The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pornpassanan Poomjarean, 2019-12-18 04:10:52

หลักสูตรศิลปะ ม.ต้น

หลักสูตร ม.ต้น

4

ตวั ชีว้ ัดชั้นป/ ผลการเรียนรู สาระการ
ทกั ษะกระบวนการ
ความรู K

5. ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ ออกแบบรปู ภาพ ความสามารถในการ
หรอื กราฟก อ่นื ๆ ในการนำเสนอ สญั ลักษณ ส่ือสาร
ความคดิ และขอมลู หรือกราฟกอน่ื ๆ ความสามารถในการใ
ในการนำเสนอ เทคโนโลยี
ความคดิ และขอมูล

6. ประเมนิ งานทศั นศิลป และ ประเมินงาน ความสามารถในการใ
บรรยายถงึ วธิ ีการปรับปรุงงานของ
ตนเองและผูอนื่ โดยใชเ กณฑที่ ทศั นศลิ ป และ ความคิด
กำหนดให
บรรยายถึงวธิ ีการ ความสามารถในการ

ปรบั ปรงุ งานของ แกป ญหา

ตนเองและผอู นื่ โดย

ใชเกณฑท่กี ำหนดให

49

รเรียนรแู กนกลาง/ทอ งถ่ิน สาระสำคญั สาระทอ งถน่ิ /อาเซียน/
P คณุ ลักษณะ A พอเพยี ง/
การออกแบบรปู ภาพ
การใฝเรียนรู สัญลกั ษณ หรืองานกราฟก พระบรมราโชบาย
มุงมั่นในการทำงาน
ใช ออกแบบสญั ลักษณตา ง ๆ
อยา งมีเหตผุ ลและสามารถ
ตอ ยอดในการสรา งอาชพี
ได

ใช การใฝเ รียนรู การประเมินงานทัศนศลิ ป
มุงมนั่ ในการทำงาน
มีจิตสาธารณะ

49

5

แบบ

การวิเคราะหเพอื่ จดั ทำคำอธิบาย
กลุม สาระการเรียนรศู ลิ ปะ รายวิชา ศลิ ปะพ
สาระท่ี 1 ทัศนศลิ ป
มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และ
ปญญาไทย และสากล

ตัวชว้ี ัดชัน้ ป/ ผลการเรียนรู สาระ
ทักษะกระบวนการ
ความรู K

1. ระบุ และบรรยายเกยี่ วกับลักษณะ บรรยายเกี่ยวกบั ความสามารถในการ
รูปแบบงานทัศนศลิ ปข องชาติและของ ลกั ษณะ รปู แบบงาน ส่ือสาร
ทองถิ่นตนเองจากอดีตจนถึงปจจุบนั ทัศนศิลปข องชาติ ความสามารถในการใ
และของทองถ่นิ ความคดิ
2.ระบุ และเปรยี บเทยี บงานทัศนศิลป ตนเองจากอดตี ความสามารถในการใ
ของภาคตาง ๆ ในประเทศไทย จนถงึ ปจ จบุ นั ทกั ษะชวี ิต

เปรยี บเทยี บงาน ความสามารถในการใ
ทัศนศลิ ปของภาค ความคดิ
ตา ง ๆ ในประเทศ ความสามารถในการ
ไทย สื่อสาร

50

บบันทึก

ยรายวิชาระดับ มธั ยมศึกษาตอนตน
พื้นฐาน รหัสวชิ า ศ 21101 ระดบั ช้นั ม. 1

ะวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิ

ะการเรยี นรูแกนกลาง/ทองถ่ิน สาระสำคญั สาระทอ งถิ่น/
ร P คณุ ลักษณะ A อาเซยี น/พอเพียง
ลกั ษณะ รูปแบบงานทศั นศิลปของ พระบรมราโชบาย
การใฝเ รยี นรู ชาตแิ ละทองถ่ิน
มุงมัน่ ในการทำงาน
ใช รักความเปนไทย

ใช

ใช การใฝเรียนรู งานทัศนศลิ ปภ าคตา ง ๆ ใน
มงุ มั่นในการทำงาน ประเทศไทย
รักความเปนไทย

50

5

ตวั ชวี้ ัดชัน้ ป/ผลการเรียนรู

ความรู K ทกั ษะกระบวนการ

3. เปรยี บเทียบความแตกตา งของ ความแตกตางของ ความสามารถในการใ
จุดประสงคใ นการสรา งสรรคงาน จดุ ประสงคใ นการ ความคดิ
ทัศนศลิ ปของวฒั นธรรมไทยและสากล สรางสรรคง าน ความสามารถในการ
แกปญหา
ทัศนศิลปข อง
วัฒนธรรมไทยและ
สากล

51

สาระการเรยี นรแู กนกลาง/ทองถ่ิน

P คณุ ลกั ษณะ A สาระสำคัญ สาระทอ งถิน่ /อาเซยี น/พอเพียง

พระบรมราโชบาย

ใช การใฝเรยี นรู ความแตกตา งของงาน เปรียบการสรา งสรรคง าน

มงุ มั่นในการทำงาน ทัศนศลิ ป ในวัฒนธรรม ทัศนศลิ ปของประเทศไทยและ

รักความเปนไทย ไทยและสากล ประเทศอาเซียน

51

52

คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน
ศิลปะพ้นื ฐาน ศ 21101 (ทัศนศิลป) กลุมสาระการเรียนรศู ิลปะ
ชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หนวยกติ
*************************************************************************

ศึกษา รูเขา ใจความแตกตางและความคลายคลงึ กันของงานทัศนศิลปและส่ิงแวดลอมโดยใชค วามรู
เร่ืองทัศนธาตุ และหลักการออกแบบงานทัศนศิลป โดยเนนความเปนเอกภาพความกลมกลืน และความ
สมดุล วาดภาพทัศนียภาพแสดงใหเห็นระยะไกลใกล เปน 3 มิติ รวบรวมงานปนหรือส่ือผสมมาสรา ง
เปนเร่ืองราว 3 มิติโดยเนนความเปนเอกภาพ ความกลมกลืน และส่ือถึงเร่ืองราวของงานไดอยางมีจิตนาการ
และสรางสรรค อกี ท้ังการออกแบบรปู ภาพ สัญลกั ษณหรือกราฟกตา ง ๆ รวมถึงการนำเสนอความคดิ และ
ขอมูลในการพัฒนาผลงาน เทคนิควิธีการในการปรับปรุงงานของตนเองและผูอื่นโดยใชเกณฑที่
กำหนดให ระบุและบรรยายรูปแบบความงามในงานทัศนศิลปของชาติและของทองถ่ินตนเองจากอดีต
จนถึงปจจุบัน เปรียบเทียบงานทัศนศิลปของภาคตาง ๆ ในประเทศไทย และความแตกตางของ
จุดประสงคในการสรางสรรคงานทัศนศิลปข องวฒั นธรรมไทย วฒั นธรรมอาเซียนและวัฒนธรรมสากล

โดยใชกระบวนการทางศิลปะใหเกิดผลงานอยางมุงมั่นต้ังใจ การสังเกต แสวงหาความรู เทคนิค
และวิธีการของศิลปนท่ีมีชื่อเสียงโดยนอมนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในเลือกใชสื่อ วัสดุ-อุปกรณ
จากธรรมชาติและสิง่ แวดลอ มเพื่อใหเกิดเปนแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงานจนสามารถนำความรู
และจินตนาการไปประยกุ ตใ ชใ นชีวติ ประจำวนั ไดอยางเหน็ คุณคา

เพื่อเห็นคุณคา ชื่นชมในงานทัศนศิลปและสามารถนำไปวิเคราะหและประยุกตใชในงานอ่ืนๆ วิเคราะห
สถานะทางสังคมของงานทัศนศิลปในวฒั นธรรม ทั้งไทยและประเทศเพ่ือนบานในอาเซียน และบทบาทของทัศนศลิ ป
ในการปรบั ตัวและสะทอนแนวความคิดและคานิยมทเี่ ปลีย่ นไปของสงั คม

รหัสตัวช้ีวัด
ศ 1.1 ม.1/1,ศ 1.1 ม.1/3,ศ 1.1 ม.1/3,ศ 1.1ม.1/4,ศ 1.1 ม.1/5,ศ 1.1 ม.1/6,
ศ 1.2 ม.1/7,ศ 1.2 ม.1/8,ศ 1.2 ม.1/9,
รวม 9 ตวั ชวี ัด

52

5

โครงสรา

วิชาศลิ ปะพ้นื ฐาน(ทศั นศลิ ป) รห
ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 1 เวลา

หนว ย ชอื่ หนวยการ มาตรฐาน./ตัวชี้วัด

ท่ี เรียนรู ผลการเรียนรู

1 ความรพู นื้ มาตรฐาน ที่ ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตาม 

เก่ยี วกบั จินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห

ทศั นศิลป วิพากษวิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอด

ความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระชื่นชม

และประยกุ ตใชในชีวติ ประจำวัน

ตวั ชวี้ ัดที่

1. บรรยายความแตกตา งและความคลา ยคลึงกัน

ของงานทศั นศลิ ปแ ละสง่ิ แวดลอ มโดยใชความรเู ร่ือง

ทัศนธาตุ

2. ระบุ และบรรยายหลักการออกแบบงาน

ทัศนศิลป โดยเนนความเปนเอกภาพความ

กลมกลนื และความสมดุล

53

างรายวิชา

หสั วิชา ศ 21101 ภาคเรียนท่ี 1
40 ชั่วโมง จำนวน 1 หนว ยกติ

สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั

(ชม.) คะแนน

 ความแตกตา งและความคลา ยคลงึ กนั ของงานทัศนศลิ ป 8 20

และส่งิ แวดลอ มโดยใชความรูเร่ืองทศั นธาตุ

 หลกั การออกแบบงานทัศนศลิ ป โดยเนนความเปนเอกภาพ

ความกลมกลืน และความสมดุล

53

5

2 สรา งสรรค 3.วาดภาพทัศนียภาพแสดงใหเหน็ ระยะไกลใกล 

งานทัศนศิลป เปน 3 มติ ิ

4.รวบรวมงานปนหรอื สื่อผสม

มาสรางเปน เรือ่ งราว ๓ มติ โิ ดยเนนความเปนเอกภาพ

ความกลมกลนื และการสอื่ ถึงเรอื่ งราวของงาน

5. ออกแบบรปู ภาพ สญั ลกั ษณ หรอื

กราฟกอ่นื ๆ ในการนำเสนอความคิดและขอมูล

6.ประเมินงานทศั นศลิ ป และบรรยายถึงวิธีการ

ปรบั ปรงุ งานของตนเองและผูอ ่นื โดยใชเกณฑท ี่

กำหนดให

54

 วาดภาพทัศนียภาพแสดงใหเ ห็นระยะไกลใกล เปน 3 มิติ 12 40
 รวบรวมงานปนหรอื สือ่ ผสมมาสรา งเปน เรือ่ งราว 3 มติ โิ ดย

เนนความเปน เอกภาพ ความกลมกลนื และการสือ่ ถึง

เรอ่ื งราวของงาน ออกแบบรูปภาพ สญั ลกั ษณ

หรือกราฟกอืน่ ๆ ในการนำเสนอความคดิ และขอ มลู
 ประเมินงานทัศนศลิ ป และวิธีการปรับปรงุ งานของตนเอง

และผอู ่นื โดยใชเ กณฑต ามที่กำหนด

54

5

3 ศิลปะกบั มาตรฐาน ที่ ศ 1.2 เขา ใจความสมั พนั ธร ะหวาง 
วัฒนธรรม ทศั นศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็น
คณุ คา งานทัศนศลิ ปท ่ีเปน มรดกทางวัฒนธรรม 
ภูมิปญ ญาทอ งถน่ิ ภูมปิ ญญาไทย และสากล 
ตวั ชว้ี ดั ที่
1.ระบุ และบรรยายเก่ียวกับลักษณะ รูปแบบงาน
ทัศนศลิ ปของชาติและของทองถน่ิ ตนเองจาก
อดีตจนถึงปจจุบัน
2.ระบุ และเปรียบเทียบงานทัศนศลิ ปข องภาค
ตา ง ๆ ในประเทศไทย
3. เปรยี บเทยี บความแตกตางของจุดประสงคใน
การสรา งสรรคง านทัศนศลิ ปของวัฒนธรรมไทย
และสากล

55

 ลกั ษณะ รปู แบบงานทศั นศลิ ปของชาติและของทองถนิ่ 20 40

ตนเองจากอดีตจนถึงปจ จุบัน
 งานทัศนศิลปของภาคตา ง ๆ ในประเทศไทย
 การสรางสรรคง านทัศนศลิ ปของวฒั นธรรมไทยและสากล

55

56

แบบบนั ทึกการวเิ คราะหตัวชว้ี ัด
คำอธบิ ายรายวชิ า
โครงสรา งรายวิชา

สาระท่ี 1 ทศั นศลิ ป

ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 2
รายวชิ า ศิลปะพ้นื ฐาน

56

5

แบบ

การวเิ คราะหเ พอ่ื จัดทำคำอธิบาย
กลมุ สาระการเรียนรศู ิลป

สาระที่ 1 ทัศนศลิ ป
มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคง านทัศนศลิ ปตามจนิ ตนาการ และความคดิ สรางสรรค วิเ

ศิลปะอยา งอสิ ระชนื่ ชม และประยุกตใชใ นชวี ิตประจำวัน

ตัวชีว้ ดั ชัน้ ป/ ผลการเรียนรู สาระการเร
ทักษะกระบวนการ P
ความรู K

1. อภิปรายเกี่ยวกับทัศนธาตุในดาน ทศั นธาตุในดาน ความสามารถในการ
รูปแบบ และแนวคดิ ของงานทัศนศลิ ป รปู แบบ และแนวคดิ สอ่ื สาร
ทเ่ี ลอื กมา ของงานทศั นศิลปท ่ี ความสามารถในการ
เลือกมา คิด
2. บรรยายเกี่ยวกับความเหมือนและ
ความแตกตา งของรูปแบบการใชว ัสดุ ความเหมอื นและ ความสามารถในการ
อุปกรณในงานทัศนศลิ ปของศิลปน ความแตกตางของ สือ่ สาร
รปู แบบการใชวัสดุ ความสามารถในการ
อปุ กรณในงาน คิด
ทัศนศิลปของศลิ ปน

\

57

บบันทกึ

ยรายวิชาระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนตน
ปะ ระดับชั้น ม. 2

เคราะห วิพากษ วิจารณค ณุ คางานทัศนศลิ ป ถายทอดความรูส ึก ความคิดตองาน

รยี นรแู กนกลาง/ทองถน่ิ สาระสำคญั สาระทอ งถิ่น/อาเซยี น/
P คณุ ลกั ษณะ A พอเพยี ง/

พระบรมราโชบาย

ใฝเ รียนรู รปู แบบของทัศนธาตุและ

มุงมนั่ ในการทำงาน แนวคดิ ในงานทัศนศลิ ป

ใฝเ รยี นรู ความเหมือนและความ
มุงม่ันในการทำงาน แตกตางของรปู แบบการใช
วัสดุ อุปกรณใ นงาน
ทศั นศิลปข องศลิ ปน

57

5

ตวั ชี้วัดชั้นป/ ผลการเรียนรู สาระการเ
ทกั ษะกระบวนการ
ความรู K

3. วาดภาพดว ยเทคนคิ ที่หลากหลาย เทคนคิ ที่หลากหลาย ความสารถในการ
ในการสือ่ ความหมายและเรอื่ งราวตาง ในการสอื่ แกป ญหา
ๆ ความหมายและ ความสารถในการใช
เร่ืองราวตาง ๆ ทักษะชีวิต

4. สรางเกณฑในการประเมิน เกณฑในการ ความสารถในการ

และวิจารณงานทัศนศลิ ป ประเมนิ แกป ญหา

และวิจารณง าน ความสารถในการใช

ทศั นศลิ ป ทกั ษะชวี ิต

5. ผลการวิจารณไปปรบั ปรุงแกไ ขและ วจิ ารณไ ปปรบั ปรุง ความสารถในการ

พฒั นางาน แกไขและพฒั นางาน แกป ญหา

ความสารถในการใช

ทกั ษะชีวิต

6. วาดภาพแสดงบุคลิกลักษณะ ภาพแสดง ความสารถในการใช

ของตัวละคร บุคลิกลักษณะ ทักษะชีวติ

ของตัวละคร

58

เรียนรแู กนกลาง/ทองถ่นิ สาระสำคญั สาระทอ งถ่นิ /อาเซยี น/
ร P คณุ ลักษณะ A
พอเพียง/
ใฝเรยี นรู
มุง ม่นั ในการทำงาน พระบรมราโชบาย

เทคนิคในการวาดภาพ วาดภาพเหตุการณส ำคญั

ส่ือความหมาย ของประเทศอาเซยี น

ใฝเรียนรู การประเมินและ
มุงมัน่ ในการทำงาน วจิ ารณงานทศั นศิลป
ชือ่ สัตยสจุ รติ
การพัฒนางาน วาดและวิเคราะหบุคลิก
ใฝเรยี นรู ทัศนศลิ ป ตา งๆของตัวละครอยา งมี
มุงมนั่ ในการทำงาน เหตุผล
การจดั ทำแฟม
ใฝเ รียนรู สะสมงานทัศนศิลป
มงุ ม่ันในการทำงาน
การวาดภาพถา ย
ทอดบุคลกิ ลกั ษณะ
ของตวั ละคร

58

5

ตัวชว้ี ดั ชัน้ ป/ผลการเรียนรู สาระการเ
ทักษะกระบวนการ P
ความรู K

7. บรรยายวิธีการใชง านทศั นศลิ ป วธิ ีการใชง าน ความสามารถในการ
ในการโฆษณาเพื่อโนม นาวใจ ทัศนศลิ ป สือ่ สาร
และนำเสนอตวั อยา งประกอบ ในการโฆษณาเพ่ือ ความสามารถในการ
โนมนาวใจ คดิ
และนำเสนอ
ตวั อยา งประกอบ

59

เรียนรแู กนกลาง/ทองถ่ิน สาระสำคญั สาระทอ งถน่ิ /อาเซยี น/
P คณุ ลกั ษณะ A พอเพยี ง/

ใฝเ รียนรู งานทัศนศลิ ปในการโฆษณา พระบรมราโชบาย
มงุ มน่ั ในการ
ทำงาน สรา งงานทศั นศลิ ปเพ่ือการ
โฆษณาอยางครอบคลมุ โดย
สามารถนำไปใชไ ดจรงิ

59

6

แบบ

การวิเคราะหเ พ่อื จัดทำคำอธิบาย
กลุมสาระการเรียนรศู ิลป

สาระที่ 1 ทัศนศิลป
มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธร ะหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรร

ไทย และสากล
ตัวช้วี ดั ชั้นป/ผลการเรียนรู

ความรู K ทกั ษะกระบวนการ

1. ระบุ และบรรยายเก่ียวกบั วัฒนธรรมตาง บรรยายเก่ียวกับ ความสามารถในการ
ๆ ท่สี ะทอนถึงงานทศั นศิลปในปจ จบุ นั วฒั นธรรมตา ง ๆ ท่ี สื่อสาร
ความสามารถในการ
สะทอ นถึงงาน
ทศั นศลิ ปในปจจุบนั

2. บรรยายถึงการเปล่ียนแปลงของ การเปล่ยี นแปลงของ ความสามารถในการ
งานทัศนศลิ ปของไทยในแตล ะยุคสมัย งานทัศนศิลปข องไทย สื่อสาร
โดยเนน ถงึ แนวคดิ และเนอ้ื หาของงาน ในแตละยุคสมยั โดย ความสามารถในการ
เนน ถึงแนวคิดและ
เนอ้ื หาของงาน

60

บบันทึก

ยรายวิชาระดับ มัธยมศกึ ษาตอนตน
ปะ ระดบั ช้ัน ม. 2

รม เหน็ คุณคา งานทศั นศลิ ปทเี่ ปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญญาทอ งถนิ่ ภมู ิปญญา

สาระการเรยี นรูแ กนกลาง/ทอ งถ่นิ

ร P คณุ ลักษณะ A สาระสำคญั สาระทอ งถิ่น/อาเซียน/
พอเพยี ง/

พระบรมราโชบาย

มงุ มน่ั ในการทำงาน วฒั นธรรมทส่ี ะทอนในงาน วาดภาพพรอมระบุแรง
รกั ความเปนไทย ทศั นศิลปปจจุบนั บนั ดาลใจของภาพจาก
คดิ วฒั นธรรมของทองถน่ิ
ตนเอง

มุงมนั่ ในการทำงาน งานทศั นศลิ ปของไทยในแตล ะ
คดิ ยคุ สมยั

60

6

ตวั ชว้ี ัดชัน้ ป/ผลการเรียนรู

ความรู K ทกั ษะกระบวนการ

3.เปรยี บเทยี บแนวคดิ ในการออกแบบ เปรียบเทยี บแนวคดิ ความสามารถในการค
งานทัศนศิลปทีม่ าจาก วัฒนธรรมไทย ในการออกแบบงาน ความสารถในการ
และสากล ทัศนศลิ ปทม่ี าจาก แกปญหา
วัฒนธรรมไทยและ
สากล

61

สาระการเรียนรแู กนกลาง/ทองถน่ิ

P คุณลกั ษณะ A สาระสำคญั สาระทอ งถิ่น/อาเซียน/

พอเพยี ง/

พระบรมราโชบาย

คดิ มุงม่ันในการทำงาน การออกแบบงานทัศนศิลป เปรียบเทยี บแนวคดิ ของศลิ ปะ

รกั ความเปนไทย ในวฒั นธรรมไทยและสากล ของไทยกบั สากล

61

62

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน
ศลิ ปะพื้นฐาน ศ 22102 (ทัศนศิลป) กลุมสาระการเรยี นรูศลิ ปะ
ช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หนวยกิต
*************************************************************************

ศึกษา รูและเขาใจ เกี่ยวกับ ทัศนธาตุที่สัมพันธกับ รูปแบบ แนวคิดของงานทัศนศิลป ความเหมือน
และความแตกตางของรูปแบบ การใชวัสดุอุปกรณในงานทัศนศิลปของศิลปน สามารถวาดภาพแสดง
บุคลิกลักษณะของตัวละครดวยเทคนิคท่ีหลากหลายในการส่ือความหมายและเรอื่ งราวตาง ๆ นำเสนอ
ความคิดในการสรางเกณฑในการประเมินและวิจารณงานทัศนศลิ ป เพื่อใหเกิดปรับปรุงแกไขและพัฒนา
งาน วิธีการใชงานทัศนศิลปในการโฆษณาเพ่ือโนมนาวใจ และนำเสนอตัวอยางประกอบ ระบุ และ
บรรยายเกี่ยวกับวัฒนธรรมตาง ๆในทองถ่ิน ท่ีสะทอ นถึงงานทัศนศลิ ปในปจจุบัน และการเปลี่ยนแปลงของงาน
ทัศนศลิ ปของไทยในแตละยุคสมัยโดยเนนถึงแนวคิดและเนื้อหาของงานสามารถเปรียบเทียบแนวคิดใน
การออกแบบงานทัศนศิลปท มี่ าจากวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมอาเซียนและสากล

โดยเนนกระบวนการทางศิลปะสรางสรรค วิเคราะห ส่ือสารและนำเสนอ มุงม่ันในการทำงาน
อยางตง้ั ใจ และมวี ินัยในการศึกษาสังเกต แสวงหาความรู เทคนิคและวิธีการของศลิ ปน ตนแบบ โดยนอม
นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในการเลือกใชสื่อ วัสดุ-อุปกรณ จากธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพ่ือให
เกดิ เปนแรงบันดาลใจในการสรา งสรรคผลงานตามจินตนาการ

เพื่อนำความรูความเขาใจไปประยุกตใชในชีวิตประจำวันไดอยางเห็นคุณคา ช่ืนชม ในงาน
ทัศนศิลปของไทยและสากลในแตละยุคสมัย วิธีการใชงานทัศนศิลปในการโฆษณาเพื่อโนมนาวใจ และ
นำเสนอตวั อยา งประกอบ เพ่อื ใหเ กดิ ปรับปรุงแกไ ขและพฒั นางาน

รหัสตวั ชี้วัด
ศ 1.1 ม.2/1,ศ 1.1 ม.2/2,ศ 1.1 ม.2/3,ศ 1.1 ม.2/4,ศ 1.1 ม.2/5,ศ 1.1 ม.2/6,ศ 1.1 ม.2/7
ศ 1.2 ม.2/1,ศ 1.2 ม.2/2,ศ 1.2 ม.2/3,
รวม 10 ตัวชีวดั

62

6

โครงสรา

วิชาศิลปะพืน้ ฐาน(ทัศนศลิ ป) ร
ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 2 เวลา

หนวย ชื่อหนวยการ มาตรฐาน /ตัวชี้วัด

ท่ี เรียนรู ผลการเรยี นรู

1 ความรูทั่วไป มาตรฐาน ท่ี ศ 1.1 สรา งสรรคง านทัศนศลิ ปต าม

เกี่ยวกบั จินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห

ทศั นศิลป วิพากษวิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอด

ความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระชื่น

ชม และประยุกตใ ชในชวี ิตประจำวัน

ตัวช้ีวัดท่ี
1. อภิปรายเกี่ยวกบั ทัศนธาตใุ นดานรูปแบบ
และแนวคดิ ของงานทศั นศลิ ปท่เี ลือก

มา
2. บรรยายเกย่ี วกับความเหมือนและ

ความแตกตา งของรูปแบบการใชว สั ดุ

อุปกรณในงานทัศนศิลปของศิลปน

63

างรายวชิ า

รหัสวิชา ศ 22102 ภาคเรียนท่ี 2
40 ช่ัวโมง จำนวน 1 หนว ยกิต

เนอ้ื หาสาระ เวลา น้ำหนกั

(ชม.) คะแนน

 ความรูทวั่ ไปเก่ียวกบั ทัศนธาตใุ นดานรูปแบบ และแนวคดิ ของ 12 30

งานทศั นศิลป

 ความรูเกย่ี วกับความเหมือนและความแตกตางของ

รูปแบบการใชว ัสดุอุปกรณใ นงานทัศนศลิ ปของศลิ ปน

63

6

2 พฒั นา 3. วาดภาพดวยเทคนคิ ท่หี ลากหลาย
สรางสรรค ในการสอ่ื ความหมายและเรอื่ งราวตา ง


4. สรางเกณฑในการประเมนิ
และวิจารณงานทัศนศิลป

5. ผลการวิจารณไปปรับปรุงแกไขและ
พฒั นางาน

6. วาดภาพแสดงบคุ ลิกลกั ษณะ
ของตวั ละคร

7. วาดภาพแสดงบคุ ลิกลกั ษณะ
ของตัวละคร

64

 การวาดภาพดวยเทคนิคทหี่ ลากหลาย ในการสื่อ
ความหมายและเรอื่ งราวตา ง ๆ

 สรา งเกณฑในการประเมนิ และวิจารณงานทัศนศลิ ป 16 40
 การวิจารณไปปรับปรุงแกไขและพัฒนางาน

 วาดภาพแสดงบุคลิกลักษณะของตวั ละคร
 วธิ ีการใชง านทศั นศิลป ในการโฆษณาเพอ่ื โนมนาวใจ

และนำเสนอตวั อยางประกอบ

64

6

3 ประวัติศาสตร มาตรฐานท่ี ศ 1.2 เขา ใจความสัมพนั ธ
กับงาน ระหวางทศั นศิลป ประวัติศาสตร และ
ทศั นศลิ ป วฒั นธรรม เห็นคุณคา งานทัศนศิลปที่เปน มรดก
ทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมปิ ญญาไทย
และสากล
ตัวช้ีวดั ที่
1. ระบุ และบรรยายเกยี่ วกับวัฒนธรรมตาง ๆ
ท่ีสะทอ นถงึ งานทศั นศลิ ปใ นปจ จุบนั
2. บรรยายถงึ การเปลีย่ นแปลงของ
งานทัศนศิลปของไทยในแตล ะยุคสมยั โดย
เนน ถงึ แนวคิดและเนื้อหาของงาน
3. เปรยี บเทยี บแนวคดิ ในการออกแบบงาน
ทัศนศิลปท่ีมาจาก วัฒนธรรมไทยและ
สากล

65

 วัฒนธรรมตาง ๆ ทส่ี ะทอนถงึ งานทัศนศิลปใ นปจจุบนั 12 30

 การเปลย่ี นแปลงของงานทัศนศลิ ปข องไทยในแตละยุค

สมัยโดยเนนถงึ แนวคดิ และเนื้อหาของงาน

 แนวคดิ ในการออกแบบงานทัศนศลิ ปทม่ี าจาก

วัฒนธรรมไทยและสากล

65

66

แบบบนั ทึกการวเิ คราะหตัวชว้ี ัด
คำอธบิ ายรายวชิ า
โครงสรา งรายวิชา

สาระท่ี 1 ทศั นศลิ ป

ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 3
รายวชิ า ศิลปะพ้ืนฐาน

66

6

แบบ

การวเิ คราะหเพื่อจดั ทำคำอธิบาย
กลมุ สาระการเรยี นรูศิลป

สาระท่ี 1 ทัศนศิลป
มาตรฐาน ศ 1.1 สรา งสรรคง านทศั นศลิ ปตามจนิ ตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเ

ศลิ ปะอยา งอิสระช่ืนชม และประยกุ ตใชในชวี ติ ประจำวัน

ตวั ช้วี ดั ชั้นป/ผลการเรยี นรู

ความรู K ทักษะกระบวนการ P

1. บรรยายสงิ่ แวดลอ ม และงาน ส่งิ แวดลอม และงาน ความสารถในการ
ทศั นศลิ ปทเี่ ลอื กมาโดยใชความรเู รือ่ ง ทัศนศลิ ปทเี่ ลือกมา ส่ือสาร
ทศั นธาตุ และหลกั การออกแบบ โดยใชความรเู ร่ือง ความสามารถในการ
ทศั นธาตุ และ คดิ
2. ระบุ และบรรยายเทคนิค วิธีการ หลักการออกแบบ
ของศลิ ปน ในการสรา งงาน ทัศนศิลป
เทคนคิ วิธีการ ของ ความสารถในการ
ศลิ ปน ในการสรา ง ส่ือสาร
งาน ทัศนศิลป ความสามารถในการ

คิด
ความสารถในการ
แกป ญ หา

67

บบันทึก

ยรายวิชาระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนตน
ปะ ระดบั ช้นั ม. 3

เคราะห วิพากษ วจิ ารณค ณุ คา งานทัศนศิลป ถา ยทอดความรูสึก ความคิดตอ งาน

สาระการเรียนรูแ กนกลาง/ทอ งถิ่น

P คณุ ลกั ษณะ A สาระสำคัญ สาระทองถน่ิ /อาเซียน/
พอเพียง/

พระบรมราโชบาย

ใฝเรยี นรู ทศั นธาตุ หลักการ
ออกแบบในสง่ิ แวดลอ ม
และงานทัศนศิลป

ใฝเรยี นรู เทคนิควธิ ีการของศลิ ปน ใน บรรยายงานของศลิ ปนของไทย
มงุ มนั่ ในการ การสรา งงานทัศนศลิ ป และประเทศอาเซียน
ทำงาน

67

6

ตวั ชีว้ ัดชัน้ ป/ ผลการเรียนรู

ความรู K ทักษะกระบวนการ P

3. วเิ คราะห และบรรยายวิธกี ารใช วิธีการใช ทัศนธาตุ ความสารถในการ
ทศั นธาตุ และหลกั การออกแบบใน
การสรางงานทัศนศลิ ปของตนเอง และหลักการ ส่ือสาร
ใหม ีคณุ ภาพ
ออกแบบในการ ความสามารถในการ
4. มีทักษะในการสรา งงานทัศนศลิ ป
อยางนอย 3 ประเภท สรา งงานทศั นศลิ ป คดิ

5. มที กั ษะในการสรา งงานทศั นศลิ ป ของตนเอง ความสารถในการ
อยา งนอย 3 ประเภท
ใหม คี ุณภาพ แกปญหา

การสรา งงาน ความสามารถในการ

ทศั นศลิ ปอยางนอย คดิ

3 ประเภท ความสารถในการ

แกปญ หา

การผสมผสานวัสดุ ความสามารถในการ

ตาง ๆ ในการสราง คิด

งานทศั นศลิ ปโ ดยใช ความสารถในการ

หลกั การออกแบบ แกป ญ หา

68

สาระการเรียนรูแกนกลาง/ทอ งถนิ่

P คุณลักษณะ A สาระสำคญั สาระทองถิน่ /อาเซียน/
พอเพยี ง/
ใฝเ รยี นรู วิธีการใชทศั นธาตแุ ละหลกั การ
มงุ มน่ั ในการ ออกแบบในการสรา งงาน พระบรมราโชบาย
ทำงาน ทัศนศิลป
สรา งงานทัศนศลิ ปทเ่ี กยี่ วกับ
ทองถิน่ ตนเอง

ใฝเ รียนรู การสรา งงานทัศนศลิ ปทั้งไทย
มุงมั่นในการ และสากล
ทำงาน
การใชห ลกั การออกแบบในการ
ใฝเ รียนรู สรางงานส่ือผสม
มงุ มน่ั ในการ
ทำงาน

68

6

ตวั ชวี้ ดั ชัน้ ป/ ผลการเรียนรู

ความรู K ทกั ษะกระบวนการ P

6. สรา งงานทัศนศิลป ท้ัง 2 มิติ และ ทศั นศิลป ทัง้ 2 มติ ิ ความสามารถในการ
3 มิติ เพ่ือถา ยทอดประสบการณแ ละ
จนิ ตนาการ และ 3 มติ ิ เพื่อ คดิ

7. สรางสรรคงานทัศนศิลปส ่ือ ถา ยทอด ความสามารถในการ
ความหมายเปน เรอ่ื งราว โดย
ประยุกตใ ชทัศนธาตุ และหลักการ ประสบการณและ ใชทักษะชวี ิต
ออกแบบ
จินตนาการ
8. วิเคราะหและอภิปรายรปู แบบ
เน้ือหาและคณุ คา ในงานทศั นศลิ ป งานทศั นศิลปส่ือ ความสารถในการ
ของตนเอง และผอู นื่ หรอื ของศิลปน
ความหมายเปน แกปญหา

เร่ืองราว โดย ความสามารถในการ

ประยุกตใชท ัศนธาตุ คดิ

และหลกั การ

ออกแบบ

รูปแบบ เนอื้ หาและ ความสามารถในการ

คุณคา ในงาน คดิ

ทัศนศลิ ป ของ ความสามารถในการ

ตนเอง และผูอน่ื ใชท กั ษะชวี ิต

หรือของศลิ ปน

69

สาระการเรยี นรแู กนกลาง/ทองถิ่น

P คณุ ลกั ษณะ A สาระสำคญั สาระทองถน่ิ /อาเซยี น/พอเพียง/

พระบรมราโชบาย

ใฝเรยี นรู การสรางงานทัศนศลิ ปแบบ 2 สรา งสรรคง านทัศนศลิ ปทส่ี ่อื

มงุ มัน่ ในการ มิติ และ 3 มติ ิ เพ่ือ ความหมายเกีย่ วกับพระบรมรา

ทำงาน ถายทอดประสบการณ และ โชบายของรชั กาลท่ี 10 ดา นใดก็

จินตนาการ ได

มงุ มั่นในการ การประยุกตใชทศั นธาตุ
ทำงาน และหลักการออกแบบสราง
งานทัศนศิลป

ใฝเ รยี นรู การวเิ คราะหร ูปแบบ
เนือ้ หา และคุณคา
ในงานทัศนศิลป

69

7

ตวั ช้วี ดั ชัน้ ป/ ผลการเรียนรู ความรู K ทักษะกระบวนการ P

9. สรา งสรรคง านทัศนศิลปเพื่อ งานทศั นศลิ ปเ พ่ือ ความสารถในการ
บรรยายเหตุการณตาง ๆ โดยใช บรรยายเหตุการณ แกปญหา
เทคนิคท่ีหลากหลาย ตาง ๆ โดยใช ความสามารถในการ
เทคนิคท่หี ลากหลาย คดิ

10.ระบุอาชพี ท่ีเก่ยี วของกบั งาน งานทศั นศิลปและ ความสามารถในการ
ทัศนศลิ ปแ ละทักษะท่ีจำเปนในการ ทักษะทจ่ี ำเปน ใน คดิ
ประกอบอาชีพน้นั ๆ การประกอบอาชีพ ความสามารถในการ
น้ัน ๆ ใชทกั ษะชีวิต

11.เลือกงานทศั นศลิ ปโดยใชเกณฑท ี่ กำหนดขน้ึ อยาง ความสามารถในการ
กำหนดขึน้ อยางเหมาะสม และนำไป เหมาะสม และนำไป คดิ
จดั นทิ รรศการ จัดนทิ รรศการ ความสามารถในการ

ใชท กั ษะชีวิต

70

สาระการเรยี นรูแกนกลาง/ทอ งถิน่

P คุณลกั ษณะ A สาระสำคัญ สาระทอ งถน่ิ /อาเซียน/

พอเพยี ง/

พระบรมราโชบาย

มุงมนั่ ในการ การใชเ ทคนคิ วิธกี ารที่ สรา งงานทัศนศลิ ปที่สื่อความ

ทำงาน หลากหลายสรา งงานทัศนศลิ ป หมายถงึ เหตุการณสำคัญใน

เพือ่ สื่อความหมาย ทอ งถ่ิน

มงุ มัน่ ในการ การประกอบอาชีพทาง บอกถึงอาชีพที่เกยี่ วของกับงาน
ทำงาน ทัศนศลิ ป ทศั นศลิ ปอยางมเี หตผุ ล

ใฝเรียนรู การจดั นทิ รรศการ
มงุ ม่นั ในการ
ทำงาน

70

7

แบบการวิเคราะหเพ่ือจัดทำคำอธบิ
กลมุ สาระการเรยี นรศู ิลป

สาระท่ี 1 ทศั นศลิ ป
มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสมั พนั ธร ะหวางทัศนศลิ ป ประวัติศาสตร และวัฒนธรร

ไทย และสากล

ตวั ช้ีวดั ชัน้ ป/ผลการเรียนรู

ความรู K ทักษะกระบวนการ P

1. ศึกษาและอภิปรายเกีย่ วกบั งาน งานทัศนศลิ ป ที่ ความสามารถในการ
ทัศนศลิ ป ท่สี ะทอนคุณคา ของ สะทอ นคุณคา ของ สือ่ สาร
วฒั นธรรม วฒั นธรรม ความสามารถในการ
คดิ
2. เปรียบเทียบความแตกตา งของ
งานทศั นศลิ ปในแตล ะยุคสมยั ความแตกตา งของ ความสามารถในการ
ของวฒั นธรรมไทยและสากล งานทศั นศลิ ปในแต สือ่ สาร
ละยุคสมยั ความสามารถในการ
ของวฒั นธรรมไทย คดิ
และสากล

71

บายรายวิชาระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนตน
ปะ ระดบั ช้ัน ม. 3

รม เห็นคุณคางานทัศนศลิ ปทเ่ี ปนมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญญาทอ งถิน่ ภูมิปญ ญา

สาระการเรยี นรแู กนกลาง/ทอ งถ่ิน

P คุณลกั ษณะ A สาระสำคญั สาระทองถิ่น/อาเซียน/
พอเพียง/

พระบรมราโชบาย

ใฝเรยี นรู งานทัศนศิลปกบั การสะทอน
รกั ความเปน ไทย คณุ คา ของวัฒนธรรม

ใฝเรียนรู ความแตกตางของงาน
รักความเปนไทย ทศั นศลิ ปใ นแตล ะยุคสมยั ของ
วัฒนธรรมไทยและสากล

71

72

คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน
ศลิ ปะพนื้ ฐาน ศ 23101 (ทัศนศิลป) กลมุ สาระการเรยี นรูศิลปะ
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หนวยกติ
*************************************************************************
ศกึ ษา รูและเขาใจ ความรเู ร่อื งหลักการออกแบบโดยใชทัศธาตุ และสิ่งแวดลอม ระบุ บรรยาย
เทคนิค วิธีการของศิลปนที่มีชื่อเสียงในการสรางงานทัศนศิลป วิเคราะห วิธีการใช ทัศนธาตุ และ
หลักการออกแบบในการสรางงานทัศนศิลปของตนเองใหมีคุณภาพเกิดทักษะในการสรางงานทัศนศิลป
การผสมผสานวสั ดุตาง ๆ โดยใชหลักการในการออกแบบ สรางงานทัศนศิลป ทั้ง 2 มิติ และ 3 มติ ิ เพ่ือ
ถายทอดประสบการณแลจินตนาการ สื่อความหมายเปนเรื่องราวตาง ๆโดยประยุกตใชทัศนธาตุ
หลักการออกแบบ วิเคราะห อภิปราย รูปแบบ เน้ือหาและคณุ คาในงานทัศนศิลปของตนเอง และผูอ่ืน
หรือของศิลปนตนแบบ สรางสรรคงานทัศนศิลปเพื่อบรรยายเหตุการณตาง ๆ โดยใชเทคนิคที่
หลากหลาย ระบุ อาชีพที่เกี่ยวของกับงานทัศนศิลปและทักษะท่ีจำเปนในการประกอบอาชีพนั้น ๆ
เลือกงานทัศนศิลปโดยใชเกณฑที่กำหนดข้ึนอยางเหมาะสม และนำไป จัดนิทรรศการ นำเสนอ อภิปราย
และเปรียบเทียบเกี่ยวกับงานทัศนศิลปที่สะทอนคุณคาในความงามของวฒั นธรรมไทย ความแตกตางของ
งานทศั นศลิ ปใ นแตล ะยคุ สมยั ของวัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมอาเซียนและวัฒนาธรรมสากล
โดยเนนกระบวนการทางศิลปะ คิดสรางสรรคแ ละส่อื สารทางผลงาน อยา งมุง มน่ั ต้ังใจ มีเหตุผล
มีวินัยในการศึกษาสังเกต แสวงหาความรู เทคนิคและวิธีการของศิลปนท่ีมีช่ือเสียง โดยนอมนำหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการเลือกใชส่ือ วัสด-ุ อุปกรณ จากธรรมชาติและส่ิงแวดลอมเพื่อใหเกิดเปน
แรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงานตามจินตนาการ สามารถนำความรูความเขาใจไปประยุกตใชใน
ชีวิตประจำวนั ไดอ ยา งเห็นคุณคา และนาช่ืนชม เกิดความภาคภูมิใจ และสามารถตอยอดเปนอาชีพตาม
ความสามารถของตนเองได
เพื่อใหเห็นคุณคาในงานทัศนศิลปของตนเองและผูอ่ืนหรือของศิลปนตนแบบเพ่ือสรางสรรค
ทัศนศิลปโดยใชเทคนิคท่ีหลากหลายและสามารถประกอบอาชีพที่เกี่ยวของกับงานทัศนศิลปไดอยาง
เหมาะสม

รหัสตวั ชี้วดั
ศ 1.1 ม.3/1,ศ 1.1 ม.3/2,ศ 1.1 ม.3/3,ศ 1.1 ม.3/4,ศ 1.1 ม.3/5,ศ 1.1 ม.3/6,ศ1.1ม.3/7,ศ 1.1ม.3/8,
ศ1.1 ม.3/9 ,ศ1.1 ม.3/10 ,ศ1.1 ,.3/11
ศ 1.2 ม.3/1,ศ 1.2 ม.3/2,
รวม 13 ตัวชีวดั

72

7

โครงสรา

วิชาศลิ ปะพน้ื ฐาน(ทัศนศิลป) รห
ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 เวลา

หนวย ชื่อหนวยการ มาตรฐาน /ตัวช้ีวัด

ที่ เรียนรู ผลการเรียนรู

ทศั นศิลปกับ มาตรฐาน ที่ ศ 1.1 สรา งสรรคงานทัศนศิลปตาม 1.สิ่ง

ธรรมชาติ จินตนาการ และความคดิ สรา งสรรค วิเคราะห และ

และ วิพากษว ิจารณค ุณคา งานทัศนศลิ ป ถายทอด 2.เท

สิ่งแวดลอม ความรูส ึก ความคิดตองานศิลปะอยางอสิ ระช่นื ชม 3.กา

และประยุกตใชใ นชีวติ ประจำวนั ของต

ตวั ชว้ี ัดที่

1.บรรยายสิง่ แวดลอ ม และงานทัศนศิลปทเี่ ลือกมาโดย

ใชความรเู ร่อื งทัศนธาตุ และหลกั การออกแบบ

2.ระบุ และบรรยายเทคนิค วิธีการ ของศิลปน ใน

การสรางงาน

3.วิเคราะห และบรรยายวิธีการใช ทศั นธาตุ และ

หลักการออกแบบในการสรางงานทัศนศิลปของ

ตนเองใหมคี ณุ ภาพ

73 เวลา นำ้ หนัก
(ชม.) คะแนน
างรายวิชา
10 20
หัสวิชา ศ 23101 ภาคเรียนท่ี 1
40 ช่ัวโมง จำนวน 1 หนวยกิต

เนอ้ื หาสาระ

งแวดลอม และงานทศั นศลิ ปทเ่ี ลอื กมาโดยใชความรเู ร่ืองทศั นธาตุ
ะหลกั การออกแบบ
ทคนิค วิธีการ ของศลิ ปน ในการสรา งงาน ทัศนศิลป
ารใช ทศั นธาตุ และหลกั การออกแบบในการสรางงานทัศนศิลป
ตนเองใหมี

73

7

โครงสรา

วิชาศลิ ปะพน้ื ฐาน(ทศั นศลิ ป) รห
ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 เวลา

หนว ย ชอื่ หนวยการ มาตรฐาน /ตัวชี้วดั

ที่ เรียนรู ผลการเรยี นรู

4.วิเคราะห และบรรยายวิธีการใช ทัศนธาตุ

และหลกั การออกแบบในการสรา งงานทัศนศลิ ป

ของตนเองใหมคี ณุ ภาพ

74 เวลา นำ้ หนัก
(ชม.) คะแนน
างรายวิชา

หัสวิชา ศ 23101 ภาคเรียนที่ 1
40 ช่ัวโมง จำนวน 1 หนว ยกติ

เน้อื หาสาระ

74

7

โครงสรา

วชิ าศลิ ปะพ้ืนฐาน(ทัศนศลิ ป) รห
ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 เวลา

หนวย ชอ่ื หนวยการ มาตรฐาน /ตัวชี้วดั

ท่ี เรยี นรู ผลการเรยี นรู

2 สรางสรรค 1.มีทกั ษะในการสรา งงานทศั นศลิ ปอยา งนอย 2 1.รปู แบบ

งานศิลป ประเภท ของศลิ ป

2.มีทักษะในการผสมผสานวัสดตุ า ง ๆ ในการ 2.สรา งส

สรางงานทัศนศลิ ปโดยใชหลกั การออกแบบ หลากหล

3.สรา งงานทศั นศิลป ท้ัง 2 มิติ และ 3 มิติ 3.อาชีพท

เพอื่ ถา ยทอดประสบการณและจนิ ตนาการ อาชพี นั้น

4.สรางสรรคง านทศั นศิลปส่อื ความหมายเปน 4.การเลือ

เรื่องราว โดยประยุกตใชท ัศนธาตุ และหลักการ นำไปจดั

ออกแบบ

75 เวลา น้ำหนกั
(ชม.) คะแนน
างรายวิชา
10 30
หัสวิชา ศ 23101 ภาคเรียนท่ี 1
40 ชั่วโมง จำนวน 1 หนว ยกิต

เน้อื หาสาระ

บ เนือ้ หาและคุณคา ในงานทศั นศลิ ปของตนเอง และผูอื่น หรือ
ปน
สรรคงานทัศนศลิ ปเพ่ือบรรยายเหตุการณตาง ๆ โดยใชเ ทคนิคท่ี
ลาย
ทเ่ี ก่ียวของกับงานทศั นศิลปแ ละทักษะท่จี ำเปนในการประกอบ
นๆ
อกงานทัศนศิลปโดยใชเกณฑที่กำหนดขนึ้ อยางเหมาะสม และ
ดนิทรรศการ

75

7

โครงสรา

วชิ าศิลปะพน้ื ฐาน(ทัศนศลิ ป) รห
ระดับช้นั มัธยมศึกษาปที่ 3 เวลา

หนวย ชื่อหนวยการ มาตรฐาน /ตัวช้ีวัด

ที่ เรียนรู ผลการเรยี นรู

3 คุณคา งาน 1.วิเคราะหและอภิปรายรปู แบบ เนือ้ หาและ 1.รูปแบบ

ทัศนศลิ ป คุณคา ในงานทัศนศลิ ป ของตนเอง และ ของศิลป

ผอู ่ืน หรือของศลิ ปน 2.สรางส

2.สรา งสรรคง านทัศนศลิ ปเพื่อบรรยาย หลากหล

เหตุการณตาง ๆ โดยใชเ ทคนคิ ทหี่ ลากหลาย 3.อาชพี ท

3.ระบอุ าชพี ที่เก่ียวของกับงานทัศนศลิ ปแ ละ อาชีพนั้น

ทกั ษะทีจ่ ำเปนในการประกอบอาชพี นั้น ๆ 4.การเลือ

4.เลือกงานทัศนศลิ ปโดยใชเกณฑท่ีกำหนดขึน้ นำไปจดั

อยา งเหมาะสม และนำไปจดั นทิ รรศการ


Click to View FlipBook Version