The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยอนันดาฉบับสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 6112404001186, 2021-04-02 05:14:10

วิจัยอนันดาฉบับสมบูรณ์

วิจัยอนันดาฉบับสมบูรณ์

รายงานการวิจยั
ผลกระทบของความเป็นเลศิ ในการเรยี นรอู้ ย่างต่อเนื่องทีม่ ตี อ่
ประสทิ ธภิ าพการทางานของบุคลากรบรษิ ทั ซีฟู้ด จากดั อาเภอเมือง จงั หวดั สุ
ราษฎรธ์ านี

โดย
นางสาวอนนั ดา เรอื งแท้

การศกึ ษาวจิ ยั นเี้ ป็นสว่ นหนง่ึ ของรายวิชา MHR0710 การวธิ วี ิจยั สาหรบั
การบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์ สาขาวิชาการบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์
คณะวิทยาการจัดการ
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี ปกี ารศกึ ษา 2563

1

บทคัดยอ่

การวจิ ยั ครัง้ นีม้ ีวัตถปุ ระสงค์เพ่อื 1)เพื่อการวิจัยคร้ังนีม้ ีจดุ ประสงค์ เพ่ือทดสอบผลกระทบของความเป็น
เลิศในการเรยี นรู้อยา่ งต่อเน่อื งท่มี ตี ่อประสทิ ธิภาพการทางานของบุคลากรบริษัทซีฟู้ด

จากดั จาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายลุ ะระดับการศกึ ษา กล่มุ ตัวอย่างประชากรท่ีใชใ้ นการวิจยั ครัง้ นี้
มีจานวน 30 คน เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณคา่ 5 ระดบั
(Rating Scale) ซึง่ ได้คา่ เชื่อม่ันเท่ากบั .............. สถิติที่ใช้การวเิ คราะห์ข้อมูล ได้แก่ คา่ เฉี่ย (Mean) คา่ เบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.) การทดสอบคา่ ที่ (T-test) การวิเคราะหค์ ่าความแปรปรวนทางเดียว F-test (One – way
ANOVA)

ผลการวิจัยพบวา่ 1) ระดบั ความคดิ เห็นทีม่ ีต่อผลกระทบของความเปน็ เลศิ ในการเรยี นรู้อย่างต่อเน่ืองทมี่ ี
ตอ่ ประสทิ ธิภาพการทางานของบุคลากรบรษิ ัทซีฟู้ด

โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพจิ ารณาเป็นรายดา้ น พบว่า ดา้ นคุณภาพของงานอยู่ในระดบั ปานกลาง ดา้ น
ตน้ ทุนงานปานกลาง ด้านปริมาณงนอยใู่ นระดบั ปานกลาง และดดา้ นงานเสร็จทันเวาลาอย่ใู นระดบั ดีมาก

2

กิตติกรรมประกาศ

วจิ ัยฉบบั นี้สาเร็จสมบรู ณ์ดว้ ยดีโดยไดร้ บั ความกรณุ าจาก ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธนายุ ภูว่ ทิ ยาธรเปน็ ทปี่ รกึ ษา
วจิ ยั เล่มนี้ พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะ ข้อพิจารณาในการแก้ไข จนทาให้วิจยั ฉบับน้ีสมบรู ณ์ยงิ่ ข้นึ ผูว้ จิ ัยขอกราบ
พระคุณทุกท่านเปน็ อยา่ งสูงไว้ ณ โอกาสนี้
ผ้วู จิ ัยขอขอบพระคุณ คณาจารย์สาขาวชิ าการบริหารธรุ กิจ คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์
ธานี ทุกทา่ นท่ีกรุณาให้การอบรม สั่งสอน มอบความรแู้ ละประสบการณ์ท่ีดีงามมาตลอดหลกั สูตร
ขอขอบพระคุณทุกคนท่เี ป็นกัลยาณมติ รของผ้วู จิ ัย ท่เี ปน็ กาลงั ใจให้ตลอดเวลา คณุ คา่ และประโยชนข์ องวิจยั ฉบับน้ี
ผูว้ ิจัยขอมอบให้แก่มารดา ครอบครวั ญาตมิ ติ ร และบูรพาจารย์ ทุก ๆ ทา่ นที่ได้อบรม สั่งสอน ใหค้ วามรู้ ให้
การศึกษาด้วยดีตลอดมา ขอให้อานิสงค์จงบนั ดาลให้ทา่ นผู้มพี ระคณุ ท่ไี ด้กลา่ วนามมาแลว้ มคี วามสุข ความเจรญิ
ประสบความสาเร็จในการดาเนนิ ชวี ิต และก้าวหน้าในหนา้ ทก่ี ารงาน ตลอดไป

สารบัญ 3

เร่อื ง อนันดา เรืองแท้
บทท1่ี บทนา
หน้า
ความเปน็ มาและความสาคัญ 6
วตั ถุประสงค์การวจิ ัย 8
ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รับ 8
กรอบแนวคิด 8
สมมตุ ิฐาน 9
นยิ ามศัพทแ์ ละความหมาย 9
บทที่2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข้อง 13
งานวิจยั ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 14
แนวคิดและทฤษฎี

บทท่3ี วธิ กี ารดาเนินงานวิจยั 4
ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง
แบบแผนการวจิ ัย 16
เครื่องมอื ในการวิจัย 18
วธิ ีการสร้างเคร่อื งมอื 18
การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 18
การวเิ คร้าห์ข้อมลู 18
18
สารบัญ(ต่อ)
หน้า
เรอ่ื ง
บทท4ี ผลการวิเคราะห์ข้อมลู 20

ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู 22
บทที5่ สรปุ อภปิ รายผล 23
25
สรุปผลการวจิ ัย
บรรณานุกรม
ภาคผนวก ก

ภาคผนวก ข 5

27

สารบญั ตาราง หน้า

ชื่อเร่ือง 16
17
ตารางสังเคราะห์ตัวแปรประสิทธิภาพการทางาน 21
ตารางประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง 21
ตารางการวเิ คราะหข์ ้อมูลทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
ตารางการวเิ คราะห์สภาพการดาเนนิ งานวางแผนกลยทุ ธผ์ ลกระทบฯ

6

สารบัญภาพ

ชือ่ เรอื่ ง หน้า
ผลการวิเคราะหก์ ารวจิ ัย 25

7

บทที1่ บทนา

ความเปน็ มาและความสาคัญ

8

การเปลยี่ นแปลงทางดา้ นเศรษฐกิจและสังคมท่ีเกดิ ขนึ้ อย่างรวดเรว็ ภายใต้ยคุ โลกาภิวัตนแ์ ละเทคโนโลยี
ต่าง ๆ ส่งผลใหอ้ งค์กรทง้ั ภาครฐั และเอกชน ต้องปฏริ ูปตนเองเพื่อยกระดบั องค์กรใหด้ ีขึ้น องคก์ รที่มคี วามสามารถ
มไี หวพรบิ และสามารถเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วจะกลายเป็นองค์กรท่ปี ระสบความสาเรจ็ และสามารถอยู่รอดตอ่ ไป
ได้ ในอนาคต สว่ นองคก์ รที่ไม่ปรบั ตัว และไม่พฒั นาตนเองใหเ้ ข้ากบั สภาพแวดลอ้ มที่เปล่ยี นแปลงจะไม่มโี อกาสอยู่
รอดได้ การเรยี นร้เู ปน็ ปัจจัยสาคญั ท่จี ะทาให้บุคลากรทุกคนในองค์กรสามารถปรับตัวเข้ากับการเปลย่ี นแปลงต่างๆ
ได้อยา่ ง รวดเร็วยง่ิ ขน้ึ และการทอี่ งค์กรจะสามารถแขง่ ขันและอยู่รอดได้อยา่ งยั่งยนื องค์กรต้องให้บคุ ลากรมีการ
พฒั นาความ ความสามารถ และพัฒนาศักยภาพการปฏบิ ัติงาน ตลอดจนสามารถแสดงความคิดเห็นทจี่ ะทาให้เกิด
การพัฒนาอย่าง ต่อเน่อื งแลสรา้ งสรรค์ กานต์สุดา มาฆะศริ านนท์, 2557 : 11) บคุ ลากรจึงเป็นปจั จยั หลกั ท่ีจะทา
ใหอ้ งค์กรสรา้ ง ความไดเ้ ปรยี บทางการแข่งขนั ภายใต้สภาพแวดลอ้ มที่เปลย่ี นแปลงอย่เู สมอและทาให้องค์กร
บรรลุผลวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่กาหนดไวก้ ระบวนการทจี่ ะทาให้บคุ ลากรเกิดการพัฒนาตนเองน้นั ต้องอาศยั
ความรเู้ ปน็ ตัวขับเคล่ือน หลัก ซึ่งองค์กรต้องผลักดันให้มีสภาพแวดล้อมที่เอือ้ ต่อการเรยี นรู้ ส่งเสรมิ ใหบ้ ุคลากรเกิด
การเรียนรู้ท่ัวทง้ั องค์กร ท่วั ทุกระบบ มิใชแ่ คเ่ พยี งให้องค์กรอยรู่ อดแตย่ งั ประสบผลสาเร็จไดอ้ ยา่ งยัง่ ยนื

ความเปน็ เลศิ ในการเรียนรู้อย่างตอ่ เน่ือง เปน็ การเปลี่ยนแปลงทางดา้ นความคดิ และพฤติกรรมของบุคคล
เพอ่ื ให้เกิดการพัฒนาการปฏิบตั ิงานท่ียอดเย่ยี ม ซง่ึ เกดิ จากทศั นคติ ประสบการณก์ ารฝึกฝน การตัดสนิ ปัญหา โดย
มี การปฏิบตั ิอย่างสมา่ เสมอ กอ่ ใหเ้ กิดเป็นองค์ความรูท้ มี่ ีคุณค่า เพื่อนาไปใชใ้ นการพฒั นาการทางานได้อย่างดี
เยย่ี ม งานมีคุณภาพสูง ประกอบดว้ ย 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1) ด้านการแสวงหาความรจู้ ากภายนอก (External
Knowledge Acquisition) 2) ดา้ นการพฒั นาความรูแ้ ละศักยภาพในการทางานอย่างตอ่ เนือ่ ง Work
Competence) 3) ดา้ นการบูรณาการองค์ความรู้ทเ่ี ปน็ เลิศ (Excellence Knowledge Integration) และ 4)
ด้านการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ในงาน (Job Knowledge Sharing) (สมชาย นาประเสรฐิ ชัย, 2558 : 139-141) ซึ่ง
องคป์ ระกอบเหล่านจ้ี ะช่วยให้บคุ ลากรสามารถพฒั นาประสิทธภิ าพการทางานของตนเอง ลดขอ้ ผิดพลาด ในการ
ทางานมากยง่ิ ขึ้น และสามารถจดั การปญั หาต่างๆ ได้

ประสทิ ธภิ าพการทางาน (Job Efficiency) เปน็ ความสามารถในการปฏิบตั งิ านของบุคลากรในองค์กร ให้
บรรลเุ ปา้ หมาย ซึ่งบุคลากรต้ังใจปฏิบัติงานอยา่ งเตม็ ความสามารถ โดยนาความรแู้ ละวธิ ีการต่าง ๆ มาใชใ้ น การ
ทางาน เพ่ือชว่ ยสรา้ งผลการปฏบิ ัติงานใหไ้ ดป้ รมิ าณมาก และมีการปฏบิ ตั ิงานให้ไดม้ าตรฐานตามท่ีกาหนด งานมี
คณุ ภาพ รวมทงั้ ยังช่วยลดตน้ ทุน และเวลาให้นอ้ ยลง ซ่ึงการประเมินประสทิ ธภิ าพการทางานของบุคลากร
ประกอบด้วย 4 ด้าน ไดแ้ ก่ 1) ด้านคุณภาพของงาน (Quality of Work) 2) ด้านต้นทุนงาน (Cost of Work) 3)
ตน้ ปริมาณงาน (Quantity of Work) และ 4) ตา้ นงานสาเร็จทันเวลา (Timeliness Work Success) (สมใจ
ลกั ษณะ, 2552 : 7-10) การพฒั นาประสทิ ธภิ าพการทางานเปน็ สิ่งสาคญั สาหรับผ้บู รหิ าร และพนกั งาน ในองค์กร

9

เนอ่ื งจากเปน็ การพฒั นาศักยภาพของบุคลากรใหม้ ขี ีดความสามารถเพิม่ มากข้ึน ซ่ึงการทบ่ี คุ ลากรมี ความเปน็ เลศิ
ในการเรยี นรู้อย่างต่อเนือ่ ง ทาใหส้ ามารถปฏบิ ตั ิงานอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ส่งผลให้องคก์ รมคี วาม เจริญก้าวหน้า
และเมื่อองค์กรสามารถดงึ ดดู บคุ ลากรท่ีมีทกั ษะในการปฏิบัติงานใหอ้ ยู่ในองคก์ รได้ยาวนาน บุคลากรเหลา่ นั้นก็จะ
สามารถปฏบิ ตั งิ านได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ส่งผลให้องค์กรบรรลวุ ัตถปุ ระสงคท์ ต่ี ้ังไว้

นบั ต้งั แตป่ ระเทศไทยประสบปัญหาวกิ ฤตทางด้านเศรษฐกิจเม่อื ปี 2540 เป็นต้นมา ทาใหเ้ กดิ ผลกระทบ
อยา่ งรุนแรงต่อประชาชนทกุ สาขาอาชพี ทง้ั ภาคธุรกิจการเงนิ การบริการ และอตุ สาหกรรม ซง่ึ เปน็ ภาคธุรกิจท่มี ี
ความสาคัญของประเทศทาให้เกดิ การเปลีย่ นแปลงกระบวนการดาเนนิ งานเป็นอย่างมาก เช่น การลด กาลังการ
ผลิต การลดจานวนพนกั งาน ตลอดจนการเลกิ กจิ การทาให้บุคลากรในภาคธรุ กจิ ดังกลา่ ว เกดิ การวา่ งงาน เป็น
จานวนมาก รวมถึงผทู้ ่ีสาเรจ็ การศกึ ษาใหม่เสยี โอกาสในการทางานหางานไม่ได้เปน็ ผลให้รัฐบาลกาหนด นโยบายที่
ชดั เจนในการสง่ เสริมพัฒนาวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม (Small and Medium Enterprises : SMEs) ซง่ึ
เป็นมาตรการส่วนหนง่ึ ในการกระตนุ้ เศรษฐกิจเพือ่ เปน็ กลไกสาคญั ในการฟน้ื ฟูและพฒั นาเศรษฐกิจ ของประเทศใน
ระยะยาว (ดงั น้ัน เพ่ือความได้เปรียบทางการแขง่ ขัน และเติบโตอยา่ งย่ังยืน ของธุรกจิ SMEs จงึ ตอ้ งปรบั เปล่ยี น
กลยุทธ์ใน การบรหิ ารจดั การ เพื่อผลกั ดนั ให้องคก์ รเติบโตและสามารถแขง่ ขนั ได้ โดยความรว่ มมอื รว่ มใจของ
พนกั งานภายใน องค์กร ดังน้ันองค์กรจงึ ตอ้ งตระหนักถึงความสาคัญของทรพั ยากรบคุ คล และจาเปน็ อยา่ งยงิ่ ท่ี
จะต้องรู้วิธีการต่าง ๆ ทจี่ ะทาให้พนักงานในองค์กรมีความสุขในการทางานและทุ่มเทให้กับงานอยา่ งเต็มที่

จากเหตุผลท่กี ล่าวมาแล้วข้างต้น ผู้วิจยั จงึ สนใจศึกษาวจิ ยั ผลกระทบของความเปน็ เลิศในการเรยี นรอู้ ย่าง
ต่อเน่ืองท่ีมีต่อประสทิ ธิภาพการทางานของบุคลากรการบริษัทซีฟดู้ โดยมีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือทดสอบวา่ ความเปน็
เลศิ ในการเรียนรู้อย่างต่อเนือ่ งมีผลกระทบตอ่ ประสทิ ธภิ าพการทางานของบคุ ลากรบริษัทซีฟู้ด หรือไม่ อยา่ งไร ซ่งึ
ทาการเกบ็ รวบรวมข้อมลู จากบุคลากรบรษิ ัทซฟี ู้ด ผลลพั ธท์ ไี่ ดจ้ ากงานวจิ ยั สามารถนาไปใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการ
พัฒนาศักยภาพในการทางานให้ทนั ต่อการเปลยี่ นแปลงท่ีเกิดขน้ึ ในปจั จุบันเปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั งิ านของ
บุคลากรให้เป็นไปตามมาตรฐาน และเป็นข้อมูลในการพัฒนาการเรยี นรู้ อยา่ งตอ่ เนื่องเพือ่ เพ่มิ ประสิทธภิ าพการ
ทางาน

10

วตั ถปุ ระสงคก์ ารวิจยั

การวจิ ัยคร้ังนี้มีจุดประสงค์ เพ่ือทดสอบผลกระทบของความเป็นเลิศในการเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนอ่ื งที่มตี ่อ
ประสทิ ธภิ าพการทางานของบคุ ลากรบรษิ ัทซฟี ู้ด

ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะไดร้ ับ

1.ไดท้ ราบถึงผลกระทบของความเป็นเลิศในการเรยี นรู้อย่างตอ่ เนื่องทีม่ ีตอ่ ประสิทธภิ าพการทางานของ
บุคลากรบรษิ ัทซีฟู้ด

2.เพอื่ เป็นแนวทาการแก้ไขปรับปรุงให้บคุ ลากรของบริษทั ซีฟดู้ มีประสิทธิภาพในการทางานและการเรียนรู้
อย่างต่อเน่อื งอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

3.เพื่อให้องคก์ รสามารถแข่งขันกับสภาวะเศรษฐกิจในปจั จุบันไดด้ ยี ง่ิ ข้นึ
4.เพ่ือพฒั นาศักยภาพของบุคลากรบรษิ ัทซีฟู้ด

กรอบแนวคิด
ตวั แปรอสิ ระ : ความเป็นเลศิ ในการเรยี นรู้อย่างตอ่ เน่ือง (CLE)

ประกอบดว้ ย
1.เพศ
2.อายุ
3.ระดบั การศึกษา

ตวั แปรตาม : ประสทิ ธิภาพการทางาน (JEC)

11

ประกอบดว้ ย
1.ดา้ นคณุ ภาพของงาน (QLW)
2.ดา้ นต้นทนุ งาน(COW)
3.ด้านปริมาณงาน(QTW)
4.ดา้ นงานเสรจ็ ทนั เวลา(TIM)

สมมุตฐิ าน

1.เพศหญิงมีการเรียนรอู้ ย่างตอ่ เนื่องที่มีตอ่ ประสทิ ธิภาพการทางานของบุคลากรบริษัทซีฟดู้ มากกวา่

ผชู้ าย

2.ชว่ งอาย2ุ 5-30ปีมีการเรยี นร้อู ย่างต่อเนือ่ งทมี่ ีต่อประสิทธิภาพการทางานของบุคลากรบริษัทซีฟ้ดู

มากกว่าชว่ งอายุอ่นื

3.ระดบั การศึกษาท่แี ตกตา่ งกันมกี ารเรยี นรู้อยา่ งต่อเนื่องที่มีตอ่ ประสิทธภิ าพการทางานของบุคลากร

บริษัทซีฟดู้ แตกต่างกัน

นยิ ามศัพท์และความหมาย

1.ความเปน็ เลิศในการเรยี นรู้อย่างต่อเน่ือง (Continuous Learning Excellence)ความเปน็ เลิศในการ
เรียนร้อู ยา่ งต่อเนื่อง (Continuous Learning Excellence) หมายถงึ การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมของบคุ คลอยา่ ง
ถาวรซงึ่ เกิดจากการมุ่งเน้นการปฏบิ ัติงานทย่ี อดเยยี่ ม มงุ่ สูค่ ุณภาพสูงสดุ โดยการพฒั นา ความรู้ ประสบการณ
ทัศนคติ ค่านิยม การฝึกฝน ทักษะ ความเช่ยี วชาญและความพยายามในการปรับตวั ตาม สถานการณ์ โดยมีการ
ปฏบิ ตั อิ ย่างสมา่ เสมอ ซึ่งจะช่วยสร้างองคค์ วามรขู้ องตนเองให้เกดิ ขึน้ เพือ่ นาไปใช้ในการปฏบิ ัติงาน ให้ดีเยยี่ ม มี
คุณค่า รวมท้ังดารงคุณภาพไว้ได้อย่างยง่ั ยนื (สมชาย นาประเสริฐชัย, 2558 : 139-141)ประกอบดว้ ย
หมายถึง รูปแบบการทางาน วิธีการหรือกระบวนการใด ๆ ก็ตาม ที่มีจุดประสงค์เพ่ือนาไปสู่ความสาเร็จตาม
จุดประสงค์ที่กาหนด โดยมีการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ตามแต่ละกรอบจากัด ไม่ว่าจะแรงงาน เ งินทุน
หรือทรัพยากรทางธรรมชาติ ที่มีคุณภาพสูงสุดมาดาเนินการอย่างเต็มศักยภาพ ผ่านกระบวนการท่ีมีแบบแผน

12

เพื่อให้ปริมาณการใช้ทรัพยากรมีปริมาณน้อยที่สุด แต่กลับก่อเกิดประโยชน์ได้มากที่สุด จึงจะเรียกว่า มี
ประสิทธิภาพ

นอกจากนี้ความหมายของประสิทธิภาพยังถูกตีความโดย นักศึกษาและนักวิชาการอีกมากมายท่ีให้ความหมาย
แตกต่างกันออกไปในแบบฉบับของตนเอง ซ่ึงมีตัวอย่างดังต่อไปน้ี

 ประสิทธิภาพ โดย พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง ความสามารถอันก่อให้เกิดผลสาเร็จใน
การงานนั้น ๆ

 ประสิทธิภาพโดย ปีเตอร์ ดรักเกอร์ หมายถึง ความสามารถในการใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัด มา
ผ่านกระบวนการเปล่ียนแปลงเพื่อบรรลุจุดหมายขององค์การให้เกิดประโยชน์สูงสุด ( Peter
Drucker 1967 )

หลักการบริหารท่ีมีประสิทธิภาพ

1. มีการออกแบบโครงสร้างตาแหน่งงานที่เหมาะสมกับบุคลากรในแต่ละคน
2. มีการวางระบบเพื่อการประเมินผลงาน ซ่ึงมีการแสดงเกณฑ์เป้าหมายความสาเร็จของงานให้เห็น

อย่างชัดเจน
3. สามารถนาแบบแผนงานมาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างคุ้มค่า
4. ให้ความสาคัญกับการทางานร่วมกันอย่างเป็นทีมให้มีความสามัคคี อันสามารถให้ความร่วมมือกัน

ระหว่างแผนกได้อย่างราบร่ืน
5. ไม่แบ่งแยก พร้อมทั้งเสริมสร้างการดาเนินงานบนความหลากหลายทางวัฒนธรรม
6. มีความยืดหยุ่นในการบริหารจัดการ

ประสิทธิผล ( effectiveness ) ก็นับเป็นอีกคาหน่ึงท่ีได้รับความนิยมใช้ในทิศทางที่คล้าย ๆ กัน ซึ่ง
คาว่าประสิทธิผลนั้น มีความหมายว่า จุดบรรลุตามการดาเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่
คาดการณ์เอาไว้ หรือให้พูดง่าย ๆ ก็คือ การพิจารณาผลงาน และนามาเปรียบเทียบกับเป้าหมายท่ีได้วางไว้ใน
ตอนแรกเพราะฉะนั้นความแตกต่างระหว่างประสิทธิภาพกับประสิทธิผลก็คือ ประสิทธิภาพ คือ คาท่ีมีถูกใช้ใน
กระบวนการระหว่างการทางาน และประสิทธิผล คือคาที่นามาใช้ในกระบวนการเมื่องานได้แล้วเสร็จไปเป็นท่ี
เรียบร้อยสรุปแล้วประสิทธิภาพหมายถึง กระบวนการบริหารจัดการทรัพยากร ท่ีมีอยู่ภายในองค์กรในด้าน
ต่าง ๆ ให้เกิดความคุ้มค่าสูงสุด และดาเนินงานได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ โดยย่ิงถ้าหากมีการใช้
ทรัพยากรให้น้อยมากเท่าไหร่ ประสิทธิภาพก็จะยิ่งเกิดมากขึ้นเท่าน้ัน (แต่ผลงานต้องออกมาในทิศทางท่ีดี
เยี่ยม)

13

2.ประสิทธภิ าพการทางาน (Job Efficiency)

ประสทิ ธิภาพการทางาน (Job Efficiency) หมายถงึ ความสามารถในการปฏิบตั ิงานของบุคลากรใน
องค์กรใหบ้ รรลุเป้าหมาย ซง่ึ บคุ ลากรต้ังใจปฏบิ ตั ิงานอย่างเตม็ ความสามารถ โดยนาความรู้และวิธกี ารต่างๆ มาใช้
ใน การทางานเพื่อชว่ ยสรา้ งผลการปฏบิ ัติงานใหไ้ ดป้ รมิ าณมาก และมกี ารปฏบิ ตั งิ านให้ไดม้ าตรฐานตามทีก่ าหนด
งานมีคณุ ภาพ รวมท้ังยงั ช่วยลดตน้ ทุน และเวลาให้น้อยลง (สมใจ ลกั ษณะ, 2552 : 7-10) ประกอบดว้ ย

2.1 ดา้ นคณุ ภาพของงาน (Quality of Work) หมายถงึ ผลของการปฏบิ ตั ิงานท่ีมีความถูกต้อง ตาม
มาตรฐานท่ีกาหนด แม่นยา ครบถ้วน และงานมีความเชอ่ื ถือได้

2.2 ดา้ นตน้ ทุนงาน (Cost of Work) หมายถงึ ผลลัพธจ์ ากการปฏิบตั ิงานทเ่ี กดิ จากการใช้ ทรพั ยากรตา่ ง
ๆ ในการปฏบิ ัติงานในบทบาท หนา้ ที่ ความรบั ผดิ ชอบ โดยคานึงถึงความคุ้มค่าและความประหยดั และสามารถ
ปฏิบัติงานโดยใช้ค่าใช้จา่ ยน้อยกว่างบประมาณที่ไดร้ บั การจดั สรร

2.3 ด้านปรมิ าณงาน (Quantity of Work) หมายถึง ผลของการปฏิบตั งิ านที่ทาสาเร็จเปรยี บเทียบ กบั
ปริมาณงานทก่ี าหนด หรือปริมาณงานทีท่ าไดต้ ามมาตรฐาน

2.4 ดา้ นงานสาเรจ็ ทนั เวลา (Timeliness Work Success) หมายถึง ผลการทางานที่รวดเรว็ สามารถ
นามาใชป้ ระโยชนไ์ ดท้ ันกาล มกี ารทางานตามปริมาณงานทแ่ี ลว้ เสรจ็ ภายในเวลาทีก่ าหนดความเป็นเลศิ ใน การ
เรยี นรู้อยา่ งต่อเน่ืองมคี วามสัมพันธ์และผลกระทบกับประสทิ ธิภาพการทางาน ซง่ึ สอดคล้องกับงานวิจัย ประทีป
วจที องรัตนา (2558 : บทคดั ยอ่ ) พบวา่ ประสทิ ธิภาพการเรยี นรู้ ด้านความรู้ และดา้ นทักษะมีผลต่อประสิทธิผล
การปฏิบตั ิงานด้านคณุ ภาพผลงาน ประสิทธภิ าพการเรียนรู้ ดา้ นเจตคติ มีผลตอ่ ประสทิ ธผิ ลการปฏิบัตงิ านด้าน
ปรมิ าณผลงาน ประสิทธภิ าพการเรียนรู้ ด้านเจตคติ และด้านทกั ษะ มผี ลต่อประสทิ ธผิ ลตอ่ การปฏบิ ัติงานด้าน
ความตรงต่อเวลาในการทางาน และประสิทธิภาพการเรยี นรูด้ ้านเจตคติ ดา้ นทักษะ และดา้ นความรู้ มีผลต่อ
ประสทิ ธผิ ลตอ่ การปฏิบตั ิงาน

14

บที่2เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกย่ี วขอ้ ง

บริษทั (จากดั ) หมายถงึ องค์กรธุรกจิ ที่เกดิ จากการรวมกนั ของบุคคลท่ีมจี ดุ ประสงค์เดียวกนั และสนใจ
ร่วมกันทาสง่ิ หน่ึงสงิ่ ใดเพ่ือแสวงหาผลกาไร โดยเป็นหนุ้ ส่วนรว่ มลงทุนก่อต้ังบริษทั ตามท่ีกฎหมายกาหนด ชือ่ ของ
บรษิ ัทจะถูกตงั้ ขนั้ เพือ่ ใช้อา้ งอิงแทนกลมุ่ บุคคลและบริษัทที่จัดตัง้ ข้ึน มีสภาพเปน็ เป็นนิติบุคคล (legal person)

บรษิ ทั ซีฟ้ดู อาหารทะเลเปน็ บรษิ ัทอาหารท่ีถูกแปรรูปจากส่ิงมชี วี ติ ในทะเลโดยมนุษย์ อาหารทะเลหลกั ๆ
ได้แก่ ปลา และหอย ซงึ่ พวกหอยน้นั ก็รวมถึงมอลลสั ก์ กุ้งกั้งปู และอิคเี นอเดอรม์ แต่ในทางประวตั ศิ าสตร์ สตั ว์
เลย้ี งลกู ด้วยนา้ นมทางทะเลบางชนิดอย่างวาฬและโลมา ก็เคยถกู บริโภคเป็นอาหาร และเหลอื จานวนน้อยลงใน
เวลาตอ่ มา พชื ทะเลท่ีกนิ ได้ อาทิ สาหร่าย ก็มกี ารบรโิ ภคโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในทวปี เอเชีย สาหรบั ในทวปี อเมรกิ า
เหนอื นัน้ อาหารทะเลยงั รวมถึงอาหารที่ทามาจากสตั วใ์ นน้าจืดอีกดว้ ย หรืออาจกลา่ วได้วา่ อาหารทะเลของ
อเมรกิ าเหนือคืออาหารท่ีทามาจากสัตว์ในนา้

15

การสรรหาวตั ถุดิบมาทาอาหารทะเล สามารถทาไดโ้ ดยการประมงและการเพาะเลีย้ งสัตวน์ า้ โดยทั่วไปแล้ว
อาหารทะเลจะถูกแยกออกจากเนอ้ื แม้วา่ จะมสี ตั ว์ทะเลอยู่ดว้ ยกต็ าม และอาหารทะเลก็ถูกงดสาหรบั มังสวริ ตั ิ
อาหารทะเลเป็นแหล่งโปรตนี ทีส่ าคญั มาก จากอาหารท้ังหมดของโลก

ดาเนินธรุ กิจประเภทอุตสาหกรรมแปรรูปสตั ว์นา้ แช่แข็ง จาหน่าย และสง่ ออก ทั้งทเี่ ปน็ ผลติ ภณั ฑภ์ ายใต้
เคร่ืองหมายการค้าของบริษัท อนั ได้แก่ ASP TCC และ Blu Chef และผลิตภณั ฑภ์ ายใต้เครอ่ื งหมายการคา้ ของ
ลกู คา้ ปัจจบุ ัน บรษิ ทั ฯ มีกาลังการผลติ สูงสดุ ประมาณ 18,000 ตนั /ปี

ประสิทธภิ าพการทางาน (Job Efficiency) หมายถึง ความสามารถในการปฏบิ ัตงิ านของบคุ ลากรใน
องค์กรให้บรรลุเปา้ หมาย ซ่งึ บคุ ลากรตัง้ ใจปฏบิ ตั ิงานอยา่ งเต็มความสามารถ โดยนาความรแู้ ละวิธกี ารตา่ งๆ มาใช้
ใน การทางานเพ่ือช่วยสร้างผลการปฏบิ ัติงานให้ได้ปริมาณมาก และมกี ารปฏบิ ัติงานให้ได้มาตรฐานตามทีก่ าหนด
งานมีคณุ ภาพ รวมท้งั ยังช่วยลดตน้ ทนุ และเวลาใหน้ ้อยลง (สมใจ ลักษณะ, 2552 : 7-10) ประกอบดว้ ย

1 ด้านคณุ ภาพของงาน (Quality of Work) หมายถงึ ผลของการปฏิบตั งิ านทมี่ ีความถูกตอ้ ง ตาม
มาตรฐานท่กี าหนด แมน่ ยา ครบถว้ น และงานมีความเช่ือถือได้

2 ด้านตน้ ทนุ งาน (Cost of Work) หมายถงึ ผลลพั ธจ์ ากการปฏิบตั งิ านทเ่ี กิดจากการใช้ ทรัพยากรตา่ ง ๆ
ในการปฏิบัตงิ านในบทบาท หนา้ ท่ี ความรบั ผดิ ชอบ โดยคานึงถงึ ความคุ้มคา่ และความประหยัด และสามารถ
ปฏบิ ัตงิ านโดยใช้ค่าใชจ้ ่ายนอ้ ยกวา่ งบประมาณที่ได้รับการจดั สรร

3 ด้านปริมาณงาน (Quantity of Work) หมายถึง ผลของการปฏิบตั ิงานที่ทาสาเรจ็ เปรียบเทียบ กับ
ปริมาณงานท่กี าหนด หรือปริมาณงานทท่ี าไดต้ ามมาตรฐาน

4 ด้านงานสาเรจ็ ทนั เวลา (Timeliness Work Success) หมายถึง ผลการทางานทรี่ วดเรว็ สามารถ
นามาใช้ประโยชนไ์ ด้ทันกาล มกี ารทางานตามปริมาณงานทีแ่ ลว้ เสรจ็ ภายในเวลาทีก่ าหนดความเปน็ เลศิ ใน การ
เรียนรู้อยา่ งต่อเนอื่ งมคี วามสัมพนั ธ์และผลกระทบกบั ประสิทธภิ าพการทางาน ซ่งึ สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ประทปี
วจีทองรตั นา (2558 : บทคดั ยอ่ ) พบวา่ ประสทิ ธิภาพการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ และดา้ นทักษะมีผลตอ่ ประสิทธิผล
การปฏิบตั งิ านดา้ นคณุ ภาพผลงาน ประสิทธภิ าพการเรยี นรู้ ด้านเจตคติ มีผลต่อประสทิ ธิผลการปฏิบตั งิ านดา้ น
ปริมาณผลงาน ประสทิ ธภิ าพการเรียนรู้ ดา้ นเจตคติ และด้านทักษะ มีผลต่อประสทิ ธิผลต่อการปฏบิ ัติงานด้าน
ความตรงต่อเวลาในการทางาน และประสทิ ธิภาพการเรยี นรูด้ า้ นเจตคติ ดา้ นทักษะ และดา้ นความรู้ มีผลต่อ
ประสิทธิผลตอ่ การปฏิบตั งิ าน

16

งานวิจัยท่เี ก่ยี วข้อง

ความสาเร็จในการประกอบธุรกจิ ค้าส่งอาหารทะเลสดของผู้ประกอบการ ในอาเภออา่ วลกึ จังหวดั กระบี่
https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/vlt15-1/6114993691.pdf
โครงการวจิ ยั “ความต้องการของผบู้ รโิ ภคต่ออาหารทะเลที่ย่ังยืน บทเรยี นจากต่างประเทศ และการวิเคราะห์
ชอ่ งวา่ งในประเทศไทย
https://www.im2market.com/2017/11/15/4650
เรอ่ื ง กรณีศกึ ษากระบวนการผลติ อุตสาหกรรมอาหารแช่แข็งในจงั หวัดระนอง
http://www.elcls.ssru.ac.th/pornpanna_la/pluginfile.php/23/block_html/content/งานวิจัย
ฉบับสมบูรณอ์ าหารทะเลแช่แขง็ .pdf
เครือขายวสิ าหกจิ อตุ สาหกรรมอาหารทะเลแปรรูป จงั หวัดสมทุ รปราการ 1-10
ชลบรุ ีระยอง จนั ทบรุ ี
https://www.sme.go.th/upload/mod_download/14-seafood.pdf

แนวคิดและทฤษฎี

17

1.วจิ ยั ของจารุวรรณ มหาวงศ์ (2554 : บทคดั ย่อ) พบว่า บคุ ลากรส่วน การคลังท้องถ่ินมีการพฒั นา
ความรเู้ พ่ือนาไปพฒั นาประสิทธภิ าพการทางานในองค์กรให้ดีขนึ้ และมีความต้องการ อบรมเพื่อฝึกปฏิบตั ิงาน
(On the job training) เพอ่ื นาไปปรบั ใชใ้ นการปฏิบัติงานให้ดยี ง่ิ ขน้ึ 2) ความเปน็ เลิศใน การเรยี นร้อู ย่างต่อเน่ือง
ดา้ นการบรู ณาการองค์ความรู้ทีเ่ ป็นเลศิ มีความสัมพันธแ์ ละผลกระทบเชงิ บวกเกย่ี วกับ ประสทิ ธิภาพการทางาน
โดยรวม เนอ่ื งจาก ความสาคัญของการนาความร้ทู ่ีไดจ้ ากการทางานท่หี ลากหลายของ บุคลากร เช่น
ประสบการณ์ทไ่ี ด้จากการทางาน การสอบถามจากลูกคา้ สามารถนามาผสมผสาน จัดเกบ็ รวบรวม ความร้ไู วเ้ ปน็
คมู่ ือการทางานของตนเอง หรอื ในรูปของบทความวิชาการ รายงานการปฏิบตั ิงานที่ถกู ต้อง แมน่ ยา สามารถ
นาไปใช้ในการทางานเพื่อใหง้ านทไี่ ด้มีคณุ ภาพ ใชท้ รัพยากรทมี่ ีอยู่อยา่ งคุ้มค่า ปฏบิ ัตงิ านที่ได้รบั มอบหมายได้
อยา่ งรวดเร็วทันต่อการนาไปใช้ และสามารถนาผลของการปฏิบัตงิ านมาวเิ คราะห์ ปรับปรงุ แกไ้ ข และพัฒนา การ
ทางานใหด้ ยี ่งิ ข้นึ

2.วิจัยของปิยะนันท์ ประครอง (2555 : 87) พบวา่ วฒั นธรรมการเรยี นรู้ ดา้ นการทดลองและการบรู ณา
การ ซงึ่ เปน็ การตรวจสอบแนวคดิ ทต่ี งั้ ไวเ้ พอื่ หาคาตอบในสถานการณ์ที่แตกต่างกนั ออกไป โดยมีการบูรณาการ
ความรู้ หรอื การผสมผสานความรูร้ ะหวา่ งประสบการณ์เดมิ กับประสบการณ์ใหม่ และ นาไปใช้ประยุกต์กบั การ
ทางานให้ดีย่งิ ขนึ้ มคี วามสัมพันธแ์ ละผลกระทบเชิงบวกกับคุณภาพในการปฏบิ ัติงานโดยรวม ด้านคุณภาพของงาน
ด้านความรับผดิ ชอบ ด้านความชานาญ และดา้ นความคิดสร้างสรรค์ เน่ืองจากคุณภาพของงาน เป็นสงิ่ ที่บคุ ลากร
ทกุ คนต้องปฏิบตั ิงานด้วยความถกู ต้องตามมาตรฐานหรือนโยบายที่กาหนดไว้ บคุ ลากรต้องมี ความรับผดิ ชอบเป็น
หลักเพ่ือให้การทางานประสบผลสาเรจ็ ตามระยะเวลาท่ีกาหนด พรอ้ มทั้งรจู้ ักคิดวเิ คราะห์งานอยู่ ตลอดเวลาเพอื่
สรา้ งสรรคส์ งิ่ ใหม่ ๆ ส่งิ เหล่านีถ้ อื เป็นกระบวนการของวฒั นธรรมการเรยี นรู้ภายในองค์กรที่จะต้องมี การบูรณา
การสิ่งต่าง ๆ เขา้ ด้วยกนั อยา่ งเปน็ ระบบ เพื่อเป็นขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ านใหร้ วดเร็วและสง่ ผลต่อคุณภาพ การ
ปฏิบตั งิ านของบคุ ลากรให้มีประสิทธภิ าพ 3) ความเป็นเลิศในการเรียนร้อู ย่างตอ่ เนือ่ ง ด้านการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้
ในงาน มคี วามสัมพนั ธ์และผลกระทบเชงิ บวกเกีย่ วกบั ประสิทธิภาพการทางานโดยรวม เน่อื งจากการปฏบิ ตั ิงาน
ของบุคลากรท่ีมีถ่ายทอดความรโู้ ดยการนาความรู้ ความเชีย่ วชาญท่มี ีไปแบ่งปนั กับบุคลากรอื่นๆ เช่น การเสวนา
การสัมมนากลุ่ม เพ่ือเป็นการแลกเปล่ยี นทศั นคติ ประสบการณใ์ นการทางานระหวา่ งกัน กอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ใน
กระบวนการปฏิบตั ิงานมากย่ิงขน้ึ สามารถนามาใชใ้ นการปฏิบตั ิงานให้เกิดผลสาเร็จ และสามารถทางานทดแทน
กันได้ อย่างสมบูรณ์

3.งานวจิ ัยของธนภาส อยู่ใจเย็น (2553 : 255) พบวา่ การแลกเปลีย่ นเรียนรรู้ ะหวา่ ง บุคลากร โดยมกี าร
แลกเปล่ยี นความคิดเหน็ และประสบการณ์ความรูข้ องตนเองต่อประเด็นปัญหาหรือสถานการณ์ ตา่ ง ๆ สามารถ
นาเสนอวธิ กี ารแก้ไขปญั หาจากความรู้และประสบการณ์ของตนเอง บุคลากรในองค์กรมีการตดิ ตอ่ สือ่ สารและ

18

สามารถแสดงความคิดเห็น สนทนา อภิปรายระหวา่ งกนั ได้อยา่ งทั่วถึง ซ่ึงสามารถสร้างความรู้ใหม่ จากการ
แลกเปล่ียนทัศนคติการทางานระหว่างกัน นาไปใช้ในการปฏิบตั งิ านเพือ่ ให้บรรลเุ ปา้ หมายตามทีต่ ง้ั ไว้

4.งานวิจัยของสุวรรณา วริ ยิ ะประยรู (2552 : 1-5) กลา่ วว่า พฤติกรรมการแบ่งปนั แลกเปลย่ี นความรู้
นับเปน็ ตวั แปรหรือปัจจยั สาคัญอย่างหน่งึ ทจ่ี ะทาใหอ้ งค์กร มฐี านความรูท้ ี่มีคุณค่า และสามารถต่อยอดความรใู้ ห้
เพิ่ม

5.งานวิจยั ของสุริยงค์ วงศาพัฒนานนั ท์ (2557). ผลกระทบของการพฒั นาความรู้อยา่ งต่อเนื่องท่มี ี
ความสาเร็จในการทางานของผูส้ อบบญั ชีภาษอี ากรในประเทศไทย. วทิ ยานพิ นธ์ บช.ม. มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ตารางที่ 2.1 ตารางสังเคราะหต์ ัวแปรประสิทธภิ าพการทางาน

เรอ่ื ง จารุวรรณ ปิยะนนั ท์ ธนภาส อยูใ่ จ สุวรรณา สุริยงค์ วงศา ผ้วู จิ ัย
มหาวงศ์ ประครอง เย็น (2553) วิรยิ ะประยูร พฒั นานันท์
(2554) (2555) (2557).
(2552)
1ดา้ นคุณภาพ √ √ √
ของงาน
2ดา้ นตน้ ทุน √
งาน
3ดา้ นปรมิ าณ √
งาน
4ดา้ นงานเสร็จ √
ทันเวลา

19

บทท่ี3 วธิ ีการดาเนนิ วจิ ัย

3.1ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ประชากร คือ พนักงานบรษิ ัทซฟี ู้ด จากัด อาเภอเมือง จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านีกลมุ่ ตัวอย่าง ขนาดกลมุ่
ตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejci Morgan จานวน 59 คนวิธกี ารสมุ่ ตวั อยา่ ง แบบสอบถามเพ่ือใหเ้ ลอื กระดับ
ความสาคัญจากระดับ1-5รายชอื่ กลมุ่ ตัวอยา่ ง

สาขา A สาขา B

1. นางสาวกชามาส ทองเสมยี น 1. นายณัฎฐนนั ท์ เขาทอง

2. นางสาววิภารัตน์ เพง็ สวัสด์ิ 2. นางสาวกติ ตวิ รา นุ่นชผู ล

3. นางสาวรัตนาพร ศรประดิษฐ 3. นางสาวรวงขา้ ว สุดตา

4. นายวันชัย สมทอง 4. นางสาวอญั ชรียา พลบั แกว้

5. นางสาวพรศริ ิ พลจรัส 5. นางสาวกติ ตยิ า แสงศรี

6. นางสาวนฎา เลย่ี นเซง่ 6. นายสหัสวรรษ ศรสี วสั ด์ิ

7. นางสาวกนกวรรณ เรอื งวเิ ศษ 7. นางสาวจรุ ตั น์ ถงึ เสยี บญวน

8. นางสาวจนั ทิมา คาเอยี ด 8.นางสาวเบญจมาศ อาจหาญ

9. นางสาวสชุ านนั ท์ ชาวชลี อง 9. นายเจษฎา สมบรู ณ์

10. นางสาวณิชากร เจริญรักษ์ 10. นายสรรเพชร เพชรรกั ษ์

11. นางสาววลิ าวรรณ ทองพรหมดี 11. นายอาทติ ย์ ศิรลิ าภา

12. นางสาวเกศรา แกว้ เกดิ 12. นางสาวอาภาพร ชนม์ทวี

13. นางสาวกนกกาญจน์ นุ่นแกว้ 13. นางสาวจรยิ า เตยี ซิว

14. นางสาวนนั ทิยา น่มุ นวล 14. นางสาวศศินา เสอื อินโท

15. นายนฐั พล ล้ิมสุวรรณ 15. นางสาวรตั นาวดี วิชยั ดิษฐ์

20

16. นางสาวรัชฎาภรณ์ บวั อนิ ทร์ 16. นายณฐพณ ทองรักทอง
17. นายพงศ์ธร ยุวบุตร 17. นางสาวธนภรณ์ สวุ รรณมณี
18. นางสาวสุจินันท์ พิษครุฑ 18. นางสาวสุรยิ าพร กรุยะ
19. นางสาววรรณกานต์ หวานทอง 19. นายกติ ติศักด์ิ บ้านนบ
20. นางสาวประภัสสร ไตรมาศ 20. นางสาวดวงกมกล ภมู่ ณี
21. นางสาวทพิ ทวิ า มากจิต 21. นางสาวเกตนุ ภา สุขขวด
22. นางสาวอรอนงค์ เพชรคง 22.นางสาวศศธิ ร ฉมิ รักษ์
23. นางสาวภาสนิ ี เกษสี ม 23. นายจริ วฒั น์ ธรรมนาวาศ
24.นางสาวธิดารัตน์ คาแหง 24. นางสาวจารวุ รรณ ถวัลธรรม
25. นางสาวนุชนาถ ทองสัมฤทธิ์ 25.นางสาวอนัดดา เพชรคง
26. นายกรณ์ดนยั ไชยพยันต์ 26. นางสาวณัฐทริกา ทวชิ ศรี
27. นางสาวรมณี โรมินทร์ 27. นางสาวกาญจนา บุตรเล่ียม
28. นางสาวเกศกนก มณีรตั น์ 28. นางสาวศิริรัตน์ ทองออ่ น
29. นางสาวณฐั รจุ ี แซ่ลม่ิ 29. นางสาวอมราวดี วิโรจน์
30. นางสาวลดาภรณ์ ชูปัน

21

3.1.1แบบแผนการวจิ ัย
การวจิ ัยคร้ังนีเ้ ป็นการวจิ ยั เชงิ สารวจ (Survey Research) คอื ใชแ้ บบสอบถาม เกบ็ ข้อมูลโดยใช้วธิ กี าร
เกบ็ ข้อมูลครัง้ เดยี ว รเพอื่ ทดสอบผลกระทบของความเป็นเลิศในการเรยี นรู้อยา่ งต่อเน่ืองที่มีต่อประสทิ ธิภาพการ
ทางานของบุคลากรบรษิ ัทซฟี ู้ด
3.2เครอื่ งมือในการวจิ ยั
แบบของเครื่องมือ เครือ่ งมือการวิจัยท่ีใชใ้ นการเกบ็ ขอ้ มูล คือแบบสอบถามเพื่อใหเ้ ลอื กระดบั ความสาคญั
จากระดบั 1-5ดงั น้ี

5 หมายถงึ ปฏบิ ตั ิระดบั มากทส่ี ุด
4 หมายถงึ ปฏิบตั ริ ะดับมาก
3 หมายถงึ ปฏิบัตริ ะดบั ปานกลาง
2 หมายถงึ ปฏบิ ัตริ ะดบั น้อย
1 หมายถงึ ปฏบิ ตั ริ ะดับน้อยทีส่ ดุ
3.3. วธิ กี ารสร้างเครอื่ งมือ
1. การสรา้ งแบบสอบถามศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และเคร่ืองมือการวิจัยท่เี ก่ียวข้องกับงานวจิ ัยของของ(จารุ
วรรณ มหาวงศ์ 2554 ) (ปยิ ะนันท์ ประครอง 2555) (ธนภาส อยใู่ จเย็น 2553 : 255) (สุวรรณา วิริยะประยรู
2552 : 1-5)
1.2 กาหนดขอบเขต และโครงสรา้ งของแบบสอบถามเพ่ือ ใหค้ รอบคลุมรเพื่อทดสอบผลกระทบของความ
เปน็ เลิศในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องท่ีมตี อ่ ประสิทธภิ าพการทางานของบุคลากรบริษัทซีฟู้ด
3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล

22

ในการเก็บรวบรวมข้อมูลผูว้ ิจัยได้ดาเนนิ การตามขัน้ ตอนดังน้ี
1.1 ผู้วจิ ยั ดาเนินการแจกจ่ายแบบสอบถามไปยังกลุม่ ประชากรตวั อยา่ ง
1.2 ผู้วิจยั จะเก็บรวบรวมแบบสอบถามทั้งหมดทีไ่ ดน้ าามาดาเนินการตามข้ันตอน การวิจัยตอ่ ไป

3.5 การวเิ คราะหข์ อ้ มูล
3.5.1 วธิ กี ารวิเคราะห์ ในการวเิ คราะหข์ ้อมูลผ้วู ิจัยไดด้ าเนินการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ดงั น้ี ก.แบบสอบถาม

ผู้วจิ ยั ได้นาแบบสอบถามมาวิเคราะห์โดยมีลาดบั ขนั้ ตอนดงั นค้ี ือ
3.5.1.1 ตรวจสอบความสมบูรณ์ของการตอบแบบสอบถามทกุ ฉบับ
3.5.1.2 วิเคราะห์ข้อมูลเกย่ี วกับสถานภาพของผตู้ อบ แบบสอบถาม โดยใชค้ า่ ความถ่ีและค่ารอ้ ย

ละ เพือ่ นามาประกอบการอภิปรายผลในการศึกษา คน้ ควา้

3.5.1.3 คานวณหาคา่ เฉล่ยี (μ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) ของข้อมูลเกย่ี วกับ การ และหา
คา่ เฉลี่ยรวมทง้ั 5 ดา้ น โดยให้คะแนน ตามเกณฑ์ของครอนบาค (Cronbach, 1990 : 126-127 อ้างถึงในดล
มนรรจน์ บากา และ เกษตรชัย และหีม, 2548 : 82 ) โดยแบง่ ชว่ งของคา่ ตวั กลางเลข คณิต 5 กลมุ่ ในการแปล
ความหมาย ดงั น้ีคือ

1.00 -1.49 หมายถึง ปฏิบตั ิระดบั นอ้ ยทส่ี ุด
1.50 – 2.49 หมายถึง ปฏบิ ตั ิระดบั น้อย
2.50 – 3.49 หมายถึง ปฏบิ ตั ิระดับ ปานกลาง
3.50 – 4.49 หมายถึง ปฏบิ ัติระดบั มาก
4.50 – 5.00 หมายถงึ ปฏิบัติระดบั มากท่ีสุด
3.5.2 สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล ในการวเิ คราะหข์ ้อมูลคร้งั นผ้ี ู้วจิ ัยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการ
วิเคราะห์ข้อมูล ซง่ึ ใช้ค่าสถติ ิ ดงั นี้
1. คา่ ความถ่ีและค่าร้อยละ(Percentage)
1.1 นาขอ้ มูลจากแบบสอบถาม มาแจกแจงความถี่ และวเิ คราะห์ข้อมูล เปน็ คา่ รอ้ ยละแล้วน า
เสนอในรูปตารางประกอบความเรยี ง

23

2. คา่ เฉล่ีย(Mean)นาข้อมลู จากแบบสอบถาม มาหาค่าเฉล่ีย(μ) หาคา่ ตวั กลาง
3.ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) น าค่าเฉลยี่ เลขคณิต (μ) แต่ละขอ้ มาวัดการกระจาย
ของคะแนน แนวโนม้ เขา้ สู่ ส่วนกลางโดยหาค่าสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (σ)ของแต่ละข้อ
4.เปรยี บเทียบโดยการใช้คา่ เฉล่ยี เลขคณติ (μ)และค่าสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (σ)

บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล

การวิจยั ครง้ั น้ีมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พื่อศกึ ษาสภาพปญั หา อุปสรรค และข้อเสนอแนะแนวทางในการดาเนินงาน
วางแผนกลยุทธ์ของผลกระทบของความเป็นเลศิ ในการเรยี นร้อู ยา่ งต่อเน่ืองทีม่ ตี ่อประสทิ ธภิ าพการทางานของ
บคุ ลากร บริษัทซฟี ดู้

กลมุ่ ตวั อย่างที่ใชใ้ นบุคลากรบริษัทซีฟู้ด 8จานวน 30 คน และได้แบบสอบถามกลับคนื มา จานวน 30
ฉบับ คิดเปน็ ร้อยละ 100ของแบบสอบถามท้ังหมด เพื่อให้เปน็ ไปตามวัตถุประสงคข์ องการวิจัย ผู้วจิ ัยนาข้อมูลที่
ไดม้ าวิเคราะหแ์ ละเสนอผลการวิเคราะห์โดย ใชต้ ารางประกอบคาบรรยายจาแนกเปน็ 2ตอน ตามลาดับ ต่อไปนี้

ตอนที่ 1การวเิ คราะห์ขอ้ มูลทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม

ปจั จัยส่วนบุคคล จานวน (N=59) ร้อยละ

เพศ 12 20.3
ชาย 47 79.7
หญงิ
0 0
วฒุ กิ ารศกึ ษา 59 100
ต่ากวา่ ปริญญาตรี 0
ปริญญาตรี
สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี

24

ตอนท่ี 2 การวเิ คราะห์สภาพการดาเนินงานวางแผนกลยุทธ์ผลกระทบของความเปน็ เลศิ ในการเรียนร้อู ย่างต่อเนือ่ ง
ทม่ี ีตอ่ ประสิทธิภาพการทางานของบุคลากรบรษิ ัทซีฟ้ดู

ผลกระทบของความเป็นเลิศในการ ระดบั ความไวว้ างใจ
เรียนรู้ S.D. แปลผล

1. ด้านคณุ ภาพของงาน 4.73 0.45 มากทสี ดุ
2. ด้านตน้ ทุนงาน 4.53 0.57 มากทสี ดุ
3. ดา้ นปริมาณงาน 4.59 0.59 มากทสี ุด
4. ด้านงานเสร็จทันเวลา 4.25 0.68 มาก
4.56 0.57 มากทสี ดุ
รวม

บทท่ี5สรปุ อภปิ รายผลขอ้ เสนอแนะ

การศกึ ษาวิจัยเร่ืองผลกระทบของความเปน็ เลศิ ในการเรียนร้อู ย่างต่อเนือ่ งท่ีมีต่อประสิทธภิ าพการทางาน
ของบุคลากรบริษัทซีฟู้ด จากัด อาเภอเมือง จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี มวี ตั ถุประสงค์ 1การวจิ ัยครั้งนีม้ จี ดุ ประสงค์ เพื่อ
ทดสอบผลกระทบของความเปน็ เลศิ ในการเรยี นรู้อยา่ งต่อเนื่องท่มี ีตอ่ ประสทิ ธิภาพการทางานของบุคลากรบริษทั
ซีฟดู้

ผวู้ ิจยั ไดศ้ ึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ที่เกยี่ วข้อง เพ่อื นามากาหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย โดยได้
กาหนดสมมติฐานการวจิ ยั ไว้ดังน้ี 1.) ปจั จัยส่วนบุคคล ไดแ้ ก่ เพศ อายุและระดบั การศึกษา 2.) ความสาเร็จในการ
ทางานของพนักงานบรษิ ทั ซีฟดู้ จากดั อาเภอเมอื ง จังหวัดสุราษฎรธ์ านปี ระชากรกลุม่ ตวั อย่างท่ใี ชใ้ นการศึกษา
คอื พนักงานบริษทั บรษิ ัท ซฟี ู้ด จากดั อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี จานวน 30 คน

เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการวิจยั ครัง้ นี้เป็นแบบสอบถามทีผ่ วู้ ิจัยสร้างขน้ึ มาจากการทบทวนแนวคิดทฤษฎี งานวิจัยที่
เกีย่ วข้อง โดยผวู้ จิ ัยเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ด้วยตนเองหลงั จากน้ันนาแบบสอบถามมาตรวจสอบความถูกตอ้ งและ
ครบถว้ นของข้อมลู โดยโปรแกรมคอมพิวเตอรส์ าเรจ็ รปู สถิติทีใ่ ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู ได้แก่ การแจกแจงความถี่
(frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลย่ี (Mean)และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard deviation) การ

25

ทดสอบค่าเฉลี่ยของกลมุ่ (Independent Sampies Test) การวเิ คราะห์ความแปรปรวนทางเดยี ว (One way
ANOVA)

สรปุ ผลการวจิ ยั
จากการวเิ คราะหข์ ้อมูลผลการวจิ ยั สรปุ ประเด็นสาคัญ ดงั นี้
1.การวเิ คราะห์ข้อมูลส่วนบคุ คลของพนกั งาน บรษิ ทั ซีฟู้ด จากดั อาเภอเมือง จงั หวัดสุราษฎร์ธานี พบว่า พนักงาน
บริษทั ซีฟู้ด จากัด อาเภอเมือง จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี ส่วนมากเปน็ เพศหญิงร้อยละ 76.7และเพศชายร้อยละ23.3
และระดับการศึกษาสว่ นใหญ่อยใู่ นระดบั ปริญญาตรีจานวน 30 คน คดิ เป็น 100เปอรเ์ ซ็น
2.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของพนักงานบริษัท ซีฟู้ด จากัด อาเภอเมอื ง จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี โดยรวมอยู่ใน
ระดับมาก
เมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายด้าน พบว่า
ดา้ นคณุ ภาพของพนักงานระดับปานกลาง
ด้านตน้ ทุนงานระดบั ปานกลาง
ดา้ นปรมิ าณงานระดบั ปานกลาง
ดา้ นงานเสร็จทันเวลาระดบั มากทส่ี ุด

บรรณานกุ รม

1.วิจัยของจารวุ รรณ มหาวงศ์ (2554 : บทคัดย่อ) พบวา่ บุคลากรส่วน การคลงั ท้องถิ่นมีการพัฒนา
ความรเู้ พ่ือนาไปพัฒนาประสิทธิภาพการทางานในองค์กรใหด้ ีข้ึน และมีความต้องการ อบรมเพ่ือฝึกปฏบิ ัติงาน
(On the job training) เพื่อนาไปปรับใช้ในการปฏิบตั ิงานใหด้ ียิ่งขึ้น 2) ความเป็นเลศิ ใน การเรียนร้อู ยา่ งต่อเน่ือง
ดา้ นการบูรณาการองค์ความรู้ทเ่ี ปน็ เลิศ มีความสัมพนั ธ์และผลกระทบเชิงบวกเก่ยี วกบั ประสิทธิภาพการทางาน
โดยรวม เน่อื งจาก ความสาคัญของการนาความรทู้ ี่ไดจ้ ากการทางานท่หี ลากหลายของ บุคลากร เชน่
ประสบการณ์ทไี่ ดจ้ ากการทางาน การสอบถามจากลูกคา้ สามารถนามาผสมผสาน จดั เกบ็ รวบรวม ความรไู้ วเ้ ปน็
คู่มอื การทางานของตนเอง หรอื ในรูปของบทความวชิ าการ รายงานการปฏิบัตงิ านท่ีถกู ต้อง แมน่ ยา สามารถ

26

นาไปใช้ในการทางานเพ่ือให้งานท่ีไดม้ ีคณุ ภาพ ใชท้ รพั ยากรทีม่ อี ยู่อยา่ งคุ้มค่า ปฏิบัติงานทไี่ ดร้ บั มอบหมายได้
อยา่ งรวดเร็วทนั ต่อการนาไปใช้ และสามารถนาผลของการปฏิบัติงานมาวเิ คราะห์ ปรบั ปรงุ แกไ้ ข และพัฒนา การ
ทางานใหด้ ียิ่งขึน้

2.วจิ ัยของปยิ ะนันท์ ประครอง (2555 : 87) พบวา่ วฒั นธรรมการเรียนรู้ ด้านการทดลองและการบูรณา
การ ซง่ึ เป็นการตรวจสอบแนวคิดท่ีตัง้ ไว้เพ่ือหาคาตอบในสถานการณ์ทแ่ี ตกต่างกัน ออกไป โดยมีการบรู ณาการ
ความรู้ หรอื การผสมผสานความรู้ระหว่างประสบการณ์เดิมกบั ประสบการณใ์ หม่ และ นาไปใชป้ ระยุกต์กับการ
ทางานใหด้ ยี ่ิงขึ้น มคี วามสัมพันธ์และผลกระทบเชงิ บวกกบั คณุ ภาพในการปฏบิ ตั งิ านโดยรวม ด้านคุณภาพของงาน
ดา้ นความรบั ผิดชอบ ด้านความชานาญ และด้านความคดิ สร้างสรรค์ เน่อื งจากคุณภาพของงาน เป็นสง่ิ ที่บุคลากร
ทกุ คนต้องปฏิบตั งิ านด้วยความถกู ต้องตามมาตรฐานหรือนโยบายทกี่ าหนดไว้ บุคลากรต้องมี ความรบั ผดิ ชอบเป็น
หลกั เพอื่ ใหก้ ารทางานประสบผลสาเรจ็ ตามระยะเวลาที่กาหนด พรอ้ มทงั้ รจู้ กั คิดวิเคราะห์งานอยู่ ตลอดเวลาเพ่ือ
สรา้ งสรรคส์ ่ิงใหม่ ๆ สิ่งเหล่านถ้ี ือเป็นกระบวนการของวฒั นธรรมการเรียนรูภ้ ายในองค์กรทีจ่ ะต้องมี การบรู ณา
การสง่ิ ต่าง ๆ เขา้ ด้วยกนั อย่างเป็นระบบ เพ่ือเปน็ ขั้นตอนการปฏิบัตงิ านใหร้ วดเรว็ และส่งผลตอ่ คุณภาพ การ
ปฏบิ ัติงานของบคุ ลากรให้มปี ระสทิ ธภิ าพ 3) ความเปน็ เลิศในการเรยี นร้อู ย่างต่อเนื่อง ด้านการแลกเปลยี่ นเรียนรู้
ในงาน มคี วามสมั พนั ธแ์ ละผลกระทบเชงิ บวกเกยี่ วกบั ประสิทธภิ าพการทางานโดยรวม เนื่องจากการปฏิบัติงาน
ของบุคลากรท่ีมีถ่ายทอดความร้โู ดยการนาความรู้ ความเช่ยี วชาญท่ีมไี ปแบ่งปันกบั บุคลากรอ่ืนๆ เช่น การเสวนา
การสมั มนากลุ่ม เพ่ือเปน็ การแลกเปลี่ยนทศั นคติ ประสบการณใ์ นการทางานระหวา่ งกัน ก่อให้เกิดประโยชนใ์ น
กระบวนการปฏิบตั ิงานมากย่ิงข้นึ สามารถนามาใช้ในการปฏิบัตงิ านให้เกดิ ผลสาเรจ็ และสามารถทางานทดแทน
กันได้ อย่างสมบรู ณ์

3.งานวิจยั ของธนภาส อยู่ใจเย็น (2553 : 255) พบว่า การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหวา่ ง บุคลากร โดยมีการ
แลกเปลย่ี นความคิดเห็น และประสบการณ์ความรู้ของตนเองต่อประเด็นปัญหาหรอื สถานการณ์ ตา่ ง ๆ สามารถ
นาเสนอวธิ กี ารแก้ไขปญั หาจากความร้แู ละประสบการณ์ของตนเอง บุคลากรในองค์กรมีการตดิ ต่อ สื่อสารและ
สามารถแสดงความคดิ เห็น สนทนา อภปิ รายระหว่างกนั ได้อย่างทว่ั ถึง ซึ่งสามารถสร้างความร้ใู หม่ จากการ
แลกเปลยี่ นทศั นคตกิ ารทางานระหวา่ งกัน นาไปใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงานเพอ่ื ใหบ้ รรลุเปา้ หมายตามท่ีต้ังไว้

4.งานวจิ ัยของสวุ รรณา วริ ิยะประยูร (2552 : 1-5) กลา่ ววา่ พฤตกิ รรมการแบง่ ปันแลกเปลี่ยนความรู้
นบั เป็นตัวแปรหรือปัจจยั สาคัญอยา่ งหนึ่งที่จะทาให้องค์กร มีฐานความรู้ท่ีมีคณุ คา่ และสามารถต่อยอดความรู้ให้
เพิม่

27

5.งานวิจยั ของสุริยงค์ วงศาพัฒนานนั ท์ (2557). ผลกระทบของการพัฒนาความรู้อย่างต่อเน่ืองทมี่ ี
ความสาเรจ็ ในการทางานของผู้สอบบัญชีภาษอี ากรในประเทศไทย. วิทยานพิ นธ์ บช.ม. มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม

ภาคผนวก ก เครอื่ งมือที่ใช้ในการวจิ ยั

28

ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู สว่ นบุคคล
คาช้ีแจง โปรดทาเครือ่ งหมาย ในช่อง () หน้าคาตอบที่ตรงกับความเปน็ จริง

1.เพศ

ชาย หญิง
2 .ช่วงอายุ

อาย1ุ 8-25 26-30 31-35
36-40 41-50
51-60
ปริญญาโท
3 .ระดับการศึกษา

มธั ยม ปรญิ ญาตรี
ปรญิ ญาเอก

ตอนท่ี 2 ข้อมลู และระดับความพงึ พอใจที่มีผลกระทบความเป็นเลศิ ในการเรยี นรู้อยา่ งต่อเน่ืองที่มประสทิ ธภิ าพ
การทางานของบุคลากรบริษัทซฟี ดู้

1ดา้ นคณุ ภาพของงาน (QLW)มีผลกระทบความเป็นเลิศในการเรยี นรู้อย่างต่อเนื่องท่ีมประสิทธิภาพการทางานของ
บุคลากรบริษัทซีฟู้ดมากน้อยเพยี งใด

มากท่สี ดุ

มาก

29

ปานกลาง
นอ้ ย
นอ้ ยที่

2.ด้านตน้ ทุนงาน(COW)มีผลกระทบความเปน็ เลศิ ในการเรียนรู้อย่างต่อเน่อื งทมี่ ประสทิ ธิภาพการทางานของ
บุคลากรบริษัทซฟี ู้ดมากน้อยเพยี งใด

มากทสี่ ดุ
มาก
ปานกลาง
นอ้ ย
นอ้ ยท่ี
3.ดา้ นปริมาณงาน(QTW)มีผลกระทบความเปน็ เลิศในการเรียนรอู้ ยา่ งต่อเนื่องทม่ี ประสิทธภิ าพการทางานของ
บคุ ลากรบริษัทซีฟู้ดมากน้อยเพียงใด
มากทส่ี ุด
มาก
ปานกลาง
นอ้ ย
น้อยที่
4.ด้านงานเสรจ็ ทันเวลา(TIM) )มีผลกระทบความเป็นเลศิ ในการเรียนรูอ้ ย่างตอ่ เนื่องท่ีมประสิทธิภาพการทางาน
ของบุคลากรบริษัทซีฟูด้ มากน้อยเพยี งใด
มากท่ีสุด

30

มาก
ปานกลาง
นอ้ ย
น้อยท่ี

ภาคผนวก ข

Statistics

sex old degree QLW COW QTW TIM sum
30 30 30 30 30 30
N Valid 5 5 30 30 5 5 5 5
Missing
1.77 1.00 55 4.73 4.63 4.50 3.3286
Mean .430 .000 2.00 4.67 .450 .490 .509 .13077
Std. Deviation .000 .479

Frequency Table

sex

Valid ชาย Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent
7 20.0 23.3 23.3
Missing หญงิ 65.7 76.7
Total 23 85.7 100.0
Total 30 14.3 100.0
System
5 100.0
35

31

old

Valid 18-25 Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent
Missing System 30 85.7 100.0 100.0
Total 5 14.3
35
100.0

degree

Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent
30 85.7
Valid ปรญิ ญาตรี 5 14.3 100.0 100.0
Missing 35
Total System 100.0

QLW

Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent
10 28.6
Valid ชาย 20 57.1 33.3 33.3
หญงิ 30 85.7
Missing 5 14.3 66.7 100.0
Total Total 35
System 100.0 100.0

32

COW

Valid ชาย Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent
หญิง 8 22.9 26.7 26.7
Missing 62.9 73.3 100.0
Total Total 22 85.7
System 30 14.3 100.0

5 100.0
35

QTW

Valid ชาย Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent
หญงิ 11 31.4 36.7 36.7
Missing 19 54.3 63.3 100.0
Total Total 30 85.7
System 5 14.3 100.0
35
100.0

TIM

Valid ชาย Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent
หญงิ 15 42.9 50.0 50.0
15 42.9 50.0 100.0

33

Total 30 85.7 100.0
System 5 14.3
Missing
Total 35 100.0

sum

Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent
7 20.0
Valid 3.14 9 25.7 23.3 23.3
3.29 34.3
Missing 3.43 12 5.7 30.0 53.3
Total 3.57 2 85.7
Total 14.3 40.0 93.3
System 30
5 100.0 6.7 100.0

35 100.0

Scale: ALL VARIABLES

Case Processing Summary %
N 85.7
14.3
Cases Valid 30
Excludeda 5 100.0

Total 35

34

a. Listwise deletion based on all variables in the procedure.

Scale: ALL VARIABLES

Reliability Statistics

Cronbach's Alphaa N of Items

-.218 7

a. The value is negative due to a negative average covariance among items. This violates
reliability model assumptions. You may want to check item codings.


Click to View FlipBook Version