The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Akarapong.P, 2022-09-19 21:52:50

รายงานการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ

รายงานการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

รายงานการสํารวจความพึงพอใจของผูรับบริการ
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565
กรมพัฒนาท่ีดิน

รายงานการสํารวจความพึ งพอใจของผู้รับบริการ ประจําปีงบประมาณพ.ศ. 2565 กรมพั ฒนาท่ีดิน

บทสรุปผู้บริหาร

รายงานการสํารวจความพึงพอใจของผูรับบริการ ประจําปงบประมาณพ.ศ. 2565 กรมพัฒนาที่ดิน
มีวัตถุประสงคเพื่อสํารวจความตองการและความคาดหวังของผูรับบริการ ซ่ึงจะนําขอมูลมาปรับปรุงระบบ
งานและขน้ั ตอนการบรกิ ารใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ ตอบสนองความตอ งการของผรู บั บรกิ าร และผมู สี ว นไดส ว นเสยี
มากขนึ้ รวมทงั้ เปน การดาํ เนนิ การตามเกณฑค ณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั (Public Sector Management
Quality Award: PMQA) ทีม่ ุงเนนการใหค วามสําคัญกับผรู ับบริการในปจจบุ ันและอนาคต

การสํารวจฯ ในคร้งั น้ี เปน การวจิ ยั เชิงปริมาณ ซ่งึ กาํ หนดคาความคลาดเคล่ือนทยี่ อมรับไดไมเ กิน .05
(ความเช่ือม่ันท่ี 95%) กลุมตัวอยาง คือ เกษตรกร และผูมีสวนไดสวนเสียท่ีเขารวม ใน 2 โครงการ ไดแก
โครงการแหลงนํ้าในไรนานอกเขตชลประทาน จํานวน 434 ราย และโครงการปรับเปล่ียนกิจกรรมผลผลิต
ในพ้ืนที่ไมเหมาะสมตาม Agri-Map จํานวน 434 ราย เครื่องมือที่ใชในการสํารวจ คือ แบบสอบถามความ
พงึ พอใจฯ และการวเิ คราะหป ระมวลผลทางสถติ ิ ประกอบดว ย ผลรวม คา เฉลยี่ รอ ยละ และสรปุ ผลขอ คดิ เหน็
และขอ เสนอแนะ

ผลการสาํ รวจความพงึ พอใจของผรู บั บรกิ ารในภาพรวมทงั้ 2 โครงการ พบวา ผรู บั บรกิ ารมคี วามพงึ พอใจ
ในภาพรวมเฉลี่ย เทากับรอยละ 87.38 ดานที่มีความพึงพอใจมากท่ีสุดคือ ดานการใหบริการของเจาหนาที่
รอยละ 90.62 รองลงมาคือ ดานคุณภาพผลิตภัณฑ/งานบริการ รอยละ 89.49 ดานสถานท่ีและการอํานวย
ความสะดวก รอ ยละ 86.00 และดานขน้ั ตอนกระบวนการใหบรกิ าร รอยละ 83.41 ตามลาํ ดบั ท้งั นี้ สามารถ
สรปุ ผลความพึงพอใจจําแนกรายโครงการ ไดดังนt้ี

1.โครงการแหลงนา้ํ ในไรน านอกเขตชลประทาน
ความพงึ พอใจในภาพรวมของโครงการเฉลยี่ เทา กบั รอ ยละ 87.68 ดา นทมี่ คี วามพงึ พอใจมากทสี่ ดุ

คือดานการใหบริการของเจาหนาที่ รอยละ 91.34 รองลงมาคือ ดานคุณภาพผลิตภัณฑ/งานบริการ
รอยละ 89.45 ดา นสถานทแ่ี ละการอํานวยความสะดวก รอยละ 86.48 และดานขั้นตอนกระบวนการ
ใหบ ริการ รอยละ 83.44 ตามลําดบั

ขอเสนอแนะ: ปรบั ปรงุ ระยะเวลาการขอ/การขดุ บอ ใหร วดเรว็ ขนึ้ เพม่ิ การเขา ถงึ ขอ มลู และการขอ
ความชว ยเหลอื ดา นบรกิ ารออนไลน การขยายพน้ื ทกี่ ารดาํ เนนิ งาน และการ บรู ณาการกบั หนว ยงาน
อนื่ เพอ่ื สนับสนุนปจจยั การผลติ ตา งๆ เชน พันธุปลา ไมผล ปุย หมัก หญาแฝก เปนตน
2.โครงการปรับเปลีย่ นกิจกรรมผลผลิตในพ้ืนที่ ไมเ หมาะสมตาม Agri-Map

ความพงึ พอใจในภาพรวมของโครงการเฉลยี่ เทา กบั รอ ยละ 87.09 ดา นทมี่ คี วามพงึ พอใจมากทสี่ ดุ
คือดานการใหบริการของเจาหนาที่ รอยละ 89.91 รองลงมาคือ ดานคุณภาพผลิตภัณฑ/งานบริการ
รอยละ 89.54 ดา นสถานทีแ่ ละการอาํ นวยความสะดวก รอยละ 86.00 และดานข้ันตอนกระบวนการ
ใหบรกิ าร รอ ยละ 83.41 ตามลําดับ

ขอเสนอแนะ: ปรับปรุงระยะเวลาการดําเนินการใหรวดเร็วขึ้น กาขยายพื้นท่ีเปาหมายเพิ่มขึ้น
การพัฒนาพื้นที่อยางตอเนื่องและการสนับสนุนปจจัยการผลิตตางๆ เชน หญาแฝก ปุย กากน้ําตาล
พันธไุ มผ ล พันธปุ ลา ปนู ขาว เมลด็ พันธข าว ถั่ว พนั ธไ ม ถังนํา้ หมัก เปน ตน

รายงานการสํารวจความพึ งพอใจของผู้รับบริการ ประจําปีงบประมาณพ.ศ. 2565 กรมพั ฒนาท่ีดิน

คํานํา

รายงานการสํารวจความพึงพอใจของผูรับบริการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 กรมพัฒนาท่ีดิน
มีวัตถุประสงคเพื่อสํารวจความพึงพอใจของผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสียของกรมพัฒนาที่ดิน
ใน 2 โครงการ ไดแ ก 1) โครงการแหลง น้าํ ในไรนานอกเขตชลประทาน และ 2) โครงการปรบั เปลยี่ นกจิ กรรม
ผลผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสมตาม Agri-Map รวมท้ังรวบรวม วิเคราะห ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะตาง ๆ
เพื่อนําขอ มลู มาใชประกอบการพฒั นาปรับปรุงกระบวนการใหบริการใหมีประสทิ ธภิ าพ และเปน ไปตามเกณฑ
คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA) หมวดที่ 3
เรือ่ ง การใหค วามสําคญั กบั ผูร บั บรกิ ารและผูมีสวนไดส ว นเสยี

ทงั้ นี้ ผจู ดั ทาํ หวงั วา ผลการสาํ รวจฯ ในรายงานฉบบั นจ้ี ะเปน ประโยชนต อ การพฒั นาปรบั ปรงุ ระบบงาน
ขั้นตอนการบริการ และสามารถตอบสนองตอความตองการและความคาดหวังของผูรับบริการและผูมีสวน
ไดสวนเสีย ไดมากยิ่งขึ้น

กลมุ พฒั นาระบบบรหิ าร
กรมพฒั นาทด่ี นิ

รายงานการสํารวจความพึ งพอใจของผู้รับบริการ ประจําปีงบประมาณพ.ศ. 2565 กรมพั ฒนาท่ีดิน

สารบญั

บทสรุปผบู ริหาร หนา
คาํ นาํ
บทนํา

ระเบียบวธิ ีการสาํ รวจ 1
1. ประชากรและกลุมตวั อยาง 2
2. วิธกี ารเก็บขอ มลู และวเิ คราะหข อ มูล

สรุปผลการสาํ รวจความพึงพอใจของผูรบั บริการ ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2565 กรมพฒั นาท่ีดิน

สว นท่ี 1 ผลการสํารวจความพงึ พอใจของผรู ับบรกิ ารในภาพรวม 3

สว นที่ 2 ผลการสํารวจความพงึ พอใจของผรู บั บรกิ ารจาํ แนกรายโครงการ 4

2.1 โครงการแหลงนํ้าในไรน านอกเขตชลประทาน 4

2.2 โครงการปรับเปลย่ี นกิจกรรมผลผลิตในพืน้ ที่ ไมเ หมาะสมตาม Agri-Map 7

ภาคผนวก

แบบสอบถามความพึงพอใจของผรู ับบรกิ าร ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2565 10

รายงานการสํารวจความพึ งพอใจของผู้รับบริการ ประจําปีงบประมาณพ.ศ. 2565 กรมพั ฒนาท่ีดิน

บทนํา

สํานักงานพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) สงเสริมใหสวนราชการนําเกณฑคุณภาพการบริหารจัดการ
ภาครัฐ มาใชพัฒนาคุณภาพการบริการจัดการ เพื่อยกระดับและพัฒนาองคกรของสวนราชการอยางตอเนื่อง
และย่ังยืน ตามแนวทางพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality
Award : PMQA ) หมวดที่ 3 เรื่อง การใหความสําคัญกับผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย ซ่ึงมุงเนนการ
ใหความสําคัญกับผูรับบริการในปจจุบันและอนาคต โดยการสรางความพึงพอใจในคุณภาพการบริหาร
ไดกําหนดใหการประเมินความพึงพอใจของผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย เพื่อนําผลการประเมินความ
พึงพอใจ มาใชเปนขอมูลในการปรับปรุงกระบวนการคุณภาพการใหบริการใหมีคุณภาพมากข้ึน

กรมพัฒนาที่ดิน เปนสวนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ มีวิสัยทัศน คือ“เปนองคการ
อัจฉริยะทางดิน เพ่ือขับเคล่ือนการใชท่ีดินอยางเหมาะสม 15 ลานไร (ภายในป 2570)”และมีพันธกิจ
ที่สําคัญคือ

1. สํารวจ วิเคราะห จําแนกดิน และสํามะโนที่ดิน เพ่ือวางแผนการใชที่ดินดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย
2. พฒั นางานวจิ ัยเพ่ือสรา งเทคโนโลยีและนวตั กรรมการจดั การดนิ ทสี่ อดคลองและเหมาะสมกับสภาพ

พ้ืนท่ี
3. สรางศูนยกลางขอมูลอัจฉริยะทางดินของประเทศ เพื่อบริหารจัดการทรัพยากรท่ีดินอยางย่ังยืน
4. พฒั นาทดี่ นิ ดว ยระบบการบรหิ ารจดั การเชงิ รกุ ผา นกระบวนการมสี ว นรว มดา นการวางแผนถา ยทอด

เทคโนโลยี อนุรักษดินและน้ํา และปรับปรุงบํารุงดิน เพ่ือรักษาสมดุลความเส่ือมโทรมของท่ีดิน
และนิเวศเกษตร
5. ยกระดับองคการดวยเทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรม

ทั้งน้ี ผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสียของกรมพัฒนาที่ดิน มีท้ังเกษตรกร หนวยงานภาครัฐ เอกชน
ฯลฯ ดังนั้น กรมพัฒนาที่ดินจึงไดดําเนินการสํารวจความพึงพอใจฯ เพื่อรวบรวมขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ
ตา ง ๆ ของผรู บั บรกิ ารและผมู สี ว นไดส ว นเสยี มาใชป ระกอบการปรบั ปรงุ พฒั นาการใหบ รกิ ารใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ
และ สอดคลองกับความตองการของผูรับบริการมากขน และสงผลตอการบรรลุวิสัยทัศนและเปาหมายของ
กรมพัฒนาท่ีดินในอนาคตตอไป

วัตถปุ ระสงคก ารสาํ รวจ
เพอื่ สาํ รวจความตอ งการและความคาดหวังของผรู ับบริการ ซ่งึ จะนําขอมลู มาปรบั ปรุงระบบงานและ
ขัน้ ตอนการบริการ ใหม ปี ระสทิ ธภิ าพตอบสนองความตองการของผรู บั บรกิ ารและผูมสี วนไดส วนเสยี มากขึน้
ประชากรทที่ ําการสาํ รวจ
เกษตรกร และผูม ีสว นไดส วนเสยี ทเ่ี ขา รว มโครงการแหลงน้ําในไรนานอกเขตชลประทาน และโครงการ
ปรับเปลีย่ นกิจกรรมผลผลติ ในพ้นื ที่ไมเ หมาะสมตาม Agri-Map ในปงบประมาณ พ.ศ. 2565
ระยะเวลาท่ีทําการสาํ รวจ
เดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม 2565
ประโยชนทค่ี าดวา จะไดรับ
นําขอมูลผลการสาํ รวจฯ มาใชในการพฒั นาปรบั ปรงุ ระบบงาน ขน้ั ตอนการบริการใหม ปี ระสิทธิภาพ
และสามารถตอบสนองความตองการและความคาดหวังของผรู บั บรกิ ารและผมู สี ว นไดสว นเสยี ไดมากยิ่งขึ้น

รายงานการสํารวจความพึ งพอใจของผู้รับบริการ ประจําปีงบประมาณพ.ศ. 2565 กรมพั ฒนาท่ีดิน

ระเบียบวิธีการสํารวจ

การสํารวจความพึงพอใจของผูรับบริการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 กรมพัฒนาที่ดิน เปนการ
วิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) ใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Methodology)
โดยสาํ รวจความพงึ พอใจและรบั ฟงความคิดเหน็ ของผรู ับบรกิ ารและผูมีสว นไดส ว นเสยี ใน 2 โครงการ ไดแ ก
1) โครงการแหลงนํ้าในไรนานอกเขตชลประทาน และ 2) โครงการปรับเปล่ียนกิจกรรมผลผลิตในพื้นท่ี
ไมเหมาะสมตาม Agri-Map เพือ่ นาํ ขอมลู ทีไ่ ดรับมาปรับปรงุ และพฒั นาการใหบ ริการของหนว งงานใหด ียิ่งขนึ้
โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

1.ประชากรและกลุมตัวอยาง
ประชากร
ประชากรที่ทําการสํารวจ คือ เกษตรกร และผูมีสวนไดสวนเสียท่ีเขารวมโครงการแหลงน้ําในไรนา

นอกเขตชลประทาน และโครงการปรับเปล่ียนกิจกรรมผลผลิตในพื้นท่ีไมเหมาะสมตาม Agri-Map ในป
งบประมาณ พ.ศ. 2565 จํานวนรวมทั้งส้ิน 44,678 ราย

จํานวนกลุมตัวอยางและการสุมตัวอยาง
การกาํ หนดกลมุ ตวั อยา ง ใชห ลกั สถติ กิ ารวจิ ยั โดยกาํ หนดคา ความคลาดเคลอ่ื นทยี่ อมรบั ไดไ มเ กนิ .05
(ความเช่ือม่ันท่ี 95%) และกําหนดจํานวนกลุมตัวอยางที่ยอมรับไดในทางสถิติตามสูตรของ ทาโร ยามาเน
(Taro Yamane) รายละเอียดดังตาราง

1

รายงานการสํารวจความพึ งพอใจของผู้รับบริการ ประจําปีงบประมาณพ.ศ. 2565 กรมพั ฒนาท่ีดิน

ตารางแสดงจํานวนประชากรและจํานวนกลุมตัวอยางผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสียทั้ง 2 โครงการ

โครงการแหลงนํ้าในไรนา โครงการปรับเปลี่ยนกิจกรรมผลผลิต
นอกเขตชลประทาน ในพ้ืนที่ไมเหมาะสมตาม Agri-Map
หนวยงาน จํานวนประชากร จํานวนตัวอยาง จํานวนประชากร จํานวนตัวอยาง

(คน) (คน) (คน) (คน)
สพข.1 651 10 52 10
สพข.2 1,302 15 26 10
สพข.3 6,060 60 1,149 60
สพข.4 6,782 70 1,974 105
สพข.5 13,300 130 1,971 105
10 19 10
สพข.6 494 318 20
สพข.7 1,546 15 754 45
สพข.8 3,614 40 224 15
สพข.9 1,790 20 88 10

สพข.10 539 10 --
สพข.11 952 10
สพข.12 965 10 103 10
รวม 38,000 400 6,678 400

2.วธิ ีการเก็บขอมูลและวิเคราะหขอ มูล
วิธีการเก็บขอ มลู
วิธีการเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยางที่เปนเกษตรกรและผูรับบริการ ใชแบบสอบถามความพึงพอใจฯ

เปนเคร่ืองมอื ในการเก็บรวบรวมขอมูล ซง่ึ ประกอบไปดว ย 4 สว น คอื สวนที่ 1 ประสบการณข องผูรับบริการ
สวนท่ี 2 ความพึงพอใจตอผลิตภัณฑ/บริการ สวนที่ 3 ขอเสนอแนะในการปรับปรุงผลิตภัณฑ/บริการ และ
สวนที่ 4 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสํารวจ

การวิเคราะหและประมวลผลขอ มูล
การวิเคราะหขอมูล ใชเครื่องมือทางสถิติ ประกอบดวย ผลรวม คาเฉล่ีย รอยละ และการสรุปผลขอคิดเห็น
และขอเสนอแนะเชิงพรรณนา

2

รายงานการสํารวจความพึ งพอใจของผู้รับบริการ ประจําปีงบประมาณพ.ศ. 2565 กรมพั ฒนาท่ีดิน

สรปุ ผลการสาํ รวจความพึ งพอใจของผู้รบั บรกิ าร

ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กรมพั ฒนาที่ดนิ

สําหรบั ผลการสํารวจความพงึ พอใจของผูรับบรกิ าร ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2565 กรมพฒั นาทดี่ ิน
มีเน้อื หา ประกอบดวย

สวนที่ 1 ผลการสํารวจความพงึ พอใจของผรู ับบรกิ ารในภาพรวม
สว นท่ี 2 ผลการสํารวจความพึงพอใจของผูรับบรกิ ารจําแนกรายโครงการ

2.1 โครงการแหลง น้ําในไรนานอกเขตชลประทาน
2.2 โครงการปรบั เปลยี่ นกิจกรรมผลผลติ ในพน้ื ที่ ไมเหมาะสมตาม Agri-Map
สว นที่ 1 ผลการสํารวจความพงึ พอใจของผูร ับบริการในภาพรวม
จากการสํารวจความพึงพอใจของผูรับบริการ ท้ัง 2 โครงการ พบวา ผูรับบริการมีความพึงพอใจ
ในภาพรวมเฉล่ีย เทากับรอยละ 87.38 โดยดานท่ีมีความพึงพอใจมากที่สุดคือ ดานการใหบริการของ
เจาหนาท่ี รอยละ 90.62 รองลงมาคือ ดานคุณภาพผลิตภัณฑ/งานบริการ รอยละ 89.49 ดานสถานที่และ
การอํานวยความสะดวก รอยละ 86.00 และดานข้ันตอนกระบวนการใหบริการ รอยละ 83.41 ตามลําดับ
โดยมีรายละเอียดดังตาราง

ผลการสํารวจความพึงพอใจในภาพรวม ทั้ง 2 โครงการ คว(ารมอ พยึงลพะอ) ใจ

ประเด็นการใหบริการ ความพึงพอใจ (รอยละ)

ดานกระบวนการข้ันตอนการใหบริการ 83.41
1) ชองทางการรับบริการที่หลากหลาย 83.62
2) การจัดระบบคิวการใหบริการท่ีดี 84.24
3) ระบบและขั้นตอนที่ชัดเจน ไมยุงยาก 84.42
4) ระยะเวลาดําเนินการมีความรวดเร็ว 81.71
5) จํานวนเอกสารหลักฐานที่ใชประกอบการพิจารณามีความเหมาะสม 83.09
ดานเจาหนาที่ใหบริการ 90.62
6) เจาหนาท่ีมีความรูความสามารถ ใหขอมูล และคําปรึกษาท่ีดีได 90.32
7) เจาหนาที่ใหบริการดวยความเต็มใจ แสดงความชวยเหลือ รับผิดชอบอยางเต็มที่ 90.92
ดานสถานที่และการอํานวยความสะดวก 86.00
8) จุดแรกรับในการใหคําปรึกษาแนะนํา ชวยเหลือคัดกรองเอกสาร
และกรอกแบบฟอรมตางๆ 86.36

ดานกระบวนการขน้ั ตอนการใหบรกิ าร 83.41
9) กแาลระอเจอากหแนบาบทผี่ ังงานในจุดกอนบริการและจุดใหบริการที่สะดวกสําหรับประชาชน
85.28

1ค0ว)านกมํ้าาพดรึงจื่มพัดเสอป่ิงในอจตําโดนนยวยรคววมาเมกสี่ยะวดกวบั กคใุณนกภาารพรับผบลริติกภาัณร ฑเช/นงหาอนงบนรํ้าิกสาะรอาด มีจัดที่น่ังรอ 86.36
89.49
ความพึงพอใจภาพรวมเฉลีย่ 87.38

3

รายงานการสํารวจความพึ งพอใจของผู้รับบริการ ประจําปีงบประมาณพ.ศ. 2565 กรมพั ฒนาท่ีดิน

สวนที่ 2 ผลการสํารวจความพึงพอใจของผูรบั บริการจาํ แนกรายโครงการ
2.1 โครงการแหลง น้ําในไรนานอกเขตชลประทาน
กลุมผูรับบริการท่ีไดดําเนินการสํารวจ คือ เกษตรกรและผูมีสวนไดสวนเสีย จํานวนรวมท้ังสิ้น

434 คน และผูรับบริการผูรับบริการมีความพึงพอใจในภาพรวมของโครงการเฉล่ียเทากับรอยละ 87.68
โดยดานท่ีมีความพึงพอใจมากที่สุดคือ ดานการใหบริการของเจาหนาที่ รอยละ 91.34 รองลงมาคือ ดาน
คณุ ภาพผลติ ภณั ฑ/ งานบรกิ าร รอ ยละ 89.45 ดา นสถานทแี่ ละการอาํ นวยความสะดวก รอ ยละ 86.48 และ
ดานขัน้ ตอนกระบวนการใหบ ริการ รอ ยละ 83.44 ตามลําดับ รายละเอยี ดดังตาราง

ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสํารวจ จํานวน (n=434)
ขอมูลท่ัวไป 254
180 รอยละ
เพศ 434
ชาย 13 58.50
หญิง 53 41.50
รวม 131 100
199
อายุ 38 3.00
21 - 30 ป 434 12.21
31 - 40 ป 7 30.18
41 - 50 ป 150 45.85
51 - 60 ป 60 8.76
61 ป ข้ึนไป 85 100
รวม 20
25 1.61
ระดับการศึกษา 83 34.56
ไมเคยเรียน 4 13.82
ประถมศึกษา 434 19.59
มัธยมศึกษาตอนตน 4.61
มัธยมศึกษาตอนปลาย 5.76
ปวช. 19.12
ปวส./ปวท./อนุปริญญา 0.92
ปริญญาตรี 100
ปริญญาโท หรือ สูงกวาปริญญาโท
รวม

4

รายงานการสํารวจความพึ งพอใจของผู้รับบริการ ประจําปีงบประมาณพ.ศ. 2565 กรมพั ฒนาท่ีดิน

ขอมูลทั่วไป จํานวน รอยละ
อาชีพ 2 0.46
10 2.30
นักเรียน/นักศึกษา 36 8.29
แมบาน 2 0.46
รับราชการ 9 2.07
ธุรกิจสวนตัว 330 76.04
บริษัทเอกชน 35 8.06
เกษตรกรรม 9 2.07
หมอดินอาสาประจําหมูบาน 1 0.23
หมอดินอาสาประจําตําบล 0 0
หมอดินอาสาประจําอําเภอ 0 0
หมอดินอาสาประจําจังหวัด 434 100
อื่นๆ 145 33.41
122 28.11
รวม 95 21.89
รูปแบบการทําการเกษตร 61 14.06
11 2.53
ทํานา 434 100
ทําสวน
ทําไร
พืชผัก
อ่ืนๆ

รวม

ความพึงพอใจของผูรับบริการ จําแนกรายดาน (n=434)

ประเด็นการใหบริการ ความพึงพอใจ คว(ารมอพยึงลพะอ) ใจ ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะ

ดานกระบวนการข้ันตอนการใหบริการ 83.44
1) ชองทางการรับบริการที่หลากหลาย 84.19 - ระยะเวลาการขอและระยะเวลา
2) การจัดระบบคิวการใหบริการท่ีดี 83.41 การขุดนานเกินไป ควรมีการดําเนิน
84.56 การที่รวดเร็วมากข้ึน
3) ระบบและข้ันตอนท่ีชัดเจน ไมยุงยาก 81.06 - ยังตองใชสําเนาเอกสารประกอบ
4) ระยะเวลาดําเนินการมีความรวดเร็ว
พิ5จ)ารจณํานามวนีคเวอากมสเหารมหาละสักมฐานท่ีใชประกอบการ 83.96 ควรปรับปรุง/จัดทําระบบการให
บริการออนไลน

5

รายงานการสํารวจความพึ งพอใจของผู้รับบริการ ประจําปีงบประมาณพ.ศ. 2565 กรมพั ฒนาท่ีดิน

ประเด็นการใหบริการ ความพึงพอใจ คว(ารมอพยึงลพะอ) ใจ ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะ

ดานเจาหนาท่ีใหบริการ 91.34

6) เจาหนาที่มีความรูความสามารถใหขอมูล 91.20 - เพ่ิมการเขาถึงขอมูล และการขอ
และคําปรึกษาท่ีดีได ความชวยเหลือดานบริการออนไลน

7) เจาหนา ท่ใี หบ รกิ ารดว ยความเตม็ ใจแสดง 91.47 - เจาหนาท่ีควรใหบริการรวดเร็วมาก
ความชวยเหลือ รบั ผดิ ชอบอยา งเต็มท่ี ขึ้น

ดานสถานท่ีและการอํานวยความสะดวก 86.48

8) จดุ แรกรบั ในการใหค ําปรกึ ษาแนะนําชว ย 86.91
เหลือคดั กรองเอกสารและกรอกแบบฟอรมตางๆ

9) การออกแบบผงั งานในจดุ กอนบริการและ 85.39
จดุ ใหบริการที่สะดวกสําหรบั ประชาชนและ
เจา หนา ที่

10) การจดั สงิ่ อํานวยความสะดวกในการรับ 87.14
บรกิ าร เชน หอ งน้ําสะอาด มีจดั ทนี่ ง่ั รอ นํ้าดื่ม 89.45
เปนตน
ความพึงพอใจโดยรวมเก่ียวกับคุณภาพ
ผลิตภัณฑ/ งานบริการ

ความพึงพอใจภาพรวมเฉล่ีย 87.68

ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะ อ่ืนๆ (โครงการแหลงนํ้าในไรนานอกเขตชลประทาน)
1. อยากใหขยายพ้ืนที่ดําเนินงานเพ่ิมขึ้นในเขตพ้ืนท่ีชลประทาน เน่ืองจากบางพื้นท่ีอยูในเขตชลประทาน
แตอยูหางไกลแหลงน้ํา
2. อยากใหสนับสนุนปจจัยการผลิต ไดแก พันธุปลา ไมผล ปุยหมัก บริการหญาแฝก (ตลอดทั้งป)
3. การบูรณาการกับหนวยงานอ่ืน เชน ประมง เกษตร ฯลฯ เพ่ือสนับสนุนปจจัยตางๆ ใหเกษตรกรท่ี
เขารวมโครงการฯ
4. ควรมีโครงการตอเน่ืองทุกป
5. ลักษณะของบอน้ําควรมีหลายแบบ หลายขนาด สามารถปรับตามพ้ืนที่ได
6. อยากขุดบอบาดาลเพ่ิมมากข้ึน การขุดลอกสระเดิมที่ต้ืนเขิน หรือท่ีพังทลาย
7. อยากใหงบประมาณมาเร็วและเพิ่มมากข้ึน
8. การยกเลิกคาสมทบ (2500 บาท) เน่ืองจากเกษตรกรมีรายไดนอย

6

รายงานการสํารวจความพึ งพอใจของผู้รับบริการ ประจําปีงบประมาณพ.ศ. 2565 กรมพั ฒนาท่ีดิน

2.2 โครงการปรบั เปลย่ี นกจิ กรรมผลผลิตในพนื้ ท่ี ไมเ หมาะสมตาม Agri-Map
กลุม ผูร ับบรกิ ารทไ่ี ดดําเนนิ การสํารวจ คอื เกษตรกรและผมู ีสว นไดสวนเสยี จํานวนรวมท้ังสิ้น

434 คน และผรู ับบริการผรู ับบริการมคี วามพึงพอใจในภาพรวมของโครงการเฉลี่ย เทา กับรอยละ 87.09
โดยดา นท่มี ีความพึงพอใจมากทส่ี ุดคอื ดานการใหบ รกิ ารของเจา หนาทีค่ ดิ เปน รอ ยละ 89.91 รองลงมาคือ
ดานคณุ ภาพผลติ ภัณฑ/ งานบรกิ าร รอ ยละ 89.54 ดานสถานที่และการอาํ นวยความสะดวก รอยละ 85.51
และดา นขั้นตอนกระบวนการใหบ รกิ าร รอยละ 83.39 ตามลําดบั รายละเอียดดงั ตาราง

ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสํารวจ จํานวน (n=434)
ขอมูลทั่วไป 262
172 รอยละ
เพศ 434
ชาย 5 60.40
หญิง 41 39.60
รวม 132 100
189
อายุ 67 1.20
21 - 30 ป 434 9.40
31 - 40 ป 5 30.40
41 - 50 ป 174 43.60
51 - 60 ป 70 15.40
61 ป ขึ้นไป 84 100
รวม 22
21 1.20
ระดับการศึกษา 45 40.10
ไมเคยเรียน 9 16.10
ประถมศึกษา 434 19.40
มัธยมศึกษาตอนตน 5.10
มัธยมศึกษาตอนปลาย 4.70
ปวช. 10.40
ปวส./ปวท./อนุปริญญา 2.10
ปริญญาตรี 100
ปริญญาโท หรือ สูงกวาปริญญาโท
รวม

7

รายงานการสํารวจความพึ งพอใจของผู้รับบริการ ประจําปีงบประมาณพ.ศ. 2565 กรมพั ฒนาท่ีดิน

ขอมูลทั่วไป จํานวน รอยละ
อาชีพ 0 0.00
10 2.30
นักเรียน/นักศึกษา 16 3.69
แมบาน 21 4.84
รับราชการ 7 1.61
ธุรกิจสวนตัว 333 76.73
บริษัทเอกชน 32 7.37
เกษตรกรรม 9 2.07
หมอดินอาสาประจําหมูบาน 1 0.23
หมอดินอาสาประจําตําบล 0 0
หมอดินอาสาประจําอําเภอ 5 1.15
หมอดินอาสาประจําจังหวัด 434 100
อ่ืนๆ 132 30.41
112 25.81
รวม 102 23.50
รูปแบบการทําการเกษตร 66 15.21
22 5.07
ทํานา 434 100
ทําสวน
ทําไร
พืชผัก
อ่ืนๆ

รวม

ความพึงพอใจของผูรับบริการ จําแนกรายดาน (n=434)

ประเด็นการใหบริการ ความพึงพอใจ คว(ารมอพยึงลพะอ) ใจ ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะ

ดานกระบวนการข้ันตอนการใหบริการ 83.39
1) ชองทางการรับบริการท่ีหลากหลาย 83.04
2) การจัดระบบคิวการใหบริการที่ดี 85.07 - ระยะเวลารอคอย ความลาชาในการ
3) ระบบและขั้นตอนท่ีชัดเจน ไมยุงยาก 84.29 ใหบริการ ควรมีการดําเนินการท่ีรวด
4) ระยะเวลาดําเนินการมีความรวดเร็ว 82.35 เร็วมากขึ้น
5) จํานวนเอกสารหลักฐานที่ใชประกอบการ - อยากใหมีระบบเสียบบัตรและ
พิจารณามีความเหมาะสม 82.21 สามารถลงทะเบียนไดเลย

8

รายงานการสํารวจความพึ งพอใจของผู้รับบริการ ประจําปีงบประมาณพ.ศ. 2565 กรมพั ฒนาท่ีดิน

ประเด็นการใหบริการ ความพึงพอใจ คว(ารมอพยึงลพะอ) ใจ ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะ

ดานเจาหนาท่ีใหบริการ 89.91

6) เจาหนาที่มีความรูความสามารถใหขอมูล 89.45 - ควรมีหนวยงานในพ้ืนท่ีใหความรู
และคําปรึกษาท่ีดีได
- ควรมีส่ือออนไลน และแนะนําให
7) เจา หนาทีใ่ หบรกิ ารดวยความเต็มใจแสดง 90.37 เขาใจ
ความชว ยเหลือ รบั ผิดชอบอยา งเตม็ ท่ี

ดานสถานท่ีและการอํานวยความสะดวก 85.51

8) จุดแรกรบั ในการใหคาํ ปรกึ ษาแนะนําชว ย 85.81
เหลอื คัดกรองเอกสารและกรอกแบบฟอรม ตางๆ

9) การออกแบบผังงานในจดุ กอนบริการและ 85.16
จุดใหบ ริการที่สะดวกสําหรบั ประชาชนและ
เจาหนาที่

10) การจัดสิ่งอํานวยความสะดวกในการรบั 85.58
บรกิ าร เชน หองนํ้าสะอาด มจี ดั ทน่ี ัง่ รอ นาํ้ ดม่ื 89.54
เปนตน
ความพึงพอใจโดยรวมเก่ียวกับคุณภาพ
ผลิตภัณฑ/ งานบริการ

ความพึงพอใจภาพรวมเฉล่ีย 87.09

ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะ อื่นๆ (โครงการปรับเปล่ยี นกจิ กรรมผลผลติ ในพ้ืนที่ไมเหมาะสมตาม Agri-Map)
1. อยากใหสนบั สนุนปจจยั การผลติ ไดแก ปยุ กากนาํ้ ตาล พนั ธุไมผ ล พันธุป ลา ปนู ขาว เมลด็ พนั ธข า ว ถ่ัว
พันธไม ถังนาํ้ หมกั เปนตน
2. อยากใหม ีความตอ เนือ่ งในการพัฒนาพื้นท่ี
3. อยากใหมเี ปา หมายพืน้ ทม่ี ากขน้ึ เนื่องจากเกษตรกรมคี วามตองการมาก
4. ควรจะมีการปฏิบัตงิ านดานการจดั ระบบอนรุ ักษดินและนํ้าใหอ ยใู นระหวา งเดือน ธ.ค - เม.ย ของปถดั ไป
5. การเพม่ิ งบประมาณ เพ่ือใหสามารถดาํ เนนิ การไดค รอบคุลมทุกพื้นที่

9

รายงานการสํารวจความพึ งพอใจของผู้รับบริการ ประจําปีงบประมาณพ.ศ. 2565 กรมพั ฒนาท่ีดิน

แสบาํ บนสกั าํ งราวนจพคฒั วานมาพทึงป่ีดพนิรอะเขจใจตําต.ป..อ.พ.ง..า..ศ.น...บ..2.ร.5.ิก.6.า..5ร..ข..อ...ง..ก..ร..ม..พ...ัฒ...น...า..ท..่ดี...ิน

คําช้ีแจง : 1. แบบสํารวจน้ีเปนสวนหน่ึงของ ตัวชี้วัด “มิติคุณภาพการใหบริการ ระดับความสําเร็จ
ของการจดั ทาํ ขอ มลู ผรู บั บรกิ ารและผมู สี ว นไดส ว นเสยี ในผลติ ภณั ฑห รอื งานบรกิ าร” มวี ตั ถปุ ระสงค เพอื่ สาํ รวจ
ความพึงพอใจ ความตองการและรับฟงความเห็นของประชาชนตอการใหบริการหนวยงาน ใน 2 โครงการ
ไดแก โครงการแหลงนํ้าในไรนานอกเขตชลประทาน และ โครงการปรับเปลี่ยนกิจกรรมผลผลิตในพ้ืนท่ีไม
เหมาะสมตาม Agri-Map ทง้ั นเ้ี พอ่ื นาํ ขอ มลู ทไี่ ดร บั ไปปรบั ปรงุ และพฒั นาคณุ ภาพการใหบ รกิ ารของหนว ยงาน
ใหดีย่ิงข้ึนตอไป

2. แบบประเมินนี้ มี 4 สวน ประกอบดวย สวนท่ี 1 : ประสบการณของผูรับบริการ สวนท่ี 2 : เปน
ความพึงพอใจตอผลิตภัณฑ/บริการ สวนที่ 3 : ขอเสนอแนะในการปรับปรุง ผลิตภัณฑ/บริการ สวนที่ 4 :
ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบ

3. ขอมูลท่ีกรอกในแบบสํารวจเพื่อประโยชนตอการพัฒนางานบริการของหนวยงาน และสรางความ
โปรงใสใหก ับหนว ยงาน กรุณากรอกแบบสํารวจตามความเปนจรงิ โดยขอมูลจากการตอบแบบสํารวจนีจ้ ะถูก
เกบ็ เปน ความลับ และแสดงผลในภาพรวมเทานน้ั

4. ทาํ เครอื่ งหมาย ใน และเตมิ ขอ ความในชองวา งใหสมบรู ณ (ใหต อบขอมลู ใหค รบทกุ สวนเทาท่ี
สามารถตอบได)

สวนท่ี 1 : ประสบการณของผูรับบริการ

1.1 ประเภทงานบริการท่ีทานรับบริการ
โครงการแหลงนํ้าในไรนานอกเขตชลประทาน
โครงการปรับเปล่ียนกิจกรรมผลผลิตในพ้ืนท่ีไมเหมาะสมตาม Agri-Map

10

รายงานการสํารวจความพึ งพอใจของผู้รับบริการ ประจําปีงบประมาณพ.ศ. 2565 กรมพั ฒนาท่ีดิน

สวนที่ 2 : ความพึงพอใจตอ ผลิตภัณฑ/บริการ
สวนนี้เปนการประเมินความพึงพอใจตอการใหบริการหนวยงาน โดยมีระดับคะแนน

ความพึงพอใจดังน้ี
4 หมายถึง พึงพอใจมากท่ีสุด 3 หมายถึง พึงพอใจมาก 2 หมายถึง พึงพอใจนอย
1 หมายถึง พึงพอใจนอยท่ีสุด 0 หมายถึง ไมพึงพอใจเลย

ประเด็นการประเมินความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ
ตอผลิตภัณฑ /บริการ มาพก(อ4ทใ)จี่สุด พม(อ3าใก)จ คพอ(นอ2ขใ)จาง ไพม(อค1ใอ)จย ไมเ(พล0อย)ใจ

2.1 การใหบริการ ณ พ้ืนท่ีใหบริการ

2.1.1 ดานกระบวนการขั้นตอนการใหบริการ

1) ชองทางการรับบริการท่ีหลากหลาย

2) การจัดระบบคิวการใหบริการที่ดี

3) ระบบและข้ันตอนท่ีชัดเจน ไมยุงยาก

4) ระยะเวลาดําเนินการมีความรวดเร็ว

5) จํานวนเอกสารหลักฐานท่ีใชประกอบการ
พิจารณามีความเหมาะสม

2.1.2 ดานเจาหนาที่ใหบริการ
1) เจาหนาทมี่ ีความรคู วามสามารถ ใหขอมูล
และคําปรึกษาทีด่ ีได
ค2)วาเจมาชหวนยาเหทลี่ใหือบรรับิกผาิดรชดอวยบคอวยาามงเเตต็ม็มใทจี่ แสดง

2.1.3 ดานสถานท่ีและการอํานวยความสะดวก
1) จดุ แรกรบั ในการใหค ําปรกึ ษาแนะนํา
ชว ยเหลอื คดั กรองเอกสาร และกรอกแบบ
ฟอรม ตางๆ
2) การออกแบบผังงานในจุดกอนบริการและ
จเจดุ าใหหนบารทิก่ี ารทสี่ ะดวกสําหรบั ประชาชนและ
3) การจัดสง่ิ อาํ นวยความสะดวกในการรบั
บรกิ าร เชน หองนา้ํ สะอาด มีจดั ทน่ี ง่ั รอนํา้ ด่มื
เปนตน
2.2 ความพึงพอใจโดยรวมเก่ียวกับคุณภาพผลิตภัณฑ/งานบริการ
คผลวาิตมภพณั งึ ฑพ/องใาจนโดบยรรกิ วามรเกี่ยวกบั คณุ ภาพ

11

รายงานการสํารวจความพึ งพอใจของผู้รับบริการ ประจําปีงบประมาณพ.ศ. 2565 กรมพั ฒนาท่ีดิน

สว นท่ี 3 : ขอเสนอแนะในการปรับปรุง ผลิตภัณฑ/ บริการ ของหนวยงาน
3.1 ทานคิดวาการบริการของหนว ยงานควรปรับปรงุ ในดา นใด (ตอบไดม ากกวา 1 ขอ)
ระยะเวลารอคอย
สถานที่ใหบรกิ าร
เจาหนา ทผี่ ูใ หบริการ
ยังตองใชสําเนาเอกสารประกอบ
ปรับปรงุ /จดั ทําระบบการใหบรกิ ารออนไลน
อื่น ๆ (โปรดระบ)ุ ……………………………….

3.2 ขอเสนอแนะอนื่ ๆ
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

สวนท่ี 4 : ขอมูลทั่วไปของผตู อบแบบสาํ รวจ

4.1 เพศ ชาย หญงิ

4.2 อายุ อายตุ ่าํ กวา 20 ป อายุ 21 – 30 ป อายุ 31 – 40 ป

อายุ 41 – 50 ป อายุ 50 – 60 ป อายุ 60 ปข นึ้ ไป
4.3 การศกึ ษา
ไมเ คยเรียน ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนตน
มัธยมศึกษาตอนปลาย ปวช. ปวส./ปวท./อนุปริญญา
ปริญญาตรี ปริญญาโทและสงู กวา
อ่นื ๆ (โปรดระบ)ุ .....................................................
4.4 อาชีพ
นกั เรยี น / นักศึกษา แมบ าน
รับราชการ ธุรกิจสวนตวั
บรษิ ทั เอกชน เกษตรกรรม
หมอดนิ อาสา
หมอดินอาสาประจําหมูบา น หมอดนิ อาสาประจําตําบล
หมอดินอาสาประจําอําเภอ หมอดินอาสาประจําจังหวดั
อืน่ ๆ (โปรดระบุ) ...........................................................................................
4.5 ทา นทําการเกษตรแบบใด (ตอบไดม ากกวา 1 ขอ)
ทํานา ทาํ สวน ทาํ ไร พืชผัก อื่น (ระบ)ุ ..............................

12

กรมพัฒนาท่ีดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ


Click to View FlipBook Version