินงานตามแผนอยา่ งรอบคอบ เอาใจใส่ มานะ พากเพียร
มีการตรวจสอบทบทวนการทำงานเปน็ ระยะ ๆ จนงานท่ีดำเนนิ การบรรลผุ ลสำเรจ็ ตามวัตถุประสงค์
และเป้าหมายท่กี ำหนดจนสำเรจ็ อยา่ งมีคุณภาพ
ทำงานอย่างมีความสุขมงุ่ มน่ั พัฒนางานและภูมใิ จในผลงานของตนเอง สามารถทำงานเป็นหม่คู ณะได้
มคี วามรสู้ ึกท่ีดตี อ่ อาชีพสจุ รติ สามารถบอกแหลง่ ข้อมลู เกยี่ วกบั อาชพี
และหาความรู้เกี่ยวกบั อาชพี ทตี่ นเองสนใจ

ประเดน็ การพิจารณา ระดบั การประเมนิ ระดบั คุณภาพ
๕ ยอดเยย่ี ม
คำอธบิ ายระดบั คุณภาพ
๔ ดเี ลศิ
ผูเ้ รยี นมีความรู้ ทกั ษะ และเจตคติทดี ี
พร้อมทีจ่ ะศึกษาต่อในระดับช้ันท่ีสูงข้นึ
มีความรู้ทักษะในการทำงานประกอบอาชีพเหมาะสมกบั ชว่ งวัย
รอ้ ยละ ๙๐ ขนึ้ ไป
ผเู้ รียนมีความรู้ ทกั ษะ และเจตคตทิ ีดี
พรอ้ มทจี่ ะศกึ ษาต่อในระดับชั้นที่สงู ข้นึ
มคี วามรูท้ ักษะในการทำงานประกอบอาชีพเหมาะสมกบั ชว่ งวัย
ร้อยละ ๘๐ - ๘๙

๑๑

คำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ ระดับการประเมนิ ระดับคุณภาพ
๓ ดี
ผเู้ รยี นมีความรู้ ทกั ษะ และเจตคตทิ ีดี
พรอ้ มทีจ่ ะศึกษาต่อในระดับช้ันท่ีสูงขึ้น ๒ ปานกลาง
มีความรทู้ ักษะในการทำงานประกอบอาชีพเหมาะสมกับชว่ งวยั
รอ้ ยละ ๗๐ - ๗๙ ๑ กำลังพฒั นา
ผเู้ รียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติทดี ี
พร้อมทจ่ี ะศกึ ษาต่อในระดับชน้ั ทส่ี ูงขึ้น
มีความรูท้ ักษะในการทำงานประกอบอาชีพเหมาะสมกบั ชว่ งวัย
รอ้ ยละ ๖๐ – ๖๙

ผู้เรยี นมีความรู้ ทกั ษะ และเจตคติทีดี
พร้อมที่จะศกึ ษาต่อในระดับช้ันที่สูงขน้ึ
มีความรทู้ ักษะในการทำงานประกอบอาชีพเหมาะสมกบั ช่วงวยั
ตำ่ กว่ารอ้ ยละ ๖๐

๑.๒ คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผู้เรยี น
๑.๒.๑ มีคุณลักษณะและค่านิยมทด่ี ตี ามทีส่ ถานศึกษากำหนด

คำอธิบาย
ผูเ้ รยี นมคี ณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานมีความเออื้ อาทรต่อผอู้ ่ื

น กตญั ญกู ตเวทตี ่อบุพการแี ละผ้มู ีพระคุณ ยอมรับความคิดและวฒั นธรรมที่แตกต่าง
เพอ่ื การอยูร่ ่วมกันอย่างมีความสขุ มีความตระหนัก ร้คู ุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิง่ แวดลอ้ ม
และเป็นคนดีของสงั คม

ประเด็นการพจิ ารณา ระดบั การประเมิน ระดับคุณภาพ
๕ ยอดเย่ยี ม
คำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ
๔ ดีเลิศ
ผ้เู รียนมคี วามประพฤติด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม
จิตสังคมและจิตสำนกึ ตามท่สี ถานศึกษากำหนดปรากฏชดั เจน ๓ ดี
โดยไม่ขดั ต่อกฎหมาย และวัฒนธรรมอนั ดขี องสังคม รอ้ ยละ ๙๐
ขนึ้ ไป
ผเู้ รยี นมคี วามประพฤติด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม
จิตสงั คมและจิตสำนึกตามทสี่ ถานศกึ ษากำหนดปรากฏชัดเจน
โดยไมข่ ัดต่อกฎหมาย และวัฒนธรรมอันดีของสังคม รอ้ ยละ
๘๐ - ๘๙
ผเู้ รยี นมีความประพฤติด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม
จิตสงั คมและจิตสำนกึ ตามท่สี ถานศึกษากำหนดปรากฏชัดเจน
โดยไม่ขัดต่อกฎหมาย และวัฒนธรรมอันดขี องสงั คม รอ้ ยละ ๗๐
- ๗๙

๑๒

คำอธิบายระดบั คณุ ภาพ ระดับการประเมิน ระดับคุณภาพ
๒ ปานกลาง
ผ้เู รียนมคี วามประพฤติดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม
จิตสังคมและจิตสำนกึ ตามท่สี ถานศึกษากำหนดปรากฏชดั เจน ๑ กำลังพฒั นา
โดยไมข่ ดั ต่อกฎหมาย และวัฒนธรรมอนั ดีของสังคม รอ้ ยละ ๖๐
– ๖๙
ผเู้ รียนมีความประพฤติดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม
จติ สังคมและจิตสำนึกตามทีส่ ถานศกึ ษากำหนดปรากฏชดั เจน
โดยไมข่ ดั ต่อกฎหมาย และวัฒนธรรมอันดีของสงั คม
ตำ่ กวา่ ร้อยละ ๖๐

๑.๒.๒ ความภูมิใจในทอ้ งถนิ่ และความเปน็ ไทย
คำอธิบาย

ผเู้ รยี นมีคุณลกั ษณะทแ่ี สดงออกถึงการอนุรักษ์สิง่ แวดล้อม ความภาคภมู ิใจ เห็นคุณคา่ ชื่นชม
มสี ่วนร่วมในการอนุรักษ์ สบื ทอด เผยแพรภ่ มู ิปญั ญาทอ้ งถิ่นและภมู ิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี
ศิลปะและวฒั นธรรมท้องถ่นิ และขนบธรรมเนยี มประเพณี ศิลปะและวฒั นธรรมไทย มีความกตัญญูกตเวที
ใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม

ประเดน็ การพิจารณา ระดบั การ ระดบั คุณ
ประเมิน ภาพ
คำอธิบายระดับคุณภาพ
๕ ยอดเย่ยี ม
ผู้เรยี นมสี ว่ นร่วมในการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม
อย่างเปน็ รูปธรรม ผู้เรยี นมีความภาคภูมิใจในทอ้ งถิ่น ในความเปน็ ไทย และเห็น ๔ ดีเลศิ
คณุ ค่าเก่ียวกบั ภมู ิปัญญาไทยและแสดงออกได้อยา่ งเหมาะสมในชวี ติ ประจำวัน
ร้อยละ ๙๐ ขน้ึ ไป ๓ ดี
ผู้เรยี นมีสว่ นรว่ มในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม
อย่างเปน็ รปู ธรรม ผู้เรียนมีความภาคภมู ิใจในทอ้ งถ่ิน ในความเปน็ ไทย และเห็น ๒ ปานกลาง
คณุ ค่าเกี่ยวกับภมู ิปัญญาไทยและแสดงออกไดอ้ ยา่ งเหมาะสมในชวี ติ ประจำวัน
รอ้ ยละ ๘๐ - ๘๙
ผู้เรียนมสี ว่ นร่วมในการอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
อย่างเป็นรูปธรรม ผเู้ รยี นมีความภาคภูมิใจในทอ้ งถน่ิ ในความเปน็ ไทย และเหน็
คณุ คา่ เกย่ี วกบั ภูมปิ ญั ญาไทยและแสดงออกได้อย่างเหมาะสมในชวี ิตประจำวัน
ร้อยละ ๗๐ - ๗๙
ผู้เรยี นมีสว่ นร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
อย่างเป็นรปู ธรรม ผูเ้ รยี นมคี วามภาคภูมใิ จในทอ้ งถิ่น ในความเป็นไทย และเห็น
คุณคา่ เกี่ยวกบั ภูมิปัญญาไทยและแสดงออกไดอ้ ย่างเหมาะสมในชวี ิตประจำวัน
ร้อยละ ๖๐ – ๖๙

๑๓

คำอธบิ ายระดับคณุ ภาพ ระดับการ ระดบั คุณ
ประเมิน ภาพ
ผเู้ รียนมีส่วนรว่ มในการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม
อย่างเปน็ รปู ธรรม ผเู้ รยี นมคี วามภาคภมู ใิ จในทอ้ งถิ่น ในความเป็นไทย และเห็น ๑ กำลัง
คณุ คา่ เกย่ี วกับภูมปิ ญั ญาไทยและแสดงออกได้อย่างเหมาะสมในชีวติ ประจำวัน พัฒนา
ตำ่ กว่าร้อยละ ๖๐

๑.๒.๓ ยอมรบั ที่จะอยู่รว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย
คำอธิบาย

ผเู้ รยี นมีความสามารถในการสร้างความสมั พนั ธ์ที่ดกี บั ผู้อื่น ส่ือสารระหวา่ งบุคคลได้อยา่ ง
มีประสิทธิภาพ เสริมสรา้ งความร่วมมอื รว่ มใจกับผู้อื่น สร้างความสงบสขุ จัดการกับความขัดแยง้ ได้
ยอมรบั ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล ปฏบิ ัตติ นตอ่ ผู้อ่นื ดว้ ยความสุภาพ อ่อนโยน ออ่ นน้อม
ไม่แสดงพฤติกรรมทสี่ ่งผลเสยี ตอ่ ตนเองและผู้อนื่ ปรบั ตัวได้ดี ยดื หยุน่ ต่อส่งิ ทเี่ ปล่ียนแปลง
คำนึงถงึ สทิ ธิหน้าที่ของตนเองและผอู้ นื่

ประเด็นการพิจารณา ระดับการประเมิน ระดับคณุ ภาพ
๕ ยอดเยย่ี ม
คำอธบิ ายระดบั คุณภาพ
๔ ดีเลิศ
ผู้เรียนยอมรบั เหตผุ ล ความคิดเห็นของผู้อ่นื
และมมี นุษยสมั พนั ธ์ทด่ี ี รอ้ ยละ ๙๐ ข้ึนไป ๓ ดี
ผู้เรียนยอมรบั เหตผุ ล ความคิดเหน็ ของผู้อนื่ ๒ ปานกลาง
และมมี นุษยสมั พนั ธ์ที่ดี ร้อยละ ๘๐ - ๘๙
ผู้เรียนยอมรับเหตผุ ล ความคิดเห็นของผู้อ่ืน ๑ กำลังพัฒนา
และมมี นุษยสมั พันธ์ท่ีดี ร้อยละ ๗๐ - ๗๙
ผู้เรยี นยอมรับเหตุผล ความคิดเห็นของผู้อน่ื
และมมี นุษยสัมพนั ธ์ที่ดี ร้อยละ ๖๐ – ๖๙
ผู้เรยี นยอมรบั เหตุผล ความคิดเห็นของผู้อ่นื
และมมี นุษยสัมพันธ์ที่ดี ตำ่ กว่าร้อยละ ๖๐

๑.๒.๔ สุขภาวะทางรา่ งกาย และลกั ษณะจิตสังคม
คำอธิบาย

ผู้เรยี นมีพฒั นาการทางร่างกายเจรญิ เตบิ โตสมบูรณ์ตามวัยโดยเปรียบเทยี บน้ำหนักส่วนสูงกบั อายุตาม
เกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ และมผี ลการทดสอบสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตร
ฐานของกรมพลศกึ ษาหรือสำนกั งานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสขุ ภาพ(สสส.)มคี วามชอบและเห็นคณุ ค่าข
องศลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์ กฬี า และนนั ทนาการ อยา่ งมีความสุข

๑๔

ประเด็นการพจิ ารณา ระดับการ ระดบั
ประเมนิ คณุ ภาพ
คำอธบิ ายระดับคุณภาพ ยอดเย่ยี ม

ผเู้ รยี นมวี ธิ ีการรักษาสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง ดเี ลิศ
รกั ษาอารมณ์และสขุ ภาพจติ ใหด้ ีอย่เู สมอ มีวิธีการป้องกันตนเองจากการล่อลวง ๔
ขม่ เหง รงั แก ไมเ่ พิกเฉยตอ่ การกระทำสง่ิ ทไ่ี ม่ถูกตอ้ ง และอยู่ร่วมกันด้วยดีในครอบครัว ดี
ชมุ ชนและสงั คม ร้อยละ ๙๐ ข้ึนไป ๓
ผู้เรียนมวี ิธีการรักษาสขุ ภาพของตนเองให้แข็งแรง ปานกลาง
รักษาอารมณ์และสขุ ภาพจติ ให้ดอี ยู่เสมอ มีวธิ ีการปอ้ งกันตนเองจากการล่อลวง ๒
ข่มเหง รังแก ไมเ่ พิกเฉยต่อการกระทำสิง่ ที่ไม่ถกู ต้อง และอยู่รว่ มกนั ดว้ ยดีในครอบครวั กำลงั พฒั น
ชมุ ชนและสังคม รอ้ ยละ ๘๐ - ๘๙ ๑ า
ผเู้ รยี นมวี ิธีการรักษาสุขภาพของตนเองให้แขง็ แรง
รกั ษาอารมณแ์ ละสขุ ภาพจิตให้ดีอยู่เสมอ มวี ิธกี ารปอ้ งกันตนเองจากการลอ่ ลวง
ขม่ เหง รงั แก ไมเ่ พิกเฉยต่อการกระทำสง่ิ ที่ไมถ่ ูกตอ้ ง และอยู่รว่ มกันด้วยดีในครอบครวั
ชมุ ชนและสังคม ร้อยละ ๗๐ - ๗๙
ผู้เรยี นมีวธิ ีการรักษาสุขภาพของตนเองให้แขง็ แรง
รกั ษาอารมณ์และสุขภาพจติ ใหด้ ีอยู่เสมอ มวี ธิ กี ารป้องกันตนเองจากการล่อลวง
ข่มเหง รังแก ไม่เพิกเฉยตอ่ การกระทำสง่ิ ทไ่ี ม่ถูกตอ้ ง และอยู่ร่วมกนั ดว้ ยดีในครอบครวั
ชุมชนและสังคม ร้อยละ๖๐ – ๖๙
ผู้เรยี นมีวธิ ีการรกั ษาสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง
รกั ษาอารมณ์และสุขภาพจิตให้ดีอยู่เสมอ มวี ธิ กี ารป้องกนั ตนเองจากการลอ่ ลวง
ข่มเหง รงั แก ไมเ่ พิกเฉยตอ่ การกระทำสิ่งทีไ่ ม่ถูกต้อง และอยู่รว่ มกนั ดว้ ยดีในครอบครวั
ชมุ ชนและสงั คม ตำ่ กว่าร้อยละ ๖๐

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
๒.๑ การมเี ป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ และพนั ธกจิ ทส่ี ถานศึกษากำหนดอยา่ งชดั เจน

คำอธบิ าย
ผู้บริหารสามารถให้คำแนะนำคำปรึกษาทางวิชาการทั้งการพัฒนาและการใช้หลักสูตรสถานศึกษา

การจัดการเรียนรู้ การสร้าง การพฒั นา และการเลือกใชส้ ือ่ การเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้
การวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาการเรียนรูและเอาใจใส่การจัดการศกึ ษาของสถานศึกษาโดยมีการติดตามกำกับประเมินแล
ะนำผลการประเมินไปพฒั นาหรือปรบั ปรุงอย่างต่อเนื่องตามภารกจิ อย่างเต็มความสามารถและเตม็ เวลาทำการ

ประเด็นการพิจารณา ระดบั การประเมิน ระดับคุณภาพ
๕ ยอดเยี่ยม
คำอธบิ ายระดบั คุณภาพ

เป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจนสอด
คล้องกับบริบทสถานศึกษา ความตอ้ งการชุมชน นโยบายรฐั บาล
แผนการศกึ ษาชาติ เป็นไปไดใ้ นทางปฏิบัติ
ทนั ต่อการเปล่ียนแปลง

๑๕

คำอธิบายระดบั คณุ ภาพ ระดับการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ
๔ ดีเลศิ
เปา้ หมายวสิ ัยทัศนแ์ ละพนั ธกิจที่สถานศกึ ษากำหนดชดั เจนสอด
คล้องกับบรบิ ทสถานศกึ ษา ความต้องการชมุ ชน นโยบายรฐั บาล ๓ ดี
แผนการศกึ ษาชาติ เป็นไปได้ในทางปฏบิ ตั ิ ๒ ปานกลาง
เปา้ หมาย วสิ ยั ทศั นแ์ ละพนั ธกจิ ที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ๑ กำลงั พฒั นา
สอดคล้องกบั บรบิ ทสถานศึกษา เปน็ ไปได้ในทางปฏบิ ัติ
เปา้ หมาย วิสัยทัศน์และพนั ธกจิ ที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
เป็นไปได้ในทางปฏบิ ัติ
เปา้ หมาย วสิ ยั ทศั นแ์ ละพนั ธกิจท่ีสถานศึกษากำหนดไม่ชัดเจน

๒.๒ การวางแผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา
คำอธบิ าย

ผู้บริหารมีแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจ
มคี วามสามารถและมสี ว่ นร่วมในการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาครอบคลุมทงั้ ๔ ดา้ นของสถานศึกษา
ไดแ้ ก่ งานวชิ าการ งานด้านงบประมาณ งานด้านบรหิ ารบคุ คล และงานด้านบรหิ าร มีการดำเนินงาน
นิเทศติดตาม ประเมินการดำเนินงาน และรายงานผลประจำปีตามแผนงาน โครงการหรือกิจกรรม
ตามระยะเวลาที่กำหนดมีการนำผลการประเมินไปพัฒนาและปรับปรงุ ศักยภาพครูและบคุ ลากรอย่างต่อเน่ืองเ
ปน็ ระบบสถานศึกษามีกระบวนการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษาท่ีดำเนนิ การเพื่อให้คณุ ภาพการจดั การศึกษา
ของสถานศกึ ษาเกดิ สมั ฤทธิ์ผลตามวสิ ยั ทัศนป์ รชั ญา จุดเน้น เปา้ หมาย กลยุทธ์ กิจกรรมหรือโครงการที่ส่งเสริม
พัฒนาผู้เรียนอย่างรอบด้าน ซึ่งเกิดจากการมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ครู บุคลากรในชุมชนและองค์กรภายนอก
และมีผลการดำเนินงานสะท้อนความเป็นเอกลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา

ประเด็นการพจิ ารณา

คำอธบิ ายระดับคุณภาพ ระดบั การประเมนิ ระดับคุณภาพ

สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษาเปน็ ระบบมีก ๕ ยอดเย่ียม

ารวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษา และนำแผนไปปฏิบตั ิ

มีการตดิ ตามตรวจสอบประเมินผลและปรบั ปรุงพฒั นางาน

อยา่ งตอ่ เน่อื ง

สถานศกึ ษาสามารถบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษาเปน็ ระบบมกี ๔ ดเี ลศิ

ารวางแผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา และนำแผนไปปฏิบัติ

มกี ารตดิ ตามตรวจสอบประเมนิ ผลและปรับปรุงพฒั นางาน

สถานศกึ ษาสามารถบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษาเปน็ ระบบมีก ๓ ดี

ารวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา และนำแผนไปปฏิบัติ

มีการตดิ ตามตรวจสอบประเมินผล

สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษาเปน็ ระบบมกี ๒ ปานกลาง

ารวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษา และนำแผนไปปฏบิ ัติ

สถานศกึ ษาบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษาไมเ่ ปน็ ระบบ ๑ กำลงั พัฒนา

๑๖

๒.๓ ดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการท่เี นน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบด้านตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาและ
ทุกกลมุ่ เป้าหมาย
คำอธิบาย

สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษา และกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน
เช่ือมโยงวถิ ชี วี ิตจริงและครอบคลมุ ทุกกลุม่ เป้าหมายรวมถึงการจัดการเรยี นการสอนของกล่มุ ทเี่ รียนแบบ
ควบรวมหรือเรียนร่วมด้วย

ประเดน็ การพจิ ารณา ระดบั การประเมิน ระดับคุณภาพ
๕ ยอดเยี่ยม
คำอธิบายระดับคุณภาพ
๔ ดีเลศิ
สถานศึกษาดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการทเ่ี น้นคุณภาพผู้เรยี นรอบด้
านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทกุ กลุ่มเปา้ หมาย ๓ ดี
เชอ่ื มโยงกับชวี ิตจริงและเป็นแบบอยา่ งได้ ๒ ปานกลาง
สถานศกึ ษาดำเนินงานพัฒนาวชิ าการท่เี น้นคุณภาพผ้เู รยี นรอบด้ ๑ กำลังพัฒนา
านตามหลักสตู รสถานศึกษาและทุกกลุม่ เป้าหมาย
เชอ่ื มโยงกบั ชวี ิตจรงิ
สถานศึกษาดำเนนิ งานพัฒนาวชิ าการทเ่ี น้นคุณภาพผู้เรยี นรอบด้
านตามหลกั สูตรสถานศึกษาและทุกกลมุ่ เป้าหมาย
สถานศึกษาดำเนนิ งานพัฒนาวชิ าการท่เี นน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบด้
านตามหลักสูตรสถานศึกษา
สถานศกึ ษาดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการทเ่ี น้นคุณภาพผเู้ รียนรอบด้
านตามหลักสตู รสถานศึกษาไม่ชดั เจน

๒.๔ พัฒนาครูและบุคลากรให้มคี วามเช่ียวชาญทางวิชาชีพ
คำอธิบาย

สถานศึกษาส่งเสริม สนบั สนุนครู บคุ ลากร ใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวิชาชพี และสง่ เสริมใหม้ ี
ชมุ ชนการเรยี นรู้ (PLC) มาใช้ในการพัฒนางานและการเรยี นร้ขู องผู้เรียน

ประเดน็ การพจิ ารณา ระดบั การประเมิน ระดบั คณุ ภาพ
๕ ยอดเยี่ยม
คำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ
๔ ดีเลศิ
ส่งเสรมิ สนบั สนนุ พฒั นาครูละบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญ
ทางวิชาชพี ตรงตามความต้องการของครแู ละสถานศกึ ษา
และส่งเสรมิ การจดั ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (PLC)
เพื่อพัฒนางานอยา่ งเปน็ ระบบและมปี ระสิทธภิ าพ
สามารถแก้ไขปัญหาการจัดการศึกษาได้เป็นอย่างดีและอย่างต่อเ
นอื่ ง
สง่ เสริม สนบั สนนุ ครู
พฒั นาครูละบุคลากรใหม้ คี วามเชย่ี วชาญทางวิชาชีพตรงตามควา
มตอ้ งการของครูและสถานศึกษา

๑๗

คำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ ระดบั การประเมิน ระดบั คุณภาพ
๓ ดี
สง่ เสริม สนบั สนุนครู
พัฒนาครลู ะบุคลากรให้มคี วามเช่ียวชาญทางวิชาชีพตรงตามควา ๒ ปานกลาง
มต้องการของครู ๑ กำลงั พัฒนา
พฒั นาครูละบุคลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ
ขาดการพัฒนาครลู ะบุคลากรให้มีความเชย่ี วชาญทางวิชาชพี

๒.๕ จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทีเ่ อ้ือตอ่ การจัดการเรยี นรู้

คำอธบิ าย

สถานศกึ ษามกี ารจัดสภาพแวดล้อม ส่งิ อำนวยความสะดวก พอเพยี ง ใช้การไดด้ ี นำไปสู่การพฒั นา

ผู้เรียนทุกด้าน ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองและหรือเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ได้แก่ ห้องเรียน

ห้องปฏิบัติการ ห้องสมุด อาคารเรียน อาคารประกอบ แหล่งเรียนรู้ การบริการสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ

การสง่ เสริมสขุ ภาพอนามยั และความปลอดภยั ของผู้เรยี น

ประเดน็ การพิจารณา

คำอธิบายระดับคุณภาพ ระดบั การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ

สถานศึกษาส่งเสรมิ การจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คม ๕ ยอดเยีย่ ม

ท่เี อื้อตอ่ การจดั การเรียนร้อู ย่างมคี ุณภาพ มคี วามสะอาดสวยงาม

เป็นระเบียบ

มรี ะบบการดำเนนิ งานการจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ปลอ

ดภยั และสะดวกสบายต่อผเู้ รียน อย่างต่อเนอ่ื ง

สถานศกึ ษาส่งเสริมการจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคม ๔ ดีเลศิ

ท่ีเอ้ือตอ่ การจดั การเรยี นร้อู ย่างมคี ณุ ภาพ มีความสะอาดสวยงาม

เป็นระเบียบมรี ะบบการดำเนินงานการจัดสภาพแวดล้อมทางกา

ยภาพที่ปลอดภยั และสะดวกสบายต่อผเู้ รยี น แตไ่ ม่ตอ่ เน่ือง

สถานศึกษาส่งเสรมิ การจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคม ๓ ดี

ท่ีเอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคณุ ภาพ มคี วามสะอาดสวยงาม

เป็นระเบียบแตย่ ังขาดระบบการดำเนนิ งานการจัดการทีต่ ่อเน่อื ง

สถานศกึ ษาสง่ เสริมการจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คม ๒ ปานกลาง

ทีเ่ อื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมคี ณุ ภาพ มีความสะอาดสวยงาม

เป็นระเบียบ แต่ไมม่ ีระบบการดำเนินงานการจดั การ

ขาดการจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่ีเออ้ื ต่อการจั ๑ กำลงั พัฒนา

ดการเรยี นรู้

๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ สนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและการจัดการเรยี นรู้
คำอธบิ าย

สถานศกึ ษามีการจัดหา พัฒนาและบรกิ าร เทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่ือใช้ในการบริหารจดั การ
และการจัดการเรียนรู้ ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา

๑๘

ประเดน็ การพจิ ารณา ระดบั การประเมนิ ระดับคุณภาพ
๕ ยอดเยย่ี ม
คำอธิบายระดับคุณภาพ
๔ ดเี ลิศ
จดั หา พัฒนาและบริการ
เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือใชใ้ นการบรหิ ารจดั การและการจัดการ ๓ ดี
เรียนรู้ ทเี่ หมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา
และดำเนนิ การอย่างเป็นระบบตอ่ เนอ่ื งครบทุกขั้นตอน ๒ ปานกลาง
จดั หา พฒั นาและบริการ
เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อใช้ในการบรหิ ารจดั การและการจัดการ ๑ กำลังพัฒนา
เรยี นรู้ ทเี่ หมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา
และดำเนินการอย่างเป็นระบบ แต่ไม่ครบทุกขั้นตอน
จดั หา พฒั นาและบริการ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือใช้ในการบรหิ ารจัดการและการจัดการ
เรียนรู้ ท่เี หมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา
แตด่ ำเนินการอยา่ งไมเ่ ป็นระบบ
จดั หา พัฒนาและบริการ
เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือใชใ้ นการบริหารจดั การและการจัดการ
เรียนรู้ แตไ่ ม่เหมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา
และดำเนนิ การอยา่ งไม่เปน็ ระบบ
ขาดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารจดั การและ
การจัดการเรยี นรู้ ทเี่ หมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ
๓.๑ จัดการเรียนรผู้ า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ รงิ และสามารถนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตได้

คำอธบิ าย
กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผ้เู รยี นเป็นสำคญั หมายถึงกระบวนการจดั การเรียนการสอนตา

มหลกั สตู รสถานศึกษาทีส่ อดคล้องกับบริบทของชมุ ชนและท้องถน่ิ ตามความสนใจความต้องการและความถนัด
ของผ้เู รียนโดยใช้วธิ กี ารท่ีหลากหลายเพื่อให้เกดิ การเรียนรูเ้ ต็มตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบคุ คลสรา้ งโอกาส
ให้ผู้เรยี นทกุ คนมสี ว่ นรว่ มมกี ารตรวจสอบและประเมนิ ผลความรูค้ วามเขา้ ใจของผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบและ
มีประสิทธิภาพ

ประเด็นการพิจารณา ระดบั การประเมิน ระดับคุณภาพ
๕ ยอดเย่ียม
คำอธบิ ายระดับคุณภาพ

ครูผู้สอนจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้
ตวั ชี้วดั ของหลกั สูตรสถานศึกษา
โดยจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิจริงทำ
ให้ผ้เู รยี นไดร้ ับการฝึกทกั ษะ แสดงออก แสดงความคดิ เห็น
สรปุ องค์ความรู้ นำเสนอผลงาน

๑๙

คำอธบิ ายระดับคุณภาพ ระดบั การประเมิน ระดับคณุ ภาพ
๔ ดเี ลิศ
และสามารถนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตได้
มีแผนการจดั การเรยี นรทู้ สี่ ามารถนำไปจัดกิจกรรมไดจ้ ริง ๓ ดี
มีรูปแบบการเรียนจดั การเรียนร้เู ฉพาะสำหรับผ้ทู ม่ี คี วามจำเป็นแ
ละตอ้ งการความชว่ ยเหลอื พเิ ศษ ร้อยละ ๙๐ ขึน้ ไป

ครผู ู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามมาตรฐานการเรยี นรู้
ตัวชว้ี ดั ของหลกั สตู รสถานศึกษา
โดยจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏิบัตจิ ริงทำ
ให้ผเู้ รยี นไดร้ ับการฝึกทักษะ แสดงออก แสดงความคิดเห็น
สรปุ องคค์ วามรู้ นำเสนอผลงาน
และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ได้
มแี ผนการจัดการเรยี นรทู้ สี่ ามารถนำไปจดั กิจกรรมไดจ้ รงิ
มีรปู แบบการเรยี นจดั การเรียนร้เู ฉพาะสำหรบั ผทู้ ี่มคี วามจำเปน็ แ
ละตอ้ งการความช่วยเหลือพิเศษ รอ้ ยละ ๘๐ - ๘๙

ครูผู้สอนจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรยี นรู้
ตัวชว้ี ดั ของหลักสตู รสถานศึกษา
โดยจัดกิจกรรมการเรียนร้ผู า่ นกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ รงิ ทำ
ให้ผเู้ รียนได้รบั การฝึกทักษะ แสดงออก แสดงความคิดเห็น
สรปุ องค์ความรู้ นำเสนอผลงาน
และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
มีแผนการจัดการเรยี นรทู้ สี่ ามารถนำไปจดั กิจกรรมได้จริง
มีรูปแบบการเรียนจัดการเรียนรู้เฉพาะสำหรบั ผ้ทู ่ีมีความจำเป็นแ
ละต้องการความช่วยเหลอื พิเศษ รอ้ ยละ ๗๐ - ๗๙

ครผู ู้สอนจดั กจิ กรรมการเรียนร้ตู ามมาตรฐานการเรยี นรู้ ๒ ปานกลาง

ตัวชีว้ ัดของหลักสูตรสถานศึกษา

โดยจดั กิจกรรมการเรียนรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ ริงทำ

ให้ผู้เรียนไดร้ ับการฝึกทกั ษะ แสดงออก แสดงความคดิ เหน็

สรปุ องคค์ วามรู้ นำเสนอผลงาน

และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้

มแี ผนการจดั การเรยี นรู้ทส่ี ามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จรงิ

มีรปู แบบการเรียนจัดการเรยี นรู้เฉพาะสำหรับผู้ทมี่ ีความจำเปน็ แ

ละต้องการความชว่ ยเหลอื พเิ ศษ รอ้ ยละ ๖๐ – ๖๙

ครผู สู้ อนจัดกิจกรรมการเรียนรูต้ ามมาตรฐานการเรียนรู้ ๑ กำลังพฒั นา

ตวั ชวี้ ัดของหลกั สตู รสถานศึกษา

โดยจัดกิจกรรมการเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจริงทำ

ใหผ้ ูเ้ รียนได้รับการฝึกทกั ษะ แสดงออก แสดงความคิดเห็น

๒๐

คำอธบิ ายระดบั คุณภาพ ระดับการประเมนิ ระดับคุณภาพ

สรุปองค์ความรู้ นำเสนอผลงาน
และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ได้
มแี ผนการจัดการเรยี นรทู้ ส่ี ามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง
มีรปู แบบการเรียนจัดการเรยี นรู้เฉพาะสำหรับผทู้ ม่ี ีความจำเปน็ แ
ละต้องการความชว่ ยเหลือพิเศษ ต่ำกวา่ รอ้ ยละ ๖๐

๓.๒ ใช้ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ท่ีเออื้ ต่อการเรียนรู้
คำอธบิ าย

กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญหมายถึงกระบวนการจดั การเรียนการสอนตา
มหลักสูตรสถานศึกษาทส่ี อดคล้องกับบรบิ ทของชุมชนและทอ้ งถ่ินตามความสนใจความต้องการและความถนัด
ของผู้เรียนโดยใช้วิธกี ารทีห่ ลากหลายเพื่อให้เกดิ การเรยี นรูเ้ ตม็ ตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบคุ คลสร้างโอกาส
ให้ผูเ้ รียนทกุ คนมีสว่ นร่วมมีการตรวจสอบและประเมินผลความรู้ความเข้าใจของผู้เรยี นอย่างเป็นระบบและมี
ประสทิ ธภิ าพ

ประเดน็ การพจิ ารณา ระดับ ระดับคุณภาพ
การประเมิน ยอดเย่ียม
คำอธบิ ายระดับคุณภาพ ดเี ลศิ
๕ ดี
ครูผสู้ อนมีการใชส้ ือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ ปานกลาง
รวมทั้งภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ มาใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ ๔ กำลงั พัฒนา
และจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนไดแ้ สวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง
จากสอ่ื ที่หลากหลาย ร้อยละ ๙๐ ขน้ึ ไป ๓
ครูผู้สอนมกี ารใชส้ ื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้
รวมทง้ั ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ มาใช้ในการจดั การเรียนรู้ ๒
และจัดกิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยสร้างโอกาสใหผ้ ้เู รียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
จากสอ่ื ทีห่ ลากหลาย ร้อยละ ๘๐ - ๘๙ ๑
ครผู ู้สอนมีการใช้ส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้
รวมทง้ั ภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ มาใช้ในการจดั การเรียนรู้
และจดั กจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยสรา้ งโอกาสใหผ้ เู้ รยี นได้แสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง
จากสอื่ ที่หลากหลาย รอ้ ยละ ๗๐ - ๗๙
ครผู สู้ อนมีการใช้สือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้
รวมท้ังภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ มาใช้ในการจดั การเรียนรู้
และจดั กจิ กรรมการเรยี นร้โู ดยสรา้ งโอกาสใหผ้ ้เู รยี นไดแ้ สวงหาความรดู้ ้วยตนเอง
จากสือ่ ท่หี ลากหลาย รอ้ ยละ ๖๐ – ๖๙
ครูผู้สอนมีการใชส้ อ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้
รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถน่ิ มาใช้ในการจัดการเรยี นรู้
และจัดกจิ กรรมการเรียนรู้โดยสรา้ งโอกาสให้ผู้เรียนไดแ้ สวงหาความรดู้ ้วยตนเอง
จากสื่อท่หี ลากหลาย ตำ่ กว่าร้อยละ ๖๐

๒๑

๓.๓ มกี ารบรหิ ารจัดการช้นั เรยี นเชงิ บวก
คำอธิบาย

กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญหมายถงึ กระบวนการจัดการเรียนการสอนตา
มหลกั สูตรสถานศึกษาทีส่ อดคล้องกับบริบทของชุมชนและท้องถิ่นตามความสนใจความต้องการและ
ความถนดั ของผเู้ รียนโดยใช้วิธีการทีห่ ลากหลายเพื่อใหเ้ กิดการเรียนรเู้ ต็มตามศักยภาพของผูเ้ รียนแต่ละบุคคลส
รา้ งโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนรว่ มมีการตรวจสอบและประเมนิ ผลความรคู้ วามเขา้ ใจของผู้เรียน
อย่างเปน็ ระบบและมปี ระสิทธภิ าพ

ประเดน็ การพจิ ารณา ระดับการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ
๕ ยอดเยี่ยม
คำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ
๔ ดีเลศิ
ครผู ู้สอนมีการบริหารจดั การช้ันเรียน
โดยเนน้ การมีปฏิสมั พนั ธ์เชิงบวก ให้เดก็ รักครู ครรู ักเด็ก ๓ ดี
และเด็กรักเด็ก เด็กรกั ทจี่ ะเรียนรู้
สามารถอยู่รว่ มกันอย่างมคี วามสขุ ร้อยละ ๙๐ ขึ้นไป ๒ ปานกลาง
ครผู สู้ อนมีการบริหารจดั การชัน้ เรยี น
โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชงิ บวก ใหเ้ ด็กรกั ครู ครรู ักเด็ก ๑ กำลังพฒั นา
และเด็กรักเดก็ เด็กรกั ท่จี ะเรียนรู้
สามารถอยรู่ ว่ มกนั อย่างมคี วามสุข ร้อยละ ๘๐ - ๘๙
ครูผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน
โดยเน้นการมีปฏสิ ัมพันธ์เชิงบวก ให้เดก็ รกั ครู ครรู กั เด็ก
และเด็กรักเด็ก เด็กรักท่ีจะเรียนรู้
สามารถอยูร่ ่วมกันอย่างมีความสขุ รอ้ ยละ ๗๐ - ๗๙
ครูผ้สู อนมีการบรหิ ารจดั การชน้ั เรียน
โดยเน้นการมปี ฏสิ ัมพันธเ์ ชิงบวก ใหเ้ ด็กรกั ครู ครรู ักเด็ก
และเด็กรักเดก็ เด็กรักท่ีจะเรียนรู้
สามารถอยรู่ ว่ มกันอย่างมคี วามสขุ รอ้ ยละ ๖๐ – ๖๙
ครผู สู้ อนมกี ารบรหิ ารจดั การชน้ั เรยี น
โดยเน้นการมีปฏสิ มั พนั ธเ์ ชงิ บวก ใหเ้ ด็กรักครู ครูรกั เด็ก
และเด็กรักเดก็ เด็กรักที่จะเรียนรู้
สามารถอยรู่ ่วมกันอย่างมีความสขุ ตำ่ กวา่ ร้อยละ ๖๐

๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
คำอธบิ าย

กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั หมายถงึ กระบวนการจดั การเรียนการสอนตา
มหลักสูตรสถานศึกษาทีส่ อดคล้องกับบรบิ ทของชมุ ชนและท้องถนิ่ ตามความสนใจความต้องการและ
ความถนดั ของผูเ้ รียนโดยใชว้ ิธีการที่หลากหลายเพื่อให้เกดิ การเรียนรู้เต็มตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบคุ คลส
ร้างโอกาสให้ผูเ้ รยี นทุกคนมีส่วนร่วมมีการตรวจสอบและประเมินผลความรูค้ วามเขา้ ใจของผู้เรียน
อยา่ งเปน็ ระบบและมปี ระสิทธภิ าพ

๒๒

ประเดน็ การพิจารณา ระดบั การประเมิน ระดับคณุ ภาพ
๕ ยอดเยี่ยม
คำอธิบายระดบั คุณภาพ
๔ ดเี ลศิ
ครูผู้สอนมเี คร่ืองมือ ๓ ดี
วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลทเ่ี หมาะสมกบั เป้าหมายในการจัดการ ๒ ปานกลาง
เรียนรูแ้ ละให้ข้อมูลย้อนกลบั แก่ผ้เู รียนเพ่ือนำไปใชใ้ นการพัฒนา ๑ กำลงั พฒั นา
การเรียนรู้ ร้อยละ ๙๐ ข้ึนไป
ครผู ู้สอนมีเคร่ืองมือวธิ กี ารวดั และประเมินผลทเ่ี หมาะสมกับเปา้
หมายในการจัดการเรยี นรแู้ ละให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผูเ้ รยี นเพื่อ
นำไปใชใ้ นการพัฒนาการเรยี นรู้ ร้อยละ ๘๐ - ๘๙
ครูผู้สอนมเี ครื่องมือวธิ กี ารวัดและประเมินผลทเ่ี หมาะสม
กบั เป้าหมายในการจัดการเรยี นรแู้ ละใหข้ ้อมูลย้อนกลับแก่
ผเู้ รียนเพือ่ นำไปใช้ในการพฒั นาการเรยี นรู้ ร้อยละ ๗๐ - ๗๙
ครูผสู้ อนมเี คร่ืองมือวิธีการวดั และประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้า
หมายในการจัดการเรียนร้แู ละให้ข้อมลู ย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพือ่
นำไปใชใ้ นการพฒั นาการเรยี นรู้ ร้อยละ ๖๐ – ๖๙
ครูผสู้ อนมีเคร่ืองมือวิธีการวัดและประเมนิ ผลท่ีเหมาะสมกับเป้า
หมายในการจดั การเรียนรู้และใหข้ ้อมูลย้อนกลบั แกผ่ ้เู รียนเพือ่ น
ำไปใช้ในการพฒั นาการเรียนรู้ ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๖๐

๓.๕ มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ขอ้ มลู ปอ้ นกลับเพ่ือปรบั ปรุงและพัฒนาการจดั การเรยี นรู้
คำอธิบาย

กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผ้เู รยี นเปน็ สำคญั หมายถงึ กระบวนการจัดการเรียนการสอนตา
มหลกั สูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับบรบิ ทของชมุ ชนและท้องถ่นิ ตามความสนใจความตอ้ งการและ
ความถนัดของผเู้ รยี นโดยใชว้ ธิ กี ารทีห่ ลากหลายเพ่ือใหเ้ กิดการเรียนรเู้ ต็มตามศักยภาพของผ้เู รียนแต่ละบคุ คลส
รา้ งโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วมมกี ารตรวจสอบและประเมนิ ผลความร้คู วามเขา้ ใจของผเู้ รียน
อยา่ งเปน็ ระบบและมีประสิทธิภาพ

ประเด็นการพิจารณา ระดบั การประเมิน ระดับคณุ ภาพ
๕ ยอดเยย่ี ม
คำอธิบายระดับคุณภาพ
๔ ดเี ลศิ
ครผู สู้ อนและผทู้ ่ีมสี ว่ นเกย่ี วข้องมีการแลกเปลี่ยนความรู้และประ
สบการณ์ (PLC)
รวมท้งั ใหข้ ้อมลู ป้อนกลบั เพอ่ื นำไปใช้ในการปรบั ปรุงและพัฒนา
การจดั การเรยี นรู้ ร้อยละ ๙๐ ข้ึนไป
ครผู ู้สอนและผ้ทู ่ีมีสว่ นเก่ียวข้องมีการแลกเปลย่ี นความรู้และประ
สบการณ์ (PLC)
รวมทง้ั ให้ข้อมลู ป้อนกลับเพอ่ื นำไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและพัฒนา
การจัดการเรยี นรู้ รอ้ ยละ ๘๐ - ๘๙

๒๓

คำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ ระดับการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ
๓ ดี
ครผู ู้สอนและผทู้ ่ีมีสว่ นเก่ยี วข้องมีการแลกเปล่ียนความรู้และประ
สบการณ์ (PLC) ๒ ปานกลาง
รวมทง้ั ให้ข้อมลู ป้อนกลับเพือ่ นำไปใช้ในการปรับปรงุ และพัฒนา
การจัดการเรียนรู้ รอ้ ยละ ๗๐ - ๗๙ ๑ กำลังพัฒนา
ครผู ้สู อนและผู้ท่ีมสี ่วนเกย่ี วข้องมีการแลกเปล่ียนความรูแ้ ละประ
สบการณ์ (PLC)
รวมทง้ั ใหข้ ้อมูลป้อนกลับเพอื่ นำไปใช้ในการปรับปรงุ และพัฒนา
การจัดการเรยี นรู้ รอ้ ยละ ๖๐ – ๖๙
ครผู สู้ อนและผทู้ ่ีมสี ่วนเกยี่ วข้องมีการแลกเปลย่ี นความรแู้ ละประ
สบการณ์ (PLC)
รวมท้ังให้ข้อมูลป้อนกลับเพ่อื นำไปใชใ้ นการปรับปรงุ และพัฒนา
การจดั การเรียนรู้ ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๖๐

๒๔

ภาคผนวก

๒๕

รอ่ งรอยเอกสารหลกั ฐานประกอบการจดั ทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

ระดบั ปฐมวยั

มาตรฐาน แหลง่ ข้อมลู /หลกั ฐาน

มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐานคุณภาพของเด็ก

ประเด็นท่ี 1 มีพฒั นาการดา้ นรา่ งกายแข็งแรง มี 1. แบบประเมนิ พัฒนาการด้านร่างกาย

สขุ นิสัยที่ดีและดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ 2. แบบรายงานการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมท่ี

เก่ยี วกับ - พัฒนาการดา้ นร่างกายของเดก็

- การมสี ชุ นนสิ ัยทด่ี ขี องเด็ก

- การดูแลความปลอดภัยตนเอง

ประเด็นท่ี 2 มีพฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจและ 1. แบบประเมินพฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ

แสดงออกทางอารมณ์ได้ 2. แบบรายงานการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมที่

เกีย่ วกบั พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม

และแสดงออกทางอารมณ์ได้

ประเดน็ ท่ี 3 มีพัฒนาการดา้ นสงั คมและเป็น 1. แบบประเมนิ พัฒนาการด้านสังคม

สมาชิกท่ีดขี องสงั คม 2. แบบรายงานการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมที่

เกย่ี วกบั - พัฒนาการด้านสังคมและเป็นสมาชิก

ทด่ี ขี องสงั คม

- การชว่ ยเหลอื ตนเองของเด็ก

ประเดน็ ที่ 4 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา ส่อื สาร 1. แบบประเมินพฒั นาการด้านพัฒนาการดา้ น

ได้ มที ักษะการคิดพ้นื ฐาน และแสวงหาความรู้ สติปัญญา สอ่ื สารได้ มีทักษะการคดิ พ้ืนฐาน

ได้ และแสวงหาความรู้ได้

2. แบบรายงานการดำเนินโครงการ/กิจกรรมท่ี

เกย่ี วกับ - พฒั นาการดา้ นสติปญั ญา สือ่ สารได้

มที ักษะการคิดพน้ื ฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้

- การสอ่ื สาร

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารจัดการ

ประเดน็ ที่ 1 มีหลักสตู รครอบคลุมพัฒนาการทัง้ 1. หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย

4 ด้าน สอดคล้องกบั บรบิ ทท้องถ่ิน 2. แผนการจัดประสบการณ์เดก็

ประเดน็ ที่ 2 จัดครูใหเ้ พียงพอกบั ชัน้ เรยี น 1. ข้อมูลครูปฐมวัย

ประเดน็ ท่ี 3 สง่ เสรมิ ให้ครูมีความเชีย่ วชาญด้าน 1. รายงานการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมการ

การจดั ประสบการณ์ พัฒนาครแู ละบุคลากร

2. แผนพฒั นาครแู ละบุคลากร

ประเดน็ ท่ี 4 จดั สภาพแวดลอ้ มและสื่อเพื่อการ 1. รายงานการดำเนนิ การโครงการ/กจิ กรรม

เรียนรูอ้ ยา่ งปลอดภัยและพอเพียง เกย่ี วกบั การจัดสภาพแวดลอ้ มอยา่ งปลอดภยั

และเพยี งพอ

๒๖

มาตรฐาน แหลง่ ข้อมูล/หลักฐาน

2. รายงานการดำเนนิ การโครงการ/กจิ กรรม
เกยี่ วกับสือ่ เพ่ือการเรยี นรู้อย่างปลอดภัยและ
เพยี งพอ

ประเดน็ ที่ 5 ใหบ้ ริการสอื่ และเทคโนโลยี 1. รายงานการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรม

สารสนเทศและส่ือการเรียนรเู้ พอื่ สนับสนุนการ เก่ยี วกบั การจดั หา พฒั นาและบริการสื่อ

จัดประสบการณ์สำหรบั ครู เทคโนโลยีสารสนเทศ

ประเด็นท่ี 6 มรี ะบบบริหารคุณภาพท่ีเปดิ 1. แผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา/
โอกาสให้ผทู้ ีเ่ ก่ียวขอ้ งทกุ ฝา่ ยมสี ่วนรว่ ม แผนปฏิบตั ิการประจำปีของสถานศกึ ษา
2. รายงานกิจกรรม/รายงานการประชุมทเ่ี ปดิ
มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ท่เี น้นเดก็ โอกาสให้ผทู้ ีเ่ ก่ียวขอ้ งทุกฝ่ายมีสว่ นรว่ ม
เปน็ สำคญั
ประเด็นที่ 1 การจดั ประสบการณ์ทส่ี ง่ เสรมิ ให้ 1. แบบบนั ทึกข้อมลู เด็กรายบุคคล
เดก็ มีพฒั นาการทุกดา้ นอย่างเตม็ ศกั ยภาพ 2. บนั ทกึ ผลการจดั กจิ กรรมท่ีสง่ เสริมพัฒนาการ
เดก็ ทั้ง 4 ด้าน
3. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม
4. แผนการจดั ประสบการณ์

ประเด็นท่ี 2 การสร้างโอกาสใหเ้ ดก็ ได้รบั 1. รายงานการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรม
ประสบการณ์ตรง เล่นและปฏบิ ัตอิ ย่างมี
ความสุข

ประเด็นที่ 3 การจดั บรรยากาศทีเ่ อ้ือต่อการ 1. รายงานการดำเนินโครงการ/กจิ กรรม
เรยี นรู้ ใช้สอ่ื เทคโนโลยที ี่เหมาะสมกับวยั

ประเด็นที่ 4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพ 1. รายงานผลการประเมินพัฒนาการเดก็
จริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไป 2. สมดุ รายงานประจำตัวนกั เรียน
ปรบั ปรุงการจัดประสบการณ์และพฒั นาเดก็

ระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

มาตรฐาน แหล่งข้อมลู /หลักฐาน

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผู้เรียน

1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผ้เู รยี น 1. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรม ที่

ประเดน็ ที่ 1 มีความสามารถในการอ่าน การ สง่ เสรมิ หรอื บูรณาการความสามารถในการอ่าน

เขยี น การสือ่ สารและการคิดคำนวณ การเขียนและการสื่อสาร

๒๗

มาตรฐาน แหลง่ ข้อมูล/หลกั ฐาน

2. รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมที่
ส่งเสรมิ หรือบูรณาการความสามารถในการคดิ
คำนวณ

ประเดน็ ท่ี 2 ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ 1. รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมที่
คดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปล่ยี น ส่งเสรมิ หรือบรู ณาการ ความสามารถในการคดิ
ความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา วเิ คราะห์และ/หรือคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ
2. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่
สง่ เสริมหรอื บรู ณาการความสามารถในการ
อภปิ รายแลกเปลยี่ นความคิดเหน็
3. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรม ท่ี
สง่ เสริมหรอื บูรณาการความสามารถในการ
แก้ปญั หา

ประเด็นท่ี 3 ความสามารถในการสร้าง 1. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรม
นวตั กรรม เก่ยี วกบั การสรา้ งนวตั กรรม

ประเด็นท่ี 4 มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 1. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมท่ี

สารสนเทศและการสอื่ สาร สง่ เสริมความสามารถในการใช้โทคโนโลยี

สารสนเทศและการส่ือสาร

ประเดน็ ที่ 5 ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนตาม 1. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมการ

หลักสูตรสถานศกึ ษา จัดกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามหลักสูตรสถานศึกษา

2. รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมการ

ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน

3. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมการ

สง่ เสริมความสามารถและทักษะทางวชิ าการ

ของนักเรียน

1. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม การ

ประเด็นท่ี 6 มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติ จดั กจิ กรรมพัฒนานกั เรียนให้มที ักษะในการ

ต่องานอาชพี ทำงาน/แนะแนวเพื่อการประกอบอาชีพ

2. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรม

สง่ เสริมอาชพี

1.2 คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผเู้ รยี น 1. รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรม
ประเดน็ ที่ 1 การมคี ุณลกั ษณะและคา่ นิยมทีด่ ี ส่งเสริมคุณธรรม คณุ ลักษณะ และคา่ นิยมทดี่ ี
ตามสถานศึกษากำหนด

๒๘

มาตรฐาน แหล่งข้อมลู /หลักฐาน
2. รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรม
ประเด็นที่ 2 ความภูมใิ จในท้องถนิ่ และความ ลูกเสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ผู้บำเพญ็ ประโยชน์
เปน็ ไทย นกั ศกึ ษาวิชาทหาร จิตอาสา

ประเดน็ ที่ 3 การยอมรบั ทจ่ี ะอยู่ร่วมกนั บน 1. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรม
ความแตกตา่ งและหลากหลาย อนุรกั ษ์ ศลิ ปวัฒนธรรมและประเพณีไทย
2. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม
ประเด็นที่ 4 สขุ ภาวะทางรา่ งกาย ส่งเสริมการนำภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ นำมาใชใ้ นการ
จดั การเรียนการสอน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและจัดการ 3. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม วัน
ประเดน็ ท่ี 1 มเี ป้าหมายวสิ ยั ทัศนแ์ ละพันธกจิ ท่ี สำคัญต่างๆ
สถานศกึ ษาชัดเจน
ประเดน็ ที่ 2 มีระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพ 1. รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรม ที่
สถานศกึ ษา สง่ เสรมิ การอยูร่ ่วมกันบนความแตกต่างการ
ส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตยในสถานศึกษา
2. รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรม
ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น

1. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมท่ี
สง่ เสริมสุขภาวะทางร่างกาย
2. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรม ท่ี
ส่งเสรมิ ดา้ นจิตสงั คม

1. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่
เกี่ยวขอ้ งกับการกำหนด/ทบทวนวิสัยทัศน์ พันธ
กจิ ของสถานศึกษา
1. รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรม วาง
แผนการพฒั นาระบบบริหารจัดการคณุ ภาพ
การศึกษา อิงแนวคิด/ทฤษฎีทางการบริหาร
2. รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรม การ
ดำเนินแนวทางการกำกับติดตาม ตรวจสอบ
และประเมนิ ผลโดยใชว้ งจรคณุ ภาพ หรอื
รูปแบบบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา
3. รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรม การ
ปรบั ปรุงพฒั นางานอย่างต่อเน่ือง

1. รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรม การ
พฒั นางานวชิ าการ

๒๙

มาตรฐาน แหล่งข้อมลู /หลักฐาน
ประเดน็ ที่ 3 ดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการที่เน้น 2. รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรม
คุณภาพผ้เู รียนรอบด้านตามหลักสตู ร พฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา
สถานศึกษาและทกุ กลุ่มเปา้ หมาย
1. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรม
ประเดน็ ที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรใหม้ ีความ สง่ เสรมิ ใหค้ รแู ละบุคลากรได้พัฒนาตนเองดว้ ย
เชยี่ วชาญด้านวชิ าชีพ วิธีการท่หี ลากหลาย

ประเด็นท่ี 5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ 1. รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรม
และสังคมท่เี อ้ือต่อการจดั การเรยี นรู้อย่างมี พฒั นาสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ สงั คม แหลง่
คุณภาพ เรยี นรทู้ ้งั ภายในและภายนอกห้องเรียนท่เี อ้อื ต้อ
การจัดการเรยี นรู้
ประเดน็ ท่ี 6 จัดหาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อ
สนับสนุนการบรหิ ารจดั การและการจัดการ 1. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม
เรยี นรู้ สง่ เสรมิ สนับสนุนการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
ในการบริหารจัดการ
2. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่
สง่ เสริมสนบั สนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน
การจัดการเรียนรู้

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นรู้การ 1. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรม การ
สอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ จัดการเรยี นรู้โดยผา่ นกระบวนการคิดและ
ประเดน็ ท่ี 1 จดั การเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคดิ ปฏิบตั ิจริง สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตได้
และปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใน 2. แผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ
ชวี ติ ได้ 1. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม
ประเด็นที่ 2 ใช้สือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และ พฒั นาสอื่ นวตั กรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศ
แหล่งเรยี นรู้ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ สำหรบั การเรยี นรู้

ประเดน็ ท่ี 3 มีการบรหิ ารจัดการช้นั เรียนเชงิ 1. รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรม มี
บวก การบรหิ ารจดั การ เน้นการมีปฏิสมั พนั ธ์เชิงบวก
สามารถเรียนรูร้ ว่ มกันอย่างมีความสขุ

ประเดน็ ท่ี 4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอย่าง 1. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม

เป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผูเ้ รียน พฒั นาการวัดและประเมนิ ผลการจัดการเรยี นรู้

อยา่ งเป็นระบบ

2. รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรม การ

สรา้ งเคร่ืองมอื วัดและประเมนิ ผลท่ีหลากหลาย

๓๐

มาตรฐาน แหล่งข้อมลู /หลกั ฐาน

3. บันทกึ การนำเสนอฃอขอ้ มูลยอ้ นกลับเพื่อ
พัฒนา

ประเดน็ ที่ 5 มีการแลกเปล่ยี นเรยี นร้แู ละให้ 1. รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรม การ

ขอ้ มลู สะทอ้ นกลับเพอ่ื พฒั นาและปรบั ปรงุ การ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้และให้ข้อมูลสะทอ้ นกลับเพ่ือ

จัดการเรียนรู้ พฒั นาและปรบั ปรงุ การจดั การเรียนรู้


Click to View FlipBook Version