บทที่ 6
รปู แบบของ
ประพจน์
สาระการเรยี นรู้
1. สัจนิรนั ดรแ์ ละขอ้ ขัดแยง้
2. ประพจน์ท่สี มมลู กัน
3. ประพจนท์ เี่ ปน็ นิเสธกัน
สัจนิรนั ดรแ์ ละ
1 ขอ้ ขดั แยง้
สัจนริ ันดร์ (Tautology) คือ รปู แบบของประพจน์ท่มี ีค่าความจรงิ เปน็ จริงทกุ กรณี
ตวั อยา่ ง
นยิ าม
ข้อขดั แย้งหรอื คอนทราดิกชัน (Contradiction) คือ รูปแบบของประพจน์ท่ี
มีค่าความจริงเป็นเท็จทุกกรณี ไม่ว่าประพจน์ย่อยจะมีค่าความจริงเป็นจริงหรือ
เท็จก็ตาม
ตวั อยา่ ง
ประพจน์
2 ทีส่ มมลู กนั
ตวั อยา่ ง
รปู แบบของประพจนท์ ส่ี มมลู กนั ทค่ี วรทราบ มีดังน้ี
1
2
3
รปู แบบของประพจน์ท่สี มมูลกนั ทค่ี วรทราบ มีดังน้ี
4
5
6
รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกันสามารถใช้แทนกัน
ได้ เพราะมีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณี กรณีต่อกรณี
ถือว่าเหมือนกนั
การตรวจสอบว่ารูปแบบของประพจน์สมมูลกัน
หรือไม่ นอกจากสร้างตารางค่าความจริงแลว้ สามารถใช้
รูปแบบของประพจน์ท่สี มมลู กันขา้ งตน้ มาแทนกันได้
ประพจน์ที่
3 เปน็ นิเสธกนั
ประพจน์ท่ีเป็นนิเสธกัน (Negation Statement) คือ รูปแบบ
ของประพจน์ทั้งสองมีค่าความจริง ตรงข้ามกันทุกกรณี กรณีต่อกรณี
ใช้สัญลักษณ์ “~” แทนนิเสธ เช่น A เป็นนิเสธของ B ก็ต่อเมื่อ A
สมมูลกบั ~B
ตวั อยา่ ง
ตวั อยา่ ง
นิเสธของประพจน์ท่คี วรทราบ
1
2
3
สรุป
รูปแบบของประพจน์ท่ีมีค่าความจริงเป็นจริงทุกกรณี ไม่ว่าประพจน์ย่อยจะมี
ค่าความจริง เป็นจรงิ หรือเทจ็ กต็ าม เรยี กว่า สัจนริ นั ดร์
รูปแบบของประพจนท์ ่ีมีค่าความจรงิ เป็นเท็จทุกกรณี ไม่ว่าประพจน์ย่อยจะมี
ค่าความจรงิ เปน็ จริงหรือเท็จกต็ าม เรยี กวา่ ขอ้ ขัดแย้ง
รูปแบบของประพจน์สองรูปแบบใดมีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณี กรณี
ตอ่ กรณี เรยี กว่า ประพจนท์ ี่สมมูลกัน
รูปแบบของประพจนส์ องรปู แบบใดมีคา่ ความจรงิ ตรงขา้ มกันทุกกรณี กรณี
ตอ่ กรณี เรยี กว่า ประพจนท์ ีเ่ ป็นนเิ สธกนั