The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มที่ 1 นาฏยศัพท์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kenika1977er, 2022-05-11 15:14:35

เล่มที่ 1 นาฏยศัพท์

เล่มที่ 1 นาฏยศัพท์



คำนำ

ชดุ ฝก ทักษะการปฏิบตั ทิ ารำ เร่ือง ลีลานาฏศลิ ปไ ทย จัดทำข้ึนเพอื่ ใชในการจัด
การเรยี นการสอน วชิ านาฏศิลป รหัสวิชา ศ15102 กลุมสาระการเรียนรศู ิลปะ ชน้ั
ประถมศึกษาปท ี่ 5 เน้อื หาในชดุ ฝกทกั ษะการปฏบิ ตั ทิ า รำ แบง ออกเปน 5 หนวย ดังนี้

หนวยที่ 1 นาฏยศพั ท
หนว ยที่ 2 ภาษาทา นาฏศิลป
หนว ยท่ี 3 รำวงมาตรฐาน “ดอกไมข องชาต”ิ
หนว ยที่ 4 เพลงฟอนเงย้ี ว
หนว ยที่ 5 นาฏศลิ ปส รางสรรค “มารชวดั ทองศาลางาม”
การใชช ดุ ฝก ทักษะการปฏิบัตทิ า รำ เรอ่ื ง ลีลานาฏศิลปไทย เลมน้ี จัดทำข้ึน
ภายใตแนวคิดการจดั การศกึ ษาท่เี นน ผเู รียนเปน สำคัญ ผเู รยี นสามารถเรยี นรจู ากชุดฝก
ทกั ษะการปฏบิ ตั ทิ ารำ ดวยตนเองไดท ้ังในเวลาเรียนและนอกหองเรียนโดยผานระบบ
ออนไลน เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐดา นการจัดการเรียนการสอนระบบออนไลน อีกท้งั
ยังเปนการสงเสริมใหผูเ รียนมีนิสัยรักการอานอกี ดวย
ผจู ัดทำหวังเปนอยางย่งิ วาชุดฝกทักษะการปฏิบตั ิทารำ เลมน้ี จะเปนประโยชน
สำหรับผเู รยี นในการเรยี นรเู ร่อื งนาฏศิลปไดเ ปนอยา งดี
ขอขอบคุณ ผูเ ชี่ยวชาญทกุ ทา นทีใ่ หคำแนะนำในการจัดทำชุดฝก ทักษะการ
ปฏิบัติทารำ เลม นจ้ี นสำเรจ็ ลลุ ว งดว ยดี

ศวิ ะนารถอดุ ม แกวอดุ ม
ผูจดั ทำ

ชุดฝก ทกั ษะการปฏบิ ัติทารำ : เลมท่ี 1 นาฏยศัพท



สารบญั

เร่อื ง หนา

คำนำ .................................................................................................................. ก
สารบัญ ............................................................................................................... ข
สารบัญภาพ ...................................................................................................... ง
คำชแี้ จงการใชชุดฝก ทักษะการปฏบิ ตั ทิ า รำ สำหรบั ครู...................................... จ
คำชี้แจงการใชชุดฝก ทักษะการปฏบิ ตั ิทา รำ สำหรบั นักเรยี น …........................ ฉ
สาระสำคญั .......................................................................................................... ช
แผนผังหนว ยการเรยี นรู เรื่อง นาฏศลิ ปถ่ินชลบุรี ………………............................ ซ
นาฏยศัพท ........................................................................................................ 1
มาตรฐานการเรยี นรู ......................................................................................... 1
ตวั ชี้วดั ................................................................................................................. 1
จดุ ประสงคการเรยี นรู....................................................................................... 1
แผนผังสาระการเรียนรูประจำหนว ย ................................................................. 2
แบบทดสอบกอ นเรยี น....................................................................................... 3
เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน .............................................................................. 5
นาฏยศัพท …………............................................................................................ 6

ความหมายของนาฏยศัพท ..................................................................... 6
ที่มาของนาฏยศัพท ................................................................................. 6
ประเภทของนาฏยศัพท ......................................................................... 8
ลกั ษณะของตวั ละครในการแสดงนาฏศิลปไ ทย ....................................... 9
การปฏิบัตทิ า นาฏยศัพท ......................................................................... 10

ชุดฝกทักษะการปฏิบัตทิ า รำ : เลมท่ี 1 นาฏยศัพท



สารบญั (ตอ )

เรือ่ ง หนา

นาฏยศพั ทใ นสวนของมอื ......................................................................... 10
นาฏยศพั ทในสว นของเทา ........................................................................ 22
นาฏยศัพทในสว นศรี ษะถึงลำตวั ............................................................. 28
สรปุ เน้ือหา .............................................................................................. 30
กจิ กรรมที่ 1 ............................................................................................ 31
เฉลยกิจกรรมท่ี 1 ................................................................................... 33
กิจกรรมที่ 2 ............................................................................................ 35
เฉลยกิจกรรมที่ 2 ................................................................................... 36
แบบทดสอบหลังเรยี น............................................................................... 37
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น....................................................................... 39
กระดาษคำตอบ...................................................................................... 40
บรรณานุกรม......................................................................................................... 41
ประวัติผจู ดั ทำ....................................................................................................... 42

ชุดฝก ทกั ษะการปฏิบัติทา รำ : เลม ที่ 1 นาฏยศัพท



สารบญั ภาพ

เรอื่ ง หนา

ภาพท่ี 1 ตง้ั วง …………………………………................................................... 10
ภาพที่ 2 วงบน ………..………………..………………............................................... 11
ภาพท่ี 3 วงกลาง....………..………………...................................................... 12
ภาพท่ี 4 วงลาง ………………..………………....................................................... 13
ภาพท่ี 5 จบี ……………………..……………....................................................... 14
ภาพท่ี 6 จีบหงาย ………….………………………….................................................... 15
ภาพท่ี 7 จบี คว่ำ …………………..……………..….................................................. 16
ภาพท่ี 8 จบี ควำ่ …..………………………………...................................................... 17
ภาพท่ี 9 จีบปรกหนา ……………………………………................................................ 18
ภาพที่ 10 จบี ปรกขา ง ……………………………………............................................. 19
ภาพท่ี 11 จีบสงหลัง …………………………………….............................................. 20
ภาพที่ 12 จบี ลอแกว /มอื ลอแกว/จบี นวิ้ กลาง ……........................................... 21
ภาพท่ี 13 ประเทา …………………………............................................................ 22
ภาพที่ 14 ยกเทา ……………..…………………...................................................... 23
ภาพท่ี 15 กระทงุ เทา .………….……………………................................................ 24
ภาพที่ 16 กระดกเทา ……………………………………….…….................................. 25
ภาพที่ 17 กา วหนา .……………………………........................................................ 26
ภาพที่ 18 กา วขาง .…………….…………………..................................................... 27
ภาพที่ 19 เอียงศรี ษะ …………………………………................................................ 28
ภาพที่ 20 ลักคอ ……………………….…………………............................................. 29

ชุดฝกทักษะการปฏบิ ตั ิทา รำ : เลมท่ี 1 นาฏยศัพท



คำชแี้ จงการใชช ดุ ฝก ทกั ษะการปฏบิ ัตทิ า รำสำหรับครู

1. ครแู นะนำวธิ ีใชช ุดฝกทักษะการปฏบิ ตั ทิ ารำ เรือ่ ง ลลี านาฏศิลปไทย
ใหนักเรยี นเขาใจกอ นนำไปใช

2. ครูคอยใหคำปรกึ ษาแกน ักเรยี นเม่อื มปี ญหาในระหวางเรียน
3. ชุดฝกทกั ษะการปฏิบัติทารำ เรอ่ื ง ลีลานาฏศลิ ปไ ทย เปนสื่อการเรยี นการสอน

ใชประกอบกับคูมือการใชชุดฝกทกั ษะการปฏิบตั ทิ ารำ เรอื่ ง ลลี านาฏศิลปไ ทย
4. กอนการศกึ ษาชดุ ฝก ทักษะการปฏบิ ัตทิ า รำ เร่อื ง ลลี านาฏศิลปไทย ใหน ักเรยี น

วัดความรพู น้ื ฐานโดยการทำแบบทดสอบกอนเรียน
5. ผเู รียนสามารถศึกษาคนควา ทำกจิ กรรมการเรียน และประเมนิ ผลดวยตนเอง
6. เมื่อศกึ ษาชดุ ฝกทกั ษะการปฏิบตั ทิ ารำ เรื่อง ลีลานาฏศลิ ปไทย เรียบรอ ยแลว

ใหนักเรยี นทำ แบบทดสอบหลังเรยี นประจำหนวย

ชดุ ฝก ทกั ษะการปฏิบตั ทิ ารำ : เลมท่ี 1 นาฏยศัพท



คำชีแ้ จงการใชช ดุ ฝกทกั ษะการปฏบิ ัตทิ ารำสำหรบั นักเรยี น

ชุดฝกทกั ษะการปฏบิ ัติทา รำ เรื่อง ลีลานาฏศิลปไทย สรางข้ึนเพอื่ ใหนกั เรยี นได
ศึกษาดว ยตนเอง โดยนักเรียนจะไดรับประโยชนจากชดุ ฝก ทักษะการปฏิบัติทา รำ ตาม
จุดประสงคทต่ี ้งั ไว ดวยการปฏบิ ัติตามคำแนะนำตอ ไปนี้
1. นกั เรยี นศกึ ษาจดุ ประสงคก ารเรียนรูกอ นลงมือศึกษาชุดฝกทกั ษะการปฏิบตั ทิ ารำ

เรอื่ ง ลลี านาฏศลิ ปไ ทย
2. ทำแบบทดสอบกอ นเรียนจำนวน 10 ขอ
3. นักเรียนศึกษาเน้อื หาตามลำดบั โดยไมตองรบี รอ น เมื่อเขาใจแลวใหท ำกิจกรรม

หรอื ตอบคำถามทกุ ขอ
4. เม่ือทำกิจกรรมเสร็จแลว จึงตรวจคำตอบจากเฉลยเพ่ือทราบผลไดท ันที หากตอบผดิ

ใหนกั เรียนกลับไปศกึ ษาเน้อื หาและตอบคำถามอีกครั้ง เม่ือตอบถูกแลวจึงศึกษา
เรื่องตอ ไป
5. นกั เรียนตองไมด ูเฉลยกอ นทำกจิ กรรม ตองมีความซื่อสัตยต อ ตนเอง
6. นักเรยี นตองศึกษาชดุ ฝกทกั ษะการปฏบิ ัติทารำนด้ี ว ยตนเอง หากมปี ญ หา หรือ
ขอ สงสยั ใหป รกึ ษาครผู ูสอน
7. ใหนกั เรยี นเขียนคำตอบลงในกระดาษคำตอบทีเ่ ตรยี มไว หามขีดเขยี นขอความ
ลงในชุดฝก ทกั ษะการปฏิบตั ิทารำ
8. เมอ่ื ศกึ ษาชุดฝก ทกั ษะการปฏบิ ตั ิทา รำ จบแลว ใหทำแบบทดสอบหลังเรยี น
จำนวน 10 ขอ
9. สรุปผลคะแนนทีไ่ ด เพ่อื ทราบผลการเรยี นและการพัฒนา
10. เวลาทีใ่ ชในการเรียนชุดฝกทกั ษะการปฏบิ ัติทา รำ ตามเวลาท่ีครกู ำหนด
หรอื ขึ้นอยกู ับความสามารถและความตง้ั ใจของนกั เรยี น
11. สง ชดุ ฝก ทักษะการปฏบิ ัติทารำ เร่ือง ลีลานาฏศิลปไทย และรักษาใหอ ยใู นสภาพทด่ี ี

ชดุ ฝก ทักษะการปฏบิ ัตทิ ารำ : เลมท่ี 1 นาฏยศัพท



สาระสำคญั

นาฏศิลปไ ทย เปนศิลปวัฒนธรรมการแสดงออกท่ีมีคณุ คา บง บอกถึง
ความเจริญรุงเรืองของชาติ อีกท้งั ยงั เปน การแสดงออกถึงขนบ ประเพณอี ันดีงามทีค่ นไทย
ไดอนรุ กั ษและสบื ทอดกันมาตราบนานเทานาน ความรเู ก่ียวกับนาฏศลิ ป การฝก ปฏบิ ตั ิ
นาฏยศัพท ภาษาทานาฏศลิ ป รำวงมาตรฐาน ระบำไก และการแสดงสรางสรรค
“หรรษาชลบุรี” จะทำใหผูเรียนเกิดความรกั และหวงแหนในวฒั นธรรม และเหน็ คณุ คา ของ
ความเปนนาฏศิลปไ ทย

ชุดฝกทักษะการปฏิบตั ิทารำ : เลมท่ี 1 นาฏยศัพท



แผนผังหนว ยการเรยี นรู เรอ่ื ง ลลี านาฏศลิ ปไ ทย

นาฏศิลปส รางสรรค นาฏยศัพท
"มารชวัดทองศาลางาม"

ลลี านาฏศิลปไ ทย ภาษาทานาฏศิลป

ฟอนเงีย้ ว ราํ วงมาตรฐาน
"เพลงดอกไมข องชาต"ิ

ชุดฝก ทกั ษะการปฏบิ ัติทารำ : เลม ท่ี 1 นาฏยศัพท

1

มาตรฐานการเรยี นรู ศ 3.1
เขาใจและแสดงออกทางนาฏศิลปอ ยา งสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณ

คุณคานาฏศิลป ถายทอดความรูส ึก ความคิดอยา งอิสระ ชื่นชมและประยกุ ตใ ช
ในชีวิตประจำวัน
ตวั ช้ีวดั

การแสดงนาฏศิลปและละครงายๆ (ศ 3.1 ป.6/3)
จุดประสงคก ารเรียนรู

1. อธิบายความหมายของนาฏยศัพทได (K)
2. ปฏิบัตทิ ารำนาฏยศพั ทได (P)
3. ตระหนักและเหน็ คณุ คา ในศลิ ปวฒั นธรรมไทย (A)

ชุดฝกทกั ษะการปฏิบัตทิ ารำ : เลมท่ี 1 นาฏยศัพท

2

แผนผงั สาระการเรยี นรปู ระจำหนวย

นาฏยศพั ท

ความหมายของคำวา นาฏยศัพท
ลักษณะของนาฏยศพั ท

นาฏยศพั ทใ นสวนของมอื นาฏยศัพทใ นสว นของเทา

ตงั้ วง จบี ก้าวเท้า ยกเท้า กระดกเท้า

นาฏยศพั ทต้งั แตศีรษะถึงลำตวั

เอยี งศรี ษะ ลกั คอ

ชดุ ฝกทกั ษะการปฏิบตั ทิ า รำ : เลม ท่ี 1 นาฏยศัพท

3

แบบทดสอบกอนเรยี น

คำชแ้ี จง จงทำเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคำตอบในขอท่ถี กู ตอ งที่สุด

เพยี งหนึ่งขอ

1. คำวา "นาฏยศัพท" เริม่ นำมาใชใ นวงการนาฏศิลปไทยสมยั ใด

ก. ธนบุรี ข. สโุ ขทัย

ค. อยธุ ยา ง. รัตนโกสินทร

2. “ลกั ษณะการกดไหลขวา เอียงศรี ษะทางซาย” เปนลักษณะ

ของนาฏยศัพทขอ ใด

ก. กดตวั ข. ลักคอ

ค. เอียงศรี ษะ ง. ยอ ตัว

3. กรมศลิ ปากรไดฟ น ฟกู ารศึกษาวิชานาฏศิลปต ามแบบแผนการแสดงขนึ้ ใหม

ตรงกบั รชั กาลใด

ก. รัชกาลท่ี 1 ข. รัชกาลที่ 2

ค. รชั กาลท่ี 4 ง. รชั กาลที่ 6

4. นาฏยศัพทในสวนของเทาคือขอ ใด

ก. ต้ังมอื สง หลัง ข. วงลาง จีบ

ค. กระทงุ กระดก ง. จบี ลอ แกว กระทงุ

5. ลกั ษณะของการแสดงนาฏศิลปไ ทยแบงผแู สดงออกตามขอใด

ก. นางเอก พระเอก ข. ตัวเอก ตวั ตลก

ค. ตวั พระ ตัวนาง ง. มนุษย ยกั ษ ลงิ

ชุดฝกทักษะการปฏิบัตทิ า รำ : เลม ที่ 1 นาฏยศัพท

4

6. “การตัง้ วง” ขอใดไมถกู ตอ ง

ก. ฝา มอื หนั ออกนอกตัว

ข. ต้ังลำแขนโคงเปนครึ่งวง

ค. นวิ้ หวั แมมือจรดขอ แรกของนิ้วชี้

ง. นว้ิ ชี้ กลาง นาง กอย เรยี งชิดติดกัน

7. “วงบนนาง” ปลายนิ้วควรอยูใ นระดับใด

ก. ปาก ข. หางค้วิ

ค. แงศีรษะ ง. ชายพก

8. คำศัพททใ่ี ชเรียกทารำท่ไี มถ กู ตอง เชน คอด่มื วงลน จดั เปน คำศัพทใ นขอใด

ก. ศัพทเ สื่อม ข. ศัพทเ สริม

ค. ศัพทเบ็ดเตล็ด ง. นามศัพท

9. จากภาพแสดงถึงนาฏยศัพทในขอใด

ก. เปด ขา

ข. เดย่ี วเทา

ค. กา วเทา

ง. กาวขา ง

10. ขอ ใดไมใ ชนาฏยศพั ทที่ แบง ตามการเคล่อื นไหว ของรางกาย

ก. นาฏยศัพทในสวนของมือ

ข. นาฏยศพั ทตัง้ แตศีรษะถึงลำตัว

ค. นาฏยศัพทใ นสวนของเอว

ง. นาฏยศัพทใ นสว นของเทา

ชดุ ฝก ทกั ษะการปฏบิ ตั ิทารำ : เลม ที่ 1 นาฏยศัพท

5

เฉลยแบบทดสอบกอ นเรยี น

1. ง 6. ค
2. ข 7. ข
3. ง 8. ก
4. ค 9. ง
5. ค 10. ค

ชุดฝกทกั ษะการปฏิบตั ทิ า รำ : เลมท่ี 1 นาฏยศัพท

6

นาฏยศัพท

ความหมายของ “นาฏยศพั ท”

นาฏยศพั ท หมายถึง คำเฉพาะท่ใี ชเ รียกช่อื การปฏบิ ัติทา รำเพือ่ สอ่ื ความหมายให
รบั รแู ละเขาใจตรงกนั ระหวางครูผสู อนกับผูเ รียน

“นาฏยศพั ท” มคี วามสำคัญในการใชส ื่อความหมายเรยี กชื่อลีลาการเคล่ือนไหว
ในการรำที่มีมาชานาน เริ่มตง้ั แตก ำเนดิ นาฏศิลปไทยเปนตน มา เปน การส่อื ความหมาย
ระหวางผสู อนกับผูเรียน จำแนกแตกตางกนั ไปตามประเภทและโอกาสที่นำไปใช เชน จีบ
วง ต้ังมอื ประเทา กระทงุ เทา ฯลฯ

ประโยชนและคณุ คาของนาฏยศพั ท
1. สือ่ ความหมายใหร ับรแู ละเขา ใจตรงกันระหวา งผสู อนและผูเรียน
2. ประหยัดเวลาในการสือ่ ความหมาย
3. เปน พื้นฐานความรูในการฝก หัดนาฏศิลป
4. เสริมสรางลลี าทารำใหถ ูกตองและประณีตงดงาม
5. นำไปใชในการสรา งสรรคทารำประกอบเพลง

ชดุ ฝกทักษะการปฏบิ ัตทิ ารำ : เลมที่ 1 นาฏยศัพท

7

นาฏยศัพทในการเรยี นการสอน

นาฏยศพั ททใ่ี ชใ นการเรยี นการสอนเพอ่ื ใหร พู นื้ ฐานแรกเรมิ่ ในการฝก หดั เกีย่ วกับ
การใชร า งกายแตล ะสว น จำแนกเปน 3 ลกั ษณะ คือ (วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปะ. 2552 : 2-3)

1. นาฏยศัพทเ บื้องตน ใชในการวางพน้ื ฐานแรกเร่ิมฝก หัด ไดแ ก ดัดมือ ตบ
เขา ถองสะเอว เปน ตน

2. นาฏยศัพทข ั้นพืน้ ฐาน ใชส่ือความหมายเกีย่ วกบั รา งกายสว นตา งๆ ใน
การปฏิบตั ิลลี า ทา รำ แบง ออกเปน

2.1 ลกั ษณะทา นิ่ง เชน ตั้งมอื ต้ังวง จบี ควำ่ จีบหงาย กาวหนา กาว
ขา ง กระดกเทา เปน ตน

2.2 ลักษณะทา เคลื่อนไหว เปน ลลี าเช่ือมทา รำใหอ อ นไหวงดงาม เชน สอด
จีบ หยิบจบี แทงมอื วาดแขน สายแขน ประเทา แตะเทา กระทุงเทา เปนตน

2.3 คำเรียกที่ใชแ กไ ขขอบกพรอ ง ใชสอื่ ความหมายเม่อื ผูเรยี นปฏิบัติทารำ
ไมถูกตอง ไมไดสัดสวน ไมสวยงาม เชน กด(กดคาง กดไหล ) เปด (เปดคาง) ทับ(ทบั หนา
ขา) กนั (กันวง กนั เขา ) เปนตน

3. นาฏยศพั ทชนั้ สูง ใชในการรำเพลงหนาพาทย ไดแก ฉะ ยักเย้อื ง เปน ตน

ชดุ ฝกทกั ษะการปฏิบตั ทิ ารำ : เลม ท่ี 1 นาฏยศัพท

8

ลักษณะของตัวละครในการแสดงนาฏศลิ ปไทย
การแสดงนาฏศิลปไทยแบงตวั ละครออกเปน 2 ลกั ษณะ คอื
ตัวพระ แทนตวั แสดงทร่ี ำเปนเทวดาหรือมนุษยผูชาย
ตัวนาง แทนตวั แสดงที่รำเปนนางฟาหรอื มนษุ ยผ ูหญงิ
ตวั ละครทัง้ ตัวพระและตัวนางสามารถฝก ไดทงั้ ผูหญงิ และผูชาย โดยแยกตาม
โอกาสและลกั ษณะของการแสดงนนั้ ๆ
ยกตวั อยา งเชน

1. ละครใน ในการฝก หดั ละครในนยิ มใชผหู ญงิ แสดงลว น ท้ังในลกั ษณะของ
ตวั พระและตวั นาง

ภาพที่ 1 การแสดงละครใน เร่อื ง อิเหนา ตอน อเิ หนาสั่งถ้ำ
ทม่ี า : https://www.youtube.com/watch?v=ZF2Af1wnQ5A

QR Code การแสดงละครใน เรอ่ื ง อิเหนา ตอน อเิ หนาสั่งถ้ำ

ชุดฝก ทกั ษะการปฏิบัตทิ ารำ : เลม ที่ 1 นาฏยศัพท

9
2. ละครนอก ในการฝก หัดละครนอกนยิ มใชผหู ญงิ ชายลว น ทง้ั ในลกั ษณะ
ของตวั พระและตวั นาง

ภาพที่ 2 ละครนอก แกว หนา มา ตอน ถวายลูก-ถอดรปู
ท่ีมา : https://www.youtube.com/watch?v=xtLP5fgtnE8

QR Code ละครนอก แกวหนามา ตอน ถวายลูก-ถอดรูป

ชุดฝก ทกั ษะการปฏบิ ัติทา รำ : เลม ที่ 1 นาฏยศัพท

10
การปฏบิ ตั ิทา นาฏยศพั ท
นาฏยศพั ทใ นสว นของมอื

วง คือ ลักษณะของการเรยี งนิ้วท้งั สี่ ชดิ ติดกนั เกบ็ น้วิ หวั แมมอื งอเขา หาฝามอื

เล็กนอย ต้งั ขอมือข้ึน ลำแขนอยใู นลกั ษณะโคง ลักษณะวงแบงออกเปน 4 ระดับ คือ
วงบน วงกลาง วงลาง และ วงหนา

ภาพท่ี 1 การตงั้ วง
ท่ีมา : ศวิ ะนารถอุดม แกวอดุ ม (2563)

ชุดฝกทกั ษะการปฏบิ ตั ิทา รำ : เลมที่ 1 นาฏยศัพท

11

วงบน
วงบน คือ ลกั ษณะของการตงั้ ลำแขนเปนสวนโคง อยขู า งศีรษะ นวิ้ ทง้ั สีเ่ รยี งชิด

ติดกัน งอนิ้วหัวแมม อื เขาหาฝามือ หกั ขอ มอื เขา หาลำแขน หนั หลังมอื เขา หาศีรษะ
ลักษณะวงบนของตวั พระและตัวนางจะแตกตางกัน

ภาพที่ 2 วงบน
ท่ีมา : ศวิ ะนารถอุดม แกวอุดม (2563)

อธบิ ายทารำ

ตวั พระ การตง้ั วงบนของตวั พระ ปลายนว้ิ สงู ระดบั แงศรี ษะ และสว นโคง

ของแขนจะกวา งกวา วงของตัวนาง

ตวั นาง การต้งั วงบนของตวั นาง ปลายน้ิวสูงระดับหางค้วิ และสวนโคงของแขน

จะแคบกวาวงของตัวพระ

ชดุ ฝกทกั ษะการปฏบิ ัตทิ ารำ : เลมที่ 1 นาฏยศัพท

12

วงกลาง
วงกลาง คอื ลักษณะของการต้ังลำแขนเปน สว นโคง อยูระหวางวงบนและ

วงลา ง ตั้งขอมอื ขน้ึ นว้ิ ทัง้ ส่ีเรียงชิดตดิ กนั นิ้วหัวแมมอื หกั เขา หาฝา มอื ใหปลายนว้ิ
ทง้ั สองขางอยูระดับหวั ไหล ลกั ษณะวงกลางของตัวพระและตัวนางจะแตกตา งกัน

ตวั นาง ตวั พระ

ภาพท่ี 3 วงกลาง
ท่มี า : ศิวะนารถอุดม แกวอุดม (2563)

อธิบายทารำ
ตัวพระ สวนโคงของแขนจะกวา งกวาวงของตวั นาง

ตัวนาง สว นโคงของแขนจะแคบกวาวงของตวั พระ

ชุดฝกทกั ษะการปฏิบัติทา รำ : เลมที่ 1 นาฏยศัพท

13

วงลาง
วงลาง คอื ลักษณะของการต้ังวงใหป ลายนิ้วทงั้ ส่เี รียงชิดติดกนั อยใู นระดบั หวั

เขม็ ขดั หรอื ระดับเอว นิ้วหวั แมม อื เก็บเขา หาฝา มอื เลก็ นอย พรอ มทง้ั หกั ขอ มอื เขา หาลำ
แขนโดยใหส ว นโคงของลำแขนทอดโคงลงเบื้องลา งหางจากลำตวั เพียงเลก็ นอย ลักษณะวง
ลางของตวั พระและตวั นางจะแตกตางกัน

ตวั นาง ตัวพระ

ภาพท่ี 4 วงลาง
ทม่ี า : ศวิ ะนารถอุดม แกวอดุ ม (2563)

อธิบายทารำ
ตัวพระ - การตั้งวงลางของตัวพระ จะกันศอกและเปดมอื ออกกวา งกวาตวั นาง
ตวั นาง - การตั้งวงลางของตวั นาง ชองระหวา งขอ พบั แขนกบั เอวแคบกวา
วงของตัวพระ

ชดุ ฝกทกั ษะการปฏิบตั ิทารำ : เลม ท่ี 1 นาฏยศัพท

14

วงหนา
วงหนา คือ การยกลำแขนใหโคง ไดร ูป ดา นหนา ของลำตวั

ตวั นาง ตวั พระ

ภาพท่ี 5 วงหนา
ทมี่ า : ศิวะนารถอุดม แกวอุดม (2563)

อธบิ ายทา รำ
ตวั พระ - ตั้งวงอยูดา นหนา ระดับปาก โคงลำแขนมาขางหนา
กนั ขอศอกใหว งกวางกวาตวั นาง
ตัวนาง - ต้ังวงอยูดานหนา ระดับปาก โคงลำแขนมาขางหนา

ชดุ ฝก ทกั ษะการปฏบิ ัติทา รำ : เลม ท่ี 1 นาฏยศัพท

15

จบี เปน การใชน้วิ หัวแมม อื กับน้วิ ชี้มาจรดเขาหากัน ดวยการใชป ลายนว้ิ หัวแมมอื

จรดกบั ขอแรกของน้วิ ชี้ โดยนบั จากปลายน้ิวลงมา สวนนว้ิ กลาง น้วิ นาง นิ้วกอย กรดี ตึง
ออกไปคลายรูปพดั นิว้ หัวแมม ือควรงอเล็กนอ ยแตพ องาม การจบี มีหลกั อยวู า จะตอ งหกั
เขาหาลำแขนเสมอ โดยหักเขา ดานฝามอื จีบมี 2 ลกั ษณะ ไดแก จบี หงาย จบี คว่ำ

ภาพที่ 6 จบี
ทีม่ า : ศิวะนารถอุดม แกวอุดม (2563)

ชดุ ฝกทักษะการปฏบิ ตั ิทา รำ : เลม ท่ี 1 นาฏยศัพท

16

จีบหงาย

ตวั นาง ตัวพระ

ภาพที่ 7 จีบหงาย
ที่มา : ศิวะนารถอุดม แกวอดุ ม (2563)

อธิบายทา รำ
จบี หงาย คือ การใชน ว้ิ หัวแมมอื จรดขอ แรกของนิ้วชี้ นิ้วที่เหลอื กรดี ออกคลายรปู พัด

หกั ขอมือเขา หาทอ งแขน คว่ำฝามอื ใหป ลายน้ิวชี้ลง ปฏิบัติเหมือนกันท้ังตัวพระและ
ตัวนาง

ชดุ ฝกทกั ษะการปฏบิ ัติทารำ : เลมท่ี 1 นาฏยศัพท

17
จบี คว่ำ

ตวั นาง ตัวพระ

ภาพที่ 8 จีบคว่ำ
ที่มา : ศิวะนารถอุดม แกวอดุ ม (2563)

อธิบายทา รำ
จีบคว่ำ คอื การใชน้ิวหัวแมม ือจรดขอแรกของนวิ้ ชี้ นิ้วทเ่ี หลือกรีดออกคลายรูปพดั

หักขอมอื เขา หาทองแขน คว่ำฝามือใหปลายนิ้วชล้ี ง ปฏิบัติเหมือนกนั ทั้งตัวพระและ
ตัวนาง

ชดุ ฝกทกั ษะการปฏิบตั ทิ ารำ : เลม ที่ 1 นาฏยศัพท

18

กริ ยิ าการจีบ ท้งั สองแบบน้ี เม่อื นำไปใชใ นทา รำก็จะไดสัดสวนทตี่ า งแบบกันไป
จนเกิดเรียกเปน นาฏยศัพทแผลงไปตามความเขา ใจ นึกคิดของแตละบุคคล เชน

จีบปรกหนา

ตวั นาง ตวั พระ

ภาพที่ 9 จบี ปรกหนา
ท่ีมา : ศิวะนารถอุดม แกวอุดม (2563)

อธิบายทา รำ

จีบปรกหนา คือ กรีดนิ้วมอื ใหนวิ้ หวั แมมอื จรดขอแรกของน้ิวช้ี กรีดน้ิวท้ัง 3 ออกไปให
ตงึ หกั ขอมือเขา หาทอ งแขน หนั จีบเขาหาใบหนาระดับหนาผาก

ชุดฝก ทกั ษะการปฏบิ ตั ทิ ารำ : เลมที่ 1 นาฏยศัพท

19

จบี ปรกขาง

ตวั นาง ตวั พระ

ภาพท่ี 10 จบี ปรกขาง
ท่ีมา : ศิวะนารถอุดม แกวอุดม (2563)

อธบิ ายทารำ

จบี ปรกขา ง คือ กรดี นว้ิ มอื ใหนิว้ หวั แมม ือจรดขอแรกของนวิ้ ช้ี กรดี นิ้วทง้ั 3 ออกไป
ใหต ึง หกั ขอ มอื เขาหาทอ งแขน หนั จีบเขาหาแงศ รี ษะ

ชุดฝก ทกั ษะการปฏบิ ตั ทิ า รำ : เลม ท่ี 1 นาฏยศัพท

20

จีบสง หลงั

ตวั นาง ตัวพระ

ภาพท่ี 11 จีบสงหลงั
ทมี่ า : ศิวะนารถอุดม แกวอดุ ม (2563)

อธิบายทารำ
จบี สง หลัง คือ ใชนว้ิ หัวแมมอื จรดขอแรกของนิว้ ชี้ นว้ิ ที่เหลอื กรดี ออก

คลา ยรปู พดั หกั ขอ มือเขา หาทองแขน สง แขนไปขางหลงั ตงึ แขนพลกิ ขอ มือ
ใหป ลายนิ้วชีข้ ้นึ แขนตงึ และสงแขนใหส ูงไปดา นหลัง

ชดุ ฝกทักษะการปฏบิ ัตทิ า รำ : เลม ที่ 1 นาฏยศัพท

21

มือลอ แกว / จบี น้ิวกลาง/จีบลอ แกว

ตัวนาง ตวั พระ

อธบิ ายทารำ
มือลอ แกว / จบี นว้ิ กลาง / จบี ลอแกว คือ ลักษณะกริ ิยาทาทาง คลายจบี

แตใ ชนิว้ หวั แมม ือกดขอแรกของน้วิ กลาง ดนั ปลายนว้ิ ใหมีลักษณะคลายวงแหวน นิ้วที่
เหลือกรดี ตึง

สามารถปฏบิ ตั ิไดทง้ั การหกั ขอมือเขา หาลำแขนเชน เดยี วกบั การจีบทัว่ ไป
และการตัง้ ขอมือเหมอื นลักษณะการต้งั วง ปฏิบตั เิ หมอื นกันท้งั ตัวพระและตวั นาง

ชดุ ฝกทกั ษะการปฏบิ ัติทา รำ : เลม ที่ 1 นาฏยศัพท

22

นาฏยศัพทใ นสว นของเทา

ประเทา
ประเทา คอื ลกั ษณะการยนื เตม็ เทาขางใดขา งหนึ่งเพื่อเปน หลกั เทา ที่จะประ
ใหวางเหลื่อมไปขา งหนา เลก็ นอย เชิดปลายนวิ้ เทาขึ้นทุกนวิ้ โดยสนเทา ตดิ พืน้ และ
ประจมูกเทาลงกับพน้ื เบาๆ แลวยกเทาขึน้ การประเทา จะตองยอเขาหรือหม เขา
กอ นทุกครั้ง ลกั ษณะการประเทา ของตวั พระและตัวนางจะแตกตา งกัน

ตวั นาง ตวั พระ

ภาพที่ 13 ประเทา
ทม่ี า : ศิวะนารถอุดม แกวอุดม (2563)

อธิบายทา รำ

ตัวพระ กนั เขา ทัง้ สองขาง วางสน เทา ทป่ี ระอยูกลางฝา เทา อีกขาง เปด ปลายเทา
ตวั นาง หนบี เขา วางสนเทา ทป่ี ระอยกู ลางฝา เทา อีกขา ง ปลายเทา ทปี่ ระชีไ้ ป
ขา งหนา

หมายเหตุ จมูกเทา หมายถึง กอนเน้อื บรเิ วณโคนนว้ิ

ชุดฝกทกั ษะการปฏิบตั ิทา รำ : เลม ท่ี 1 นาฏยศัพท

23

ยกเทา
ยกเทา คอื กิรยิ าของเทา ที่สืบเนอ่ื งมาจากการประเทา ลกั ษณะของเทาทยี่ กจะ

แตกตางกนั ระหวางตวั พระและตัวนาง

ตวั นาง ตวั พระ

ภาพท่ี 14 ยกเทา
ที่มา : ศิวะนารถอุดม แกวอดุ ม (2563)

อธิบายทา รำ
ตวั พระ ยกเทาใดเทา หนึ่งใหข อเทา อยรู ะดับครึ่งนอ งของเทาทยี่ ืนอยู เทาท่ยี ก

กันเขา ออกไปดา นขาง เชิดปลายเทาใหต ึง หักขอเทา สว นเทา ทย่ี นื ใหย อ เขาลงและกันเขา
ตวั นาง ยกเทาใดเทาหน่ึงใหข อเทา อยรู ะดบั ครง่ึ นอ งของเทา ทย่ี นื อยู หนีบขา

สงเขา ไปขา งหนา หักขอ เทา เชิดปลายเทาใหต งึ สว นเทา ที่ยนื ใหยอ เขา ลง

ชุดฝก ทักษะการปฏิบตั ทิ า รำ : เลม ที่ 1 นาฏยศัพท

24

กระทงุ เทา

ตัวนาง ตัวพระ

ภาพท่ี 15 กระทงุ เทา
ทม่ี า : ศวิ ะนารถอุดม แกวอดุ ม (2563)

อธิบายทา รำ
กระทงุ เทา คอื การใชจมูกเทาหลงั แตะพ้ืนหรือกระแทกพื้นเบาๆ แลวยกขน้ึ

เชนกระทุงเทา ขวาตองกา วเทา ซา ยไปขางหนา น้ำหนกั ตัวอยูท่เี ทาซาย ใชจมกู เทาหลังแตะพืน้
หรือกระทบพ้นื เบาๆ แลว ยกขึ้น

ชุดฝกทักษะการปฏิบัตทิ า รำ : เลม ที่ 1 นาฏยศัพท

25

กระดกเทา

ตวั นาง ตวั พระ

ภาพที่ 16 กระดกเทา
ที่มา : ศิวะนารถอุดม แกวอุดม (2563)

อธบิ ายทารำ

กระดกเทา คอื การยกเทาขางหนงึ่ ไปขางหลงั มกั ปฏบิ ตั ิตอ เนอื่ งจากการกระทงุ เทา

โดยการยืนดวยเทา ขา งใดขางหนึ่ง ปลายเทา เฉียงออกดานขางเลก็ นอ ย ยอ เขาลงขาอกี ขา งหนง่ึ
ยกขนึ้ หนบี นอง

ตวั พระ - เมอ่ื กระทุงเทา แลว ใหกระดกเทา หรือยกเทา หนบี นอง สงเขา ท่กี ระดก

ไปขางหลังกนั เขา หักขอ เทาปลายเทาช้ีลงพน้ื น้ำหนังตวั อยบู นเทาที่ยืน
บงั คับตัวใหต รง

ตวั นาง - เมื่อกระทงุ เทาแลวใหก ระดกเทาหรอื ยกเทา หนบี นอ ง สง เขา ทก่ี ระดก

ไปขางหลงั หกั ขอเทาปลายเทาชี้ลงพ้ืน นำ้ หนังตวั อยูบนเทา ท่ียืน
บงั คับตัวใหต รง

ชดุ ฝก ทักษะการปฏิบตั ทิ า รำ : เลมที่ 1 นาฏยศัพท

26

กาวหนา
กา วหนา คอื การกาวเทา ไปขางหนา ใหป ลายเทา เฉยี งไปดานขางพอประมาณ

โดยการวางสน เทา ลงกอนแลวเหยยี บเต็มเทา ในลกั ษณะยอ ตัวงอเขา น้ำหนงั ตัวอยทู เี่ ขา
เทาหนา เปด สน เทา หลัง สน เทา หนาใหต รงกบั หัวแมเทาหลัง หางกนั ประมาณ 1 คืบ

ตัวนาง (ดา นขาง) ตัวพระ

ตวั นาง (ดานหนา) ตัวพระ

อธบิ ายทา รำ ภาพที่ 17 กา วหนา
ท่มี า : ศวิ ะนารถอุดม แกวอดุ ม (2563)

ตวั พระ - กาวเทา ไปขา งหนา ใหป ลายเทาเฉยี งไปดา นขา งพอประมาณ โดยการ
วางสน เทาลงกอนแลว เหยียบเตม็ เทา ในลักษณะยอ ตัวงอเขา น้ำหนังตัวอยทู เี่ ทา หนา
เปดสนเทา หลัง กันเขา ทัง้ สองออก

ตวั นาง - กา วเทาไปขา งหนา ใหป ลายเทา เฉียงไปดา นขางพอประมาณ โดยการ
วางสน เทาลงกอ นแลวเหยียบเต็มเทา ในลกั ษณะยอตวั งอเขา นำ้ หนังตัวอยูที่เทาหนา

เปด สน เทาหลัง ไมกนั เขา

ชุดฝกทักษะการปฏิบัตทิ า รำ : เลม ที่ 1 นาฏยศัพท

27

กา วขา ง

กาวขาง คอื การกาวเทาขางใดขางหนึ่งไปดานขาง วางลงกับพ้ืน โดยใหสน เทา
วางกอ นแลวจงึ วางเตม็ เทา โดยเทา ท่กี าวลงไปใหส น เทา ตรงกับนิ้วเทา ที่ยนื ในลกั ษณะเปน
เสน ตรงดานขาง หางกนั ประมาณ 1 คบื แลวยอเขาทง้ั สองลง ท้ิงนำ้ หนกั อยูกับเทา ที่กาว
ลักษณะการกาวขางของตัวพระและตัวนางจะแตกตา งกัน คือ

ตวั นาง ตัวพระ

ภาพที่ 18 กา วขาง
ทม่ี า : ศิวะนารถอุดม แกวอุดม (2563)

อธิบายทารำ

ตวั พระ - เม่อื กา วเทา จะกันเขาใหไ ดเ หลยี่ มสวยงาม ไมเปดสนเทา
ตัวนาง - ยอเขา บิดเทา หลัง หลบเขา เปดสนเทา หลัง

ชดุ ฝก ทักษะการปฏบิ ตั ทิ ารำ : เลม ท่ี 1 นาฏยศัพท

28

นาฏยศพั ทในสว นศรี ษะถงึ ลำตวั
เอียงศรี ษะ

ตวั นาง ตวั พระ

ภาพที่ 19 เอยี งศรี ษะ
ทีม่ า : ศิวะนารถอุดม แกวอุดม

อธบิ ายทา รำ

เอยี งศีรษะ คือ การเอียงศรี ษะใดขางหนึ่ง ซึ่งจะตอ งทำพรอมกบั การกดไหลและเอวไป

ดว ย เชน เอยี งศีรษะดานขวา ตอ งกดไหลแ ละกดเอวดานขวา ไปพรอมๆ กนั

ชุดฝก ทกั ษะการปฏิบตั ิทารำ : เลมที่ 1 นาฏยศัพท

29

ลกั คอ

ตัวนาง ตวั พระ

ภาพที่ 20 ลักคอ
ทีม่ า : ศวิ ะนารถอุดม แกวอดุ ม (2563)

อธิบายทา รำ
ลักคอ คอื การปฏบิ ัติของศีรษะกบั ไหลจะไปในทิศทางท่ีตรงกนั ขาม เชน ลกั คอซาย

ใหเ อยี งศีรษะไปทางซา ยแตก ดไหลขวาลง ถา ลักคอขวาใหเ อยี งศีรษะไปทางขวา แตกดไหลซา ยลง

ชดุ ฝก ทักษะการปฏบิ ตั ิทา รำ : เลมที่ 1 นาฏยศัพท

30

สรุปเน้อื หา

นาฏยศัพท หมายถงึ คำเฉพาะทใ่ี ชเรียกช่อื ทา รำเพือ่ สอ่ื ความหมาย
ใหรับรใู นการแสดงนาฏศลิ ปไ ทย และใชสอ่ื ความหมายใหร บั รแู ละเขา ใจ
ตรงกันระหวา งครผู ูสอนกบั ผูเ รยี น แบงออกเปน 3 ประเภท คือ
นามศพั ท กริ ยิ าศัพท นาฏยศพั ทเ บ็ดเตลด็

ลกั ษณะตางๆ ของนาฏยศพั ทท ใี่ ชโ ดยทวั่ ไปแบง ตามการเคลอื่ นไหว
สวนตา งๆ ของรา งกาย ไดแก นาฏยศัพท ในสว นของมือ นาฏยศพั ทใ นสวน
ของเทา และนาฏยศัพทต ้ังแตศรี ษะถงึ ลำตัว

ชุดฝกทกั ษะการปฏบิ ัติทา รำ : เลม ท่ี 1 นาฏยศัพท

31

กิจกรรมท่ี 1

ชอ่ื ........................................................................................ชน้ั ..........เลขที.่ ..............
คำส่ัง จงบอกทานาฏยศัพทพ รอมทง้ั อธบิ ายทา รำใหถ ูกตอง

รูปภาพ ทานาฏยศัพท อธบิ ายทา
1. ....................................
....................................

……………….. ....................................
....................................
....................................
....................................
....................................

2. ....................................
....................................

……………….. ....................................
....................................
....................................
....................................
....................................

ชดุ ฝกทกั ษะการปฏบิ ตั ิทา รำ : เลมที่ 1 นาฏยศัพท

32

รูปภาพ ทา นาฏยศพั ท อธิบายทา
3.
....................................
4.
....................................
5. …………………… ....................................

....................................

....................................

....................................

....................................

....................................

....................................
…………………… ....................................

....................................

....................................

....................................

....................................

....................................

....................................
…………………… ....................................

....................................

....................................

....................................

....................................

ชุดฝกทักษะการปฏิบตั ิทา รำ : เลม ท่ี 1 นาฏยศัพท

33

เฉลยกจิ กรรมที่ 1

ชอื่ ........................................................................................ชนั้ ..........เลขท.่ี ..............

คำส่ัง จงบอกทานาฏยศัพทพรอมท้ังอธบิ ายทา รำใหถ กู ตอง

รปู ภาพ ทา นาฏยศพั ท อธบิ ายทา
1.
การกาวเทา ไปขา งหนา
2.
กาวเทา . ใหปลายเทาเฉียงไป

ดา นขางพอประมาณ

โดยการวางสนเทา ลง

กอ นแลว เหยยี บเต็มเทา

ในลกั ษณะยอ ตัวงอเขา

นำ้ หนังตวั อยทู เ่ี ขา เทา

หนา เปด สนเทาหลงั

สนเทา หนา ใหตรงกบั หวั

แมเ ทา หลัง หางกัน

ประมาณ 1 คบื

ลักษณะของการยกเทา

กระดกเทา . ไปขางหลัง กระดกข้นึ

สงเขาใหส งู พรอมท้ัง

หนบี นองเขาหาโคนขา

ยอเขานำ้ หนักอยูเทาทย่ี ืน

ชุดฝกทกั ษะการปฏบิ ัติทา รำ : เลมท่ี 1 นาฏยศัพท

34

รูปภาพ ทา นาฏยศพั ท อธิบายทา
3.
ใชน ิ้วหวั แมมอื จรด
4.
จีบคว่ำ . ขอแรกของน้ิวช้ี น้วิ ที่
5.
เหลอื กรดี ออก คลาย

รปู พดั หักขอมอื เขา หา

ทองแขน คว่ำฝามอื

ใหปลายนว้ิ ชี้ลง

จบี หงาย . ใชน วิ้ หวั แมมอื จรด
ขอ แรกของนิ้วช้ี นวิ้ ที่
เหลือกรดี ออก คลาย
รปู พัด หกั ขอ มือเขา หา
ทอ งแขน หงายฝามือ
ใหป ลายนว้ิ ชีข้ ้ึน

มือลอ แกว . ใชน ว้ิ หัวแมมือกดขอ
จบี นวิ้ กลาง แรกของนว้ิ กลาง ดนั
หรอื จบี ลอ ปลายนวิ้ ใหม ลี กั ษณะ
แกว คลายวงแหวน น้ิวที่
เหลือกรีดตึง .

ชุดฝกทกั ษะการปฏบิ ัติทารำ : เลม ท่ี 1 นาฏยศัพท

35

กิจกรรมท่ี 2

ชอ่ื ........................................................................................ชน้ั ..........เลขท.ี่ ..............

ใหนักเรียนเตมิ นาฏยศพั ทใ นสวนตา งๆ ลงในชองที่กาํ หนดให

สวนมอื 1.………………..……
2………………………
นาฏยศัพท 3………………………
4………………………
สว นเทา 5………………………
6………………………
7………………………

1………………………
2………………………
3………………………
4………………………
5………………………
6………………………

สว นศีรษะ,ลาํ ตัว 1………………………
2………………………

ชุดฝก ทกั ษะการปฏบิ ัติทา รำ : เลม ที่ 1 นาฏยศัพท

36

เฉลยกจิ กรรมท่ี 2

ชอ่ื ........................................................................................ชั้น..........เลขท.ี่ ..............

ใหนกั เรยี นเติมนาฏยศพั ทใ นสว นตา งๆ ลงในชองท่ีกาํ หนดให

สว นมอื 1. วงบน
2. วงกลาง
นาฏยศพั ท 3. วงลา ง
4. วงหนา
สวนเทา 5. วงบัวบาน
6. จีบหงาย
7. จบี คว่ำ

1. ประเทา
2. ยกเทา
3. กระทงุ เทา
4. กระดกเทา
5. กา วหนา
6. กาวขาง

สว นศีรษะ,ลําตวั 1. เอียงศรี ษะ
2. ลกั คอ

หมายเหตุ สามารถตอบคำตอบอนื่ ๆได ตามความถกู ตองของหัวขอทกี่ ำหนดให

ชดุ ฝก ทกั ษะการปฏิบตั ทิ ารำ : เลม ที่ 1 นาฏยศัพท

37

แบบทดสอบหลงั เรยี น

คำช้ีแจง 1. ขอสอบน้เี ปน แบบเลอื กตอบมีทั้งหมด 10 ขอ
2. จงทำเครือ่ งหมาย  ลงในกระดาษคำตอบในขอ ท่ถี ูกตอ งที่สุด

เพยี งหนึง่ ขอ

1. คำวา "นาฏยศพั ท" เริ่มนำมาใชใ นวงการนาฏศลิ ปไทยสมยั ใด

ก. ธนบุรี ข. สโุ ขทัย

ค. อยุธยา ง. รัตนโกสนิ ทร

2. “ลักษณะการกดไหลขวา เอียงศรี ษะทางซาย” เปน ลักษณะ

ของนาฏยศพั ทขอ ใด

ก. กดตัว ข. ลักคอ

ค. เอยี งศีรษะ ง. ยอตัว

3. กรมศิลปากรไดฟ น ฟูการศึกษาวิชานาฏศลิ ปตามแบบแผนการแสดงขน้ึ ใหม

ตรงกบั รชั กาลใด

ก. รัชกาลท่ี 1 ข. รัชกาลที่ 2

ค. รัชกาลที่ 4 ง. รชั กาลที่ 6

4. นาฏยศัพทใ นสว นของเทาคอื ขอใด

ก. ตั้งมอื สง หลัง ข. วงลาง จบี

ค. กระทงุ กระดก ง. จีบลอแกว กระทุง

5. ลกั ษณะของการแสดงนาฏศิลปไทยแบงผแู สดงออกตามขอใด

ก. นางเอก พระเอก ข. ตวั เอก ตัวตลก

ค. ตวั พระ ตัวนาง ง. มนุษย ยกั ษ ลิง

ชุดฝกทักษะการปฏบิ ตั ิทา รำ : เลม ท่ี 1 นาฏยศัพท

38

6. “การตั้งวง” ขอ ใดไมถ ูกตอ ง

ก. ฝา มอื หันออกนอกตวั

ข. ตั้งลำแขนโคงเปนคร่งึ วง

ค. นว้ิ หวั แมมอื จรดขอ แรกของน้วิ ชี้

ง. น้ิวชี้ กลาง นาง กอ ย เรียงชิดตดิ กัน

7. “วงบนนาง” ปลายน้ิวควรอยูในระดบั ใด

ก. ปาก ข. หางคิว้

ค. แงศ ีรษะ ง. ชายพก

8. คำศพั ทท ใี่ ชเรยี กทา รำที่ไมถกู ตอ ง เชน คอดมื่ วงลน จัดเปน คำศัพทในขอ ใด

ก. ศพั ทเ ส่ือม ข. ศัพทเสริม

ค. ศัพทเ บด็ เตลด็ ง. นามศพั ท

9. จากภาพแสดงถึงนาฏยศัพทใ นขอ ใด

ก. เปดขา

ข. เดยี่ วเทา

ค. กา วเทา

ง. กาวขา ง

10. ขอใดไมใชนาฏยศพั ทท่ี แบงตามการเคลื่อนไหว ของรางกาย

ก. นาฏยศัพทใ นสว นของมือ

ข. นาฏยศพั ทตัง้ แตศีรษะถึงลำตัว

ค. นาฏยศพั ทใ นสว นของเอว

ง. นาฏยศพั ทในสว นของเทา

ชดุ ฝก ทกั ษะการปฏบิ ตั ิทารำ : เลม ที่ 1 นาฏยศัพท

39

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น

1. ง 6. ค
2. ข 7. ข
3. ง 8. ก
4. ค 9. ง
5. ค 10. ค

ชดุ ฝก ทักษะการปฏิบตั ทิ า รำ : เลมท่ี 1 นาฏยศัพท

40

กระดาษคำตอบ
นาฏยศพั ท

ช่อื ........................................................................................ชั้น..........เลขที่........

ทดสอบกอนเรียน ทดสอบหลังเรียน

ขอ ก ข ค ง ขอ ก ข ค ง
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10

สรุปคะแนน

กอ นเรยี น หลงั เรียน

เตม็ ได เต็ม ได

10 10

ชดุ ฝกทกั ษะการปฏบิ ตั ิทารำ : เลม ท่ี 1 นาฏยศัพท

41

บรรณานกุ รม
ประทปี นักป, ศศิธร นักป. (2559). ดนตรี - นาฏศิลป ระดบั ช้ันประถมศึกษาปที่ 6.

กรงุ เทพฯ : อักษรเจริญทศั น อจท.
ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2554). พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ

: นานมบี ุคสพับลเิ คชัน่ ส.
เรณู โกศินานนท. (2554). นาฏยศัพท ภาษาทานาฏศลิ ปไทย. กรงุ เทพฯ :

ไทยวัฒนาพานชิ .
วิมลศรี อุปมยั . (2554). นาฎกรรมและการละคร : หลักการบริหารและการจัด

การแสดง. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร.
สมุ ิตร เทพวงษ. (2557). นาฏศิลปไทยสำหรบั ครปู ระถมศึกษา-อุดมศกึ ษา. กรงุ เทพฯ :

โอเดยี นสโตร.
อมรา กล่ำเจริญ. (2554). วธิ สี อนนาฏศิลป. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร.

ชุดฝก ทกั ษะการปฏบิ ตั ทิ ารำ : เลมที่ 1 นาฏยศัพท


Click to View FlipBook Version