The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pornpassanan Poomjarean, 2019-12-18 04:10:52

หลักสูตรศิลปะ ม.ต้น

หลักสูตร ม.ต้น

16

1.2 สนุ ทรยี ภาพของ มาตรฐาน ศ 3.1 เขาใจ และแสดงออกทาง
นาฏศิลปไ ทย นาฏศลิ ปอยางสรา งสรรค วิเคราะห วิพากษวจิ ารณ
คณุ คา นาฏศิลป ถายทอดความรูส ึก ความคิดอยา ง

อสิ ระ ชื่นชม และประยกุ ตใ ชใ นชวี ิตประจำวัน

ตัวช้วี ัดช้ันป
3. มีทกั ษะในการใชความคิดในการพฒั นารปู แบบการแส
4. มีทกั ษะในการแปลความและ การส่ือสารผา นการแสด

60

 รูปแบบการแสดง (8) (20)

- การแสดงเปน หมู - การแสดงเด่ยี ว
- การแสดงเปน ชุด
- การแสดงละคร
เปน ตอน

 การประดิษฐทา รำและทาทางประกอบการแสดง

สดง - ความหมาย
ดง - ความเปนมา
- ทา ทางท่ีใชใ นการประดิษฐทารำ

160

16

1.3 องคป ระกอบของ มาตรฐาน ศ 3.1 เขา ใจ และแสดงออกทาง
นาฏศลิ ป นาฏศิลปอ ยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษว ิจารณ
คุณคา นาฏศลิ ป ถายทอดความรสู ึก ความคิดอยา ง

อิสระ ชืน่ ชม และประยกุ ตใชใ นชวี ิตประจำวนั

ตัวชว้ี ดั ช้นั ป
5.วิจารณเปรยี บเทยี บงานนาฏศลิ ป ทมี่ ีความแตกตาง
กันโดยใชความรู เร่ืององคป ระกอบนาฏศลิ ป
6.รว มจดั งานการแสดงในบทบาทหนาท่ีตา ง ๆ
7.นำเสนอแนวคดิ จากเนอ้ื เร่อื ง ของการแสดงท่ี
สามารถนำไปปรบั ใชในชีวติ ประจำวัน

61 (4) (10)

 องคประกอบนาฏศลิ ป
- จังหวะทำนอง
- การเคลื่อนไหว
- อารมณแ ละความรสู ึก
- ภาษาทา นาฎยศัพท

- รปู แบบของการแสดง
- การแตง กาย

161

16

1.4 อนุรกั ษส รา งสรรค มาตรฐาน ศ 3.2 เขาใจความสมั พันธร ะหวาง

นาฏศิลป ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณค
นาฏศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ
ปญ ญาไทยและสากล

ตวั ชี้วดั ช้ันป
1.ออกแบบ และสรางสรรคอุปกรณ และเครอ่ื งแตง
กาย เพื่อแสดงนาฏศิลปและละครที่มาจากวฒั นธรรม
ตาง ๆ
2.อธิบายความสำคัญและบทบาทของนาฏศลิ ปแ ละ
การละครในชวี ิตประจำวนั
3. แสดงความคิดเห็นในการอนรุ กั ษ

62

ค า ข อ ง  การออกแบบและสรางสรรคอ ุปกรณและ (4) (10)
ถ่ินภูมิ เคร่อื งแตง กายเพื่อการแสดงนาฏศิลป

 ความสำคัญและบทบาทของนาฏศิลป และการ

ละครในชวี ติ ประจำวัน

 การอนุรักษนาฏศิลป

162

163

แบบบันทกึ การวเิ คราะหตัวชวี้ ัด
คำอธบิ ายรายวชิ า
โครงสรา งรายวชิ า

สาระท่ี 3 นาฏศลิ ป

ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนตน

รายวิชา ศลิ ปะเพิม่ เติม

163

16

แบบบ

แบบการวเิ คราะหเพอ่ื จดั ทำคำอธบิ า

กลมุ สาระการเรียนรศู ลิ ปะ วิชา ศิลปะเ

สาระท่ี 3 นาฏศิลป (ม.1)

มาตรฐาน ศ 3.1 เขา ใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ ยา งสรา งสรรค วิเคราะห วิพา

และประยุกตใชในชวี ิตประจำวัน

ตัวช้ีวดั ชั้นป/ ผลการ สา

เรยี นรู ความรู K ทักษะกระบวนการ P

3. แสดงนาฏศิลป นาฏศลิ ปและละครในรูปแบบ ความสามารถในการใช
และละครในรูปแบบ ของนาฏศลิ ปไทย นาฏศลิ ป ทักษะชวี ิต

งาย ๆ พื้นบาน และนาฏศิลป

นานาชาติ

4. ใชทกั ษะการ ขัน้ ตอนการทำงานเปน กลุม ความสามารถในการใช
ทำงานเปน กลุมใน ในกระบวนการคิด ผลติ ทกั ษะชวี ิต
กระบวนการผลิต สรา งสรรคก ารแสดง ความสามารถในการใช
การแสดง เทคโนโลยี

64

บันทึก

ายรายวิชาระดับ มัธยมศกึ ษาตอนตน
เพ่ิมเตมิ (นาฏศลิ ป) ระดบั ชัน้ ม.1/2/3

ากษว ิจารณค ณุ คา นาฏศลิ ป ถา ยทอดความรูสกึ ความคดิ อยา งอิสระ ชื่นชม

าระการเรียนรูแกนกลาง/ทองถนิ่

คณุ ลกั ษณะ A สาระสำคญั

รกั ความเปนไทย  รปู แบบการแสดงนาฏศลิ ป -
มุงมั่นในการทำงาน
- นาฏศลิ ป
- นาฏศิลปพ ้นื บา น
- นาฏศิลปนานาชาติ

มวี ินัย  บทบาทและหนา ทขี่ องฝาย
ใฝเรียนรู ตา ง ๆ ในการจดั การแสดง
มงุ ม่นั ในการทำงาน
 การสรา งสรรคกิจกรรมการ
แสดงทสี่ นใจ โดยแบง ฝา ยและ
หนาท่ีใหช ัดเจน

164

16

5. ใชเ กณฑงาย ๆ การพิจารณาคุณภาพการ ความสามารถในการคิด
ท่ีกำหนดใหใ นการ แสดงที่ชมโดยเนนเรือ่ งการ
พิจารณาคณุ ภาพ ใชเสียงการแสดงทา และ
การแสดงทช่ี ม การเคลอื่ นไหว
โดยเนน เรือ่ งการใช
เสยี งการแสดงทา
และการเคลอ่ื นไหว

65

ใฝเ รยี นรู  หลกั ในการชมการแสดง
รักความเปนไทย

165

16

สาระที่ 3 นาฏศิลป (ม.2)

มาตรฐาน ศ 3.1 เขา ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพา

และประยกุ ตใชใ นชีวติ ประจำวนั

ตัวช้ีวดั ช้นั ป/ ผลการเรียนรู

ความรู K ทักษะกระบวนการ

2. สรา งสรรคการแสดงโดย องคป ระกอบนาฏศิลปแ ละ ความสามารถในการ
ความสามารถในการ
ใชองคประกอบนาฏศิลปแ ละ การละคร ทกั ษะชวี ิต
การละคร

4. เสนอขอ คดิ เห็นในการ การเสนอขอคิดเหน็ ในการ ความสามารถในการ
สื่อสาร
ปรับปรงุ การแสดง ปรบั ปรงุ การแสดง ความสามารถในการ

66

ากษวิจารณค ณุ คา นาฏศลิ ป ถายทอดความรูสกึ ความคดิ อยา งอิสระ ช่ืนชม

สาระการเรียนรูแกนกลาง/ทองถ่นิ

ร P คณุ ลกั ษณะ A สาระสำคัญ

รคิด ใฝเรียนรู  หลักและวธิ ีการสรางสรรค
รใช มุงมัน่ ในการ การแสดง โดยใชองคประกอบ

ทำงาน นาฏศลิ ปและการละคร

ร ใฝเรยี นรู  วิธกี ารวเิ คราะห วิจารณก าร

มุงม่นั ในการ แสดง นาฏศลิ ป และการละคร
รคิด ทำงาน  รำวงมาตรฐาน

มีจติ สาธารณะ

166

16

สาระที่ 3 นาฏศลิ ป (ม.3)

มาตรฐาน ศ 3.1 เขา ใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ปอยางสรา งสรรค วิเคราะห วิพา

และประยุกตใชใ นชวี ติ ประจำวนั

ตัวชว้ี ัดชัน้ ป/ ผล สาร

การเรียนรู ความรู K ทักษะ คุณลกั ษณะ A

กระบวนการ P

1. ระบุโครงสราง โครงสรางของบทละคร ความสามารถ ใฝเรยี นรู
ของบทละครโดยใช โดยใชศ ัพทท างการละคร ในการส่ือสาร
ความสามารถ
ศัพททางการละคร ในการคดิ

3. มีทักษะในการ รูปแบบการแสดงประเภท ความสามารถ ใฝเรยี นรู
ใชค วามคิดในการ ในการคดิ มงุ ม่ันในการ
พัฒนารปู แบบการ ตาง ๆ เชน ทำงาน
แสดง
*การแสดงเปน หมู

*การแสดงเดย่ี ว

*การแสดงละคร

*การแสดงเปน ชดุ เปน

ตอน

67

ากษว ิจารณค ณุ คา นาฏศลิ ป ถายทอดความรสู ึก ความคิดอยางอิสระ ชืน่ ชม

ระการเรียนรแู กนกลาง/ทองถ่ิน ทอ งถ่ิน/พอเพยี ง/
A สาระสำคัญ อาเซยี น/

พระบรมราโชบาย

 องคประกอบของบทละคร
- โครงเรอ่ื ง
- ตวั ละครและการวางลักษณะนสิ ัยของตวั ละคร
- ความคิดหรือแกน ของเรื่อง
- บทสนทนา

 รูปแบบการแสดง - การแสดงเด่ยี ว
- การแสดงเปนหมู - การแสดงเปนชดุ เปน
- การแสดงละคร
ตอน

167

16

6. รว มจัดงานการ วิธีการเลอื กการแสดง ความสามารถ ใฝเ รียนรู
แสดงในบทบาท *ประเภทของงาน ในการคดิ มุง มัน่ ในการ
หนาท่ีตาง ๆ *ข้ันตอน *ประโยชนแ ละ มจี ติ สาธารณะ ทำงาน
คณุ คา ของการแสดง

สาระที่ 3 นาฏศลิ ป(ม.3)

มาตรฐาน ศ 3.2 เขา ใจความสัมพนั ธระหวางนาฏศลิ ป ประวัตศิ าสตรแ ละวฒั

ภูมิปญญาไทยและสากล

ตวั ชี้วัดชั้นป/ผลการเรียนรู

ความรู K ทักษะกระบวนการ P

1. ออกแบบ และสรา งสรรค การออกแบบและสรางสรรค ความสามารถในการ
อุปกรณ และเครื่องแตง กาย อุปกรณและ สอ่ื สาร
เพอ่ื แสดงนาฏศลิ ปและละคร เครือ่ งแตง กายเพื่อการแสดง ความสามารถในการใช
ทีม่ าจากวฒั นธรรมตา ง ๆ นาฏศลิ ป ทักษะชีวิต

2. อธิบายความสำคัญและ ความสำคัญและบทบาทของ ความสามารถในการ
บทบาทของนาฏศลิ ปและการ นาฏศิลป และการละครใน สอ่ื สาร
ความสามารถในการใช
ละครในชีวติ ประจำวนั ชีวิตประจำวัน ทกั ษะชีวิต

68 จดั การแสดง และ
แบงหนาท่ีการทำงาน
 วิธีการเลือกการแสดง ไดอยางเหมาะสม
- ประเภทของงาน -ขั้นตอน และมีเหตุผล
- ประโยชนแ ละคุณคาของการแสดง

ฒนธรรม เหน็ คณุ คา ของนาฏศลิ ปทเ่ี ปน มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญญาทองถน่ิ

สาระการเรียนรแู กนกลาง/ทองถ่ิน

P คุณลักษณะ A สาระสำคัญ ทองถนิ่ /พอเพียง/
อาเซยี น/พระบรมรา
มีวนิ ัย  การออกแบบและสรางสรรค
ใฝเรียนรู อปุ กรณและ โชบาย
ช มุงม่ันในการทำงาน เครือ่ งแตงกายเพื่อการแสดง
นาฏศลิ ป ออกแบบเคร่อื งแตงกาย
จากวัสดุทอ งถ่ิน

ใฝเ รียนรู  ความสำคัญและบทบาทของ
ช นาฏศลิ ป และการละครใน
ชีวติ ประจำวัน

168

169

คำอธิบายรายวชิ า
รายวชิ า ศลิ ปะเพ่ิมเติม (นาฏศิลป) รหัสวชิ า ศ 20204 ชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนตน

กลมุ สาระการเรียนรู ศิลปะ เวลา 40 ช่วั โมง

(สาระที่ 3 นาฏศลิ ป)

ศกึ ษา รูแ ละเขาใจ นาฏศิลปและละครในรปู แบบตา ง ๆ องคป ระกอบนาฏศิลปและการละคร
โครงสรางของบทละครโดยใชศัพททางการละครและรูปแบบการแสดง การแสดงเปนหมู การแสดง
เดี่ยว การแสดงละคร การแสดงเปนชุดเปนตอนฝกทักษะกระบวนการทำงานเปนกลุมใน
กระบวนการคิด ผลิตสรางสรรคการแสดง การพิจารณาคุณภาพการแสดงที่ชมโดยเนนเรื่องการใช
เสียง การแสดงทา การเคล่ือนไหว การเสนอขอคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดง วิธีการเลือกการ
แสดง ประเภทของงาน ข้ันตอน ประโยชนและคุณคาของการแสดง ออกแบบและสรางสรรค
อุปกรณและเครื่องแตงกายเพ่ือการแสดงนาฏศิลปเห็นคุณคาความสำคัญและบทบาทของนาฏศิลป
และการละครในชีวิตประจำวัน

โดยยึดหลักปรชั ญาเศรษฐกิจเพียงพอเพื่อเนนในการใชกระบวนการแสวงหาความรูและฝก
ปฏิบัติ อยางมุงม่ันต้ังใจ เห็นคุณคาของการนำความรู ความคิด ไปสรางสรรคและปรับใชใน
ชีวิตประจำวันอยางช่ืนชม ทั้งนาฏศิลปไทย นาฏศิลปนานาชาติ และศิลปะการแสดงพื้นบานใน
ทอ งถน่ิ ของตนเอง

คุณคาของการแสดง ออกแบบและสรางสรรคอุปกรณและเคร่ืองแตงกายเพ่ือการแสดง
นาฏศิลปเห็นคณุ คาความสำคัญและบทบาทของนาฏศลิ ป และการละครในชีวิตประจำวัน

รหัสตัวช้ีวดั
ศ 3.1 ม.1/3,ศ 3.1 ม.1/4,ศ 3.1 ม.1/5, ศ 3.1 ม.2/2, ศ 3.1 ม.2/4, ศ 3.1ม.3/1,
ศ 3.1 ม.3/3, ศ 3.1 ม.3/6, ศ 3.2 ม.3/1, ศ 3.2 ม.3/2, ศ 3.2 ม.3/3

รวม 11 ตัวชี้วัด

169

17

ลำดบั โครงสราง
ที่ ช่ือหนวยการเรยี นรู
วชิ าศลิ ปะเพม่ิ เติม (นาฏศิลป) รหัสวิช
1 สุนทรยี ะทาง ภาคเรยี นที่ 1/2 เวลา 40 ชวั่
นาฏศลิ ป
มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวชวี้ ดั

มาตรฐาน ศ 3.1 เขา ใจ และแสดงออกทาง
นาฏศิลปอยางสรา งสรรค วิเคราะห วิพากษวจิ ารณ
คุณคา นาฏศิลป ถายทอดความรสู กึ ความคดิ อยาง
อิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ ชในชวี ิตประจำวนั

1.1

ตวั ชว้ี ัดชนั้ ป (ม.1)
3. แสดงนาฏศิลปและละครในรูปแบบงา ย ๆ

รปู แบบนาฏศลิ ป 4. ใชท ักษะการทำงานเปนกลุมในกระบวนการผลิต

70

งรายวิชา เวลา นำ้ หนกั
(ช่ัวโมง) คะแนน
ชา ศ 20204 ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน
วโมง จำนวน 1.0 หนวยกติ 40 100

เนอื้ หาสาระ

ศกึ ษา รแู ละเขา ใจ นาฏศิลปแ ละละครในรปู แบบตางๆ
องคป ระกอบนาฏศลิ ปและการละคร โครงสรา งของบทละครโดย
ใชศ พั ททางการละครและรูปแบบการแสดง การแสดงเปนหมู
การแสดงเดีย่ ว การแสดงละคร การแสดงเปนชุดเปนตอน

ฝก ทกั ษะกระบวนการการทำงานเปน กลุมใน
กระบวนการผลิตการแสดง การพจิ ารณาคุณภาพการแสดงทช่ี ม
โดยเนน เรื่องการใชเ สยี งการแสดงทา และการเคลอ่ื นไหว การ
เสนอขอ คิดเห็นในการปรบั ปรุงการแสดง วิธีการเลอื กการแสดง
ประเภทของงาน ข้ันตอน ประโยชนแ ละคณุ คา ของการแสดง
ออกแบบและสรา งสรรคอปุ กรณแ ละเครอื่ งแตง กายเพื่อการ
แสดงนาฏศิลป เหน็ คณุ คาความสำคัญและบทบาทของ
นาฏศลิ ป และการละครในชีวิตประจำวัน

 รูปแบบการแสดงนาฏศลิ ป (12) (30)
- นาฏศลิ ป
- นาฏศิลปพนื้ บา น

170

17

ไทย การแสดง

5. ใชเกณฑงา ย ๆ ที่กำหนดใหใ นการพิจารณา
คุณภาพการแสดงทช่ี ม โดยเนน เรื่องการใชเ สยี งการ
แสดงทา และการเคลื่อนไหว

71

- การละคร
 การสรางสรรคก ิจกรรมการแสดงท่ีสนใจ โดยแบง ฝา ย

และหนา ท่ีใหช ัดเจน
 หลกั ในการชมการแสดง

171

17

1.2 นาฏศลิ ปไทยกับ มาตรฐาน ศ 3.1 เขา ใจ และแสดงออกทาง
การดำเนนิ ชวี ิต นาฏศลิ ปอยา งสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวจิ ารณ
คุณคา นาฏศิลป ถายทอดความรูสึก ความคดิ อยาง

อสิ ระ ช่ืนชม และประยุกตใ ชในชีวิตประจำวนั

ตวั ช้ีวดั ชัน้ ป (ม.2)

2. สรางสรรคก ารแสดงโดยใชอ งคประกอบนาฏศลิ ป

และการละคร

4. เสนอขอคดิ เห็นในการปรับปรุงการแสดง

มาตรฐาน ศ 3.2 เขา ใจความสัมพนั ธระหวาง

นาฏศิลป ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคา

ของนาฏศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญา

ทองถนิ่ ภูมปิ ญญาไทยและสากล

ตวั ชีว้ ัดช้นั ป (ม.3)

2.อธิบายความสำคญั และบทบาทของนาฏศิลปและ

การละครในชวี ติ ประจำวนั

1.3 องคประนาฏศลิ ป มาตรฐาน ศ 3.1 เขา ใจ และแสดงออกทาง

นาฏศิลปอยา งสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวจิ ารณ
คุณคา นาฏศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดอยา ง
อิสระ ช่ืนชม และประยุกตใ ชในชวี ิตประจำวัน
ตัวชว้ี ดั ชั้นป

72

 หลกั และวธิ ีการสรา งสรรคก ารแสดง โดยใช (12) (20)

องคป ระกอบนาฏศลิ ปแ ละการละคร
 วิธีการวิเคราะห วิจารณการแสดง นาฏศลิ ป และการ

ละคร
 ความสำคัญและบทบาทของนาฏศิลป และการละครใน

ชีวิตประจำวัน

 องคป ระกอบของบทละคร (16) (30)
- โครงเร่ือง
- ตวั ละครและการวางลักษณะนสิ ัยของตวั ละคร 172
- ความคิดหรือแกน ของเรือ่ ง

บทสนทนา

17

ตัวชีว้ ดั ชน้ั ป (ม.3)
1. ระบุโครงสรา งของบทละครโดยใชศ พั ทท างการ
ละคร
3. มที กั ษะในการใชความคดิ ในการพฒั นารูปแบบการ
แสดง
มาตรฐาน ศ 3.2 เขา ใจความสัมพนั ธระหวาง
นาฏศิลป ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคา
ของนาฏศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญา
ทองถิ่นภูมปิ ญญาไทยและสากล
ตัวชี้วดั ช้ันป (ม.3)
1.ออกแบบ และสรา งสรรคอุปกรณ และเคร่อื งแตง
กาย เพ่ือแสดงนาฏศลิ ปแ ละละครท่ีมาจากวัฒนธรรม
ตาง ๆ

73

 รูปแบบการแสดง
- การแสดงเปน หมู - การแสดงเด่ยี ว

- การแสดงละคร - การแสดงเปน ชดุ เปน
ตอน

 วธิ ีการเลอื กการแสดง
- ประเภทของงาน
- ขน้ั ตอน
- ประโยชนแ ละคณุ คา ของการแสดง
 การออกแบบและสรา งสรรคอุปกรณแ ละ

เครอื่ งแตง กายเพื่อการแสดงนาฏศิลป

173

174

อภิธานศพั ท

 ทศั นศลิ ป

โครงสรา งเคล่ือนไหว (Mobile)
เปนงานประติมากรรมทม่ี โี ครงสรา งบอบบางจัดสมดลุ ดวยเสน ลวดแข็งบาง ๆ ทมี่ ีวตั ถุรูปรา ง

รูปทรงตา ง ๆ ท่ีออกแบบเช่ือมตดิ กับเสนลวด เปนเครื่องแขวนท่ีเคล่ือนไหวไดดวยกระแสลมเพียงเบา ๆ
งานส่ือผสม (Mixed media)

เปน งานออกแบบทางทศั นศลิ ปท ป่ี ระกอบดวยหลายสื่อโดยใชว ัสดหุ ลาย ๆ แบบ เชน กระดาษ
ไม โลหะ สรางความผสมกลมกลนื ดวยการสรา งสรรค
จงั หวะ (Rhythm)

เปนความสัมพันธของทัศนธาตุ เชน เสน สี รูปราง รูปทรง น้ำหนักในลักษณะของการซ้ำกัน
สลบั ไปมา หรือลักษณะลนื่ ไหล เคลื่อนไหวไมขาดระยะจังหวะที่มีความสัมพันธตอ เน่ืองกันจะชวยเนนให
เกิดความเดน หรือทางดนตรีก็คือการซ้ำกันของเสียงในชวงเทากันหรือแตกตางกันจังหวะใหความรูสึก
หรอื ความพอใจทางสนุ ทรยี ภาพในงานศิลปะ
ทศั นธาตุ (Visual elements)

สิ่งท่ีเปนปจจยั ของการมองเห็นเปนสวนตาง ๆ ที่ประกอบกันเปนภาพ ไดแ ก เสน น้ำหนัก ท่ี
วา ง รปู ราง รูปทรง สี และลักษณะพื้นผวิ
ทัศนยี ภาพ (Perspective)

วธิ เี ขียนภาพของวตั ถุใหมองเห็นวามีระยะใกลไกล
ทศั นศิลป (Visual art)

ศลิ ปะทีร่ ับรูไดด ว ยการเห็น ไดแก จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ และงานสรางสรรคอ ื่น ๆ ที่
รับรดู วยการเหน็
ภาพปะตดิ (Collage)

เปนภาพท่ีทำข้ึนดว ยการใชวัสดุตาง ๆ เชน กระดาษ ผา เศษวัสดุธรรมชาติ ฯลฯ ปะติดลง
บนแผน ภาพดวยกาวหรอื แปง เปย ก
วงสธี รรมชาติ (Color circle)

คือวงกลมซึ่งจัดระบบสีในแสงสีรุงท่ีเรียงกันอยูในธรรมชาติ สีวรรณะอุน จะอยูในซีกที่มีสีแดง
และเหลือง สวนสวี รรณะเยน็ อยใู นซีกทม่ี ีสีเขียว และสมี ว ง สีคูตรงขา มกนั จะอยตู รงกันขามในวงสี

วรรณะสี (Tone)
ลักษณะของสีท่ีแบงตามความรูสึกอุนหรือเย็น เชน สีแดง อยูในวรรณะอุน (Warm tone)

สเี ขียวอยูใ นวรรณะเยน็ (cool tone)
สีคตู รงขาม (complementary colors)

174

175

สีที่อยูตรงกันขามกันในวงสีธรรมชาตเิ ปนคูสีกัน คือ สีคูที่ตัดกันหรือตางจากกันมากที่สดุ เชน
สีแดงกบั สีเขยี ว สีเหลืองกบั สมี วง สีนำ้ เงินกับสีสม

องคประกอบศิลป (Composition of art)
วชิ าหรอื ทฤษฎีท่เี ก่ยี วกับการสรา งรปู ทรงในงานทศั นศลิ ป

 ดนตรี

การดำเนนิ ทำนอง (Melodic progression)
1. การกาวเดินไปขางหนาของทำนอง
2. กระบวนการดำเนินคอรด ซ่ึงแนวทำนองขยับทลี ะขัน้

ความเขมของเสียง (Dynamic)
เสยี งเบา เสียงดงั เสียงที่มีความเขม เสยี งมากกย็ ่งิ ดงั มากเหมอื นกบั Loudness

ดน สด
เปนการเลนดนตรีหรือขับรอง โดยไมไดเตรียมซอมตามโนตเพลงมากอน ผูเลนมีอิสระในการ

กำหนดวิธีปฏิบัติเครื่องดนตรีและขับรอง บนพื้นฐานของเน้ือหาดนตรีท่ีเหมาะสม เชน การบรรเลง
ในอตั ราความเรว็ ท่ียดื หยนุ การบรรเลงดวยการเพิ่มหรือตัดโนตบางตวั

บทเพลงไลเลียน (Canon)
แคนอน มาจากภาษากรกี แปลวา กฎเกณฑ หมายถึงรูปแบบบทเพลงที่มีหลายแนวหรือดนตรี

หลายแนว แตละแนวมีทำนองเหมือนกัน แตเริ่มไมพรอมกันแตละแนว จงึ มีทำนองท่ีไลเลียนกันไปเปน
ระยะเวลายาวกวาการเลียนท่ัวไป โดยท่ัวไปไมควรต่ำกวา 3 หอง ระยะขั้นคูระหวางสองแนว
ที่เลียนกันจะหางกันเปนระยะเทาใดก็ได เชน แคนอนคูสอง หมายถึง แคนอนท่ีแนวท้ังสอง
เร่ิมที่โนตหางกันเปนระยะคู 5 และรักษาระยะคู 5 ไปโดยตลอดถือเปนประเภทของลีลาสอดประสาน
แนวทำนองแบบเลยี นทม่ี กี ฎเกณฑเขม งวดทสี่ ุด

ประโยคเพลง (Phrase)
กลุม ทำนอง จังหวะท่เี รยี บเรยี งเช่ือมโยงกนั เปนหนว ยของเพลงทม่ี ีความคดิ จบสมบูรณในตวั เอง

มกั ลงทา ยดว ยเคเดนซ เปน หนวยสำคญั ของเพลง

ประโยคเพลงถาม - ตอบ

เปนประโยคเพลง 2 ประโยคที่ตอเนื่องกันลีลาในการตอบรับ – สงลอ – ลอเลียนกัน

อยางสอดคลอง เปน ลักษณะคลา ยกันกับบทเพลงรปู แบบ AB แตเ ปน ประโยคเพลงส้ัน ๆ ซ่ึงมกั จะมอี ัตรา

ความเร็วเทากันระหวาง 2 ประโยค และความยาวเทากัน เชน ประโยคเพลงที่ 1 (ถาม) มี

ความยาว 2 หองเพลง ประโยคเพลงที่ 2 (ตอบ) ก็จะมีความยาว 2 หองเพลง ซึ่งจะมีลีลาตางกัน

แตสอดรับกนั ไดก ลมกลืน

ผลงานดนตรี

175

176

ผลงานทส่ี รา งสรรคข น้ึ มาโดยมคี วามเกยี่ วของกับการนำเสนองานทางดนตรี เชน บทเพลง
การแสดงดนตรี
เพลงทำนองวน (Round)

เพลงที่ประกอบดวยทำนองอยางนอย 2 แนว ไลเลียนทำนองเดียวกัน แตตางเวลาหรือจังหวะ
สามารถไลเ ลยี นกันไปไดอยางตอเน่อื งจนกลบั มาเร่ิมตน ใหมไดอ ีกไมมวี ันจบ
รูปรางทำนอง (Melodic contour)

รปู รางการข้ึนลงของทำนอง ทำนองทีส่ มดุลจะมที ิศทางการข้นึ ลงท่เี หมาะสม
สสี ันของเสยี ง

ลักษณะเฉพาะของเสียงแตละชนิดที่มีเอกลักษณเฉพาะตางกัน เชน ลักษณะเฉพาะของสีสัน
ของเสียงผูชายจะมีความทุมต่ำแตกตางจากสีสันของเสียงผูหญิง ลักษณะเฉพาะของสีสันของเสียง
ของเด็กผูชายคนหนง่ึ จะมีความแตกตา งจากเสียงเด็กผูชายคนอน่ื ๆ
องคประกอบดนตรี (Elements of music)

สวนประกอบสำคัญท่ีทำใหเกิดเสียงดนตรี ไดแกทำนอง จังหวะ เสียงประสาน สีสันของเสียง
และเนือ้ ดนตรี
อัตราความเรว็ (Tempo)

ความชา ความเรว็ ของเพลง เชน ฮังเลโก( Allegro) เลนโต (lento)ABA
สญั ลกั ษณบ อกรปู แบบวรรณกรรมดนตรแี บบตรีบท หรอื เทอรนารี (Ternary)Ternary form

สังคตี ลกั ษณสามตอน โครงสรา งของบทเพลงท่มี ีสว นสำคัญขยบั ทลี ะข้ันอยู 3 ตอน ตอนแรกและ
ตอ น ท่ี 3 คื อ ตอ น A จ ะเห มื อน ห รือ ค ล าย คลึ งกั น ทั้ งใน แงข องท ำน องแ ละกุญ แ จเสีย ง
สวนตอนท่ี 2 คือ ตอน B เปนตอนท่ีแตกตางออกไป ความสำคัญของสังคีตลักษณน้ี คือ การกลับมา
ของตอน A ซึง่ นำทำนองของสวนแรกกลับมาในกุญแจเสียงเดิมเปนสังคีตลกั ษณที่ใชมากที่สุดโดยเฉพาะ
ในเพลงรอ ง จึงอาจเรียกวา สงั คตี ลักษณเ พลงรอ ง (song form) ก็ได

 นาฏศิลป

การตีบท
การแสดงทารำตามบทรอ ง บทเจรจาหรอื บทพากยควรคำนึงถงึ ความหมายของบท แบงเปนการ

ตบี ท ธรรมชาติ และการตีบทแบบละคร
การประดิษฐทา

การนำภาษาทา ภาษานาฏศิลป หรอื นาฏยศพั ทมาออกแบบ ใหส อดคลอ งสัมพันธก ับจังหวะ
ทำนอง บทเพลง บทรอ ง ลีลา ความสวยงาม
นาฏยศัพท

176

177

ศัพทเ ฉพาะทางนาฏศิลป ที่ใชเก่ียวกบั การเรยี กทารำ กิรยิ าท่ีแสดงมีสวนศรี ษะใบหนาและไหล
สวนแขนและมือ สว นของลำตัว สว นขาและเทา
บุคคลสำคญั ในวงการนาฏศลิ ป

เปน ผเู ชย่ี วชาญทางนาฏศิลป และภมู ปิ ญ ญาทองถ่นิ ท่สี รา งผลงาน
ภาษาทา

การแสดงทาทางแทนคำพดู ใชแสดงกริ ยิ าหรืออริ ิยาบถ และใชแ สดงถึงอารมณภายใน
สวนขาและเทา

กิริยาแสดง เชน กระทบ ยืดยุบ ประเทา กระดกเทา กระทุง จรด ขยับ ซอย วางสน ยกเทา
ถัดเทา
สว นแขนและมือ

กิรยิ าท่แี สดง เชน จีบ ตงั้ วง ลอ แกว มวนมือ สะบดั มอื กรายมอื สายมือ
สวนลำตัว

กริ ิยาท่แี สดง เชน ยกั ตัว โยตัว โยกตวั

สวนศีรษะใบหนา และไหล
กิรยิ าท่แี สดง เชน เอยี งศรี ษะ เอียงไหล กดไหล กลอ มไหล กลอมหนา

ส่งิ ทเี่ คารพ
ในสาระนาฏศลิ ปมีสิ่งทเ่ี คารพสบื ทอดมา คอื พอแก หรือพระพรตฤษี ซง่ึ ผูเรียนจะตอง แสดง

ความเคารพ เมอ่ื เริ่มเรียนและกอ นแสดง

องคป ระกอบนาฏศิลป
จงั หวะและทำนองการเคลอ่ื นไหว อารมณและความรูสกึ ภาษาทา นาฎยศพั ท รูปแบบของการ

แสดง การแตงกาย
องคป ระกอบละคร

การเลอื กและแตงบท การเลือกผูแสดง การกำหนดบุคลิกของผูแสดง การพัฒนารูปแบบของ
การแสดง การปฏบิ ัติตนของผูแสดงและผูชม

177

178

คณะผูจดั ทำ

คณะผูพ ัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา กลมุ สาระการเรียนรศู ลิ ปะ โรงเรียนวชั รวิทยา

1. นายนายสุดใจ จารจุ ติ ร ครู ค.ศ.2 โรงเรยี นวัชรวทิ ยา
2. นานไพโรจน ยิ่งคดิ ครู ค.ศ.2 โรงเรียนวชั รวิทยา
3. นางสาวณฎั ธยาน ภมุ มา ครู ค.ศ.2 โรงเรยี นวัชรวิทยา
ครูอตั ราจาง โรงเรียนวัชรวทิ ยา
นายเกรียงศกั ดิ์ ศิริพรชยั กลุ

178

179
179


Click to View FlipBook Version