The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pornpassanan Poomjarean, 2019-12-18 04:10:52

หลักสูตรศิลปะ ม.ต้น

หลักสูตร ม.ต้น

1

2 พัฒนาทักษะ
ดนตรีไทย

มาตรฐาน ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรี
อยา งสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณค ุณคาดนตรี
ถายทอดความรสู ึก ความคิดตอ ดนตรีอยา งอิสระ ชน่ื
ชม และประยุกตใชใ นชวี ิตประจำวัน

ตวั ช้ีวัดชัน้ ป
4. รอ งเพลง และเลน ดนตรเี ดี่ยวและรวมวง(ม.2)
6. ประเมิน พฒั นาการทักษะทางดนตรขี องตนเอง
หลังจากการฝกปฏิบัติ
(ม.2)

132

 เทคนคิ การรอ งและบรรเลงดนตรี 12 30
- การรอ งและบรรเลงเดยี่ ว
- การรอ งและบรรเลงเปน วง

 การประเมนิ ความสามารถทางดนตรี
- ความถูกตองในการบรรเลง
- ความแมนยำในการอานเคร่อื งหมายและสัญลักษณ
- การควบคมุ คณุ ภาพเสยี งในการรองและบรรเลง

132

1

การบรรเลงรว มวง
3 มาตรฐาน ศ 2.1 เขา ใจและแสดงออกทางดนตรี

อยางสรา งสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณค ุณคา ดนตรี
ถา ยทอดความรสู กึ ความคดิ ตอดนตรอี ยา งอสิ ระ ชื่น
ชม และประยุกตใ ชในชีวิตประจำวัน

ตัวชีว้ ัดชั้นป
2. รองเพลง เลน ดนตรีเดยี่ ว และรวมวง โดยเนน
เทคนิคการรอ ง การเลน การแสดงออก และคุณภาพสยี
(ม.3)
7. นำเสนอหรือจัดการแสดงดนตรี ท่เี หมาะสมโดย
การบูรณาการกบั สาระการเรียนรูอน่ื ในกลุมศิลปะ
(ม.3)

133

 เทคนิคและการแสดงออกในการขบั รอ งและบรรเลงดนตรี 16 50
เดี่ยวและรวมวง

 การจดั การแสดงดนตรใี นวาระตา ง ๆ
- การเลือกวงดนตรี
- การเลอื กบทเพลง
- การเลือกและจัดเตรียมสถานที่
- การเตรียมบุคลากร
- การเตรยี มอปุ กรณเคร่ืองมือ

ยง - การจดั รายการแสดง

133

134

แบบบนั ทึกการวิเคราะหต ัวชวี้ ัด
คำอธบิ ายรายวิชา
โครงสรางรายวชิ า

สาระท่ี 3 นาฏศิลป

ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 1
รายวิชา ศิลปะพ้ืนฐาน

134

1

แบบ

การวเิ คราะหเ พื่อจดั ทำคำอธิบาย

กลุมสาระการเรียนรศู ลิ ป

สาระท่ี 3 นาฏศิลป

มาตรฐาน ศ 3.1 เขา ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพา

และประยกุ ตใ ชในชีวิตประจำวัน

ตัวช้วี ัดชัน้ ป/ ผลการเรียนรู

ความรู K ทักษะกระบวนการ

1. อธิบายอิทธิพลของ อิทธิพลของนักแสดงช่ือดังท่ีมี ความสามารถในการ
นักแสดงชอ่ื ดงั ที่มผี ลตอ การ ผลตอ การโนม นาวอารมณ สอ่ื สาร
โนม นาวอารมณห รือ ความสามารถในการ
ความคิดของผชู ม หรือความคดิ ของผูชม คิด

2. ใชน าฏยศพั ทห รือศัพท นาฏยศพั ทห รือศัพทท างการ ความสามารถในการ
ทักษะชีวิต
ทางการละครในการแสดง ละครในการแสดง

135

บบันทกึ

ยรายวิชาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน
ปะ ระดบั ชนั้ ม. 1

ากษวิจารณค ณุ คานาฏศิลป ถา ยทอดความรสู ึก ความคดิ อยา งอสิ ระ ชื่นชม

สาระการเรียนรูแกนกลาง/ทอ งถ่ิน

ร P คุณลักษณะ สาระสำคญั ทองถนิ่ /พอเพียง/อาเซียน/
พระบรมราโชบาย
A
วิเคราะหพรอมนำเสนอ
ร ใฝเรียนรู  การปฏิบตั ขิ องผูแ สดงและผชู ม นักแสดงช่อื ดงั ทีม่ ี
ความสามารถเปน ท่ียอมรบั
ร  ประวตั ินกั แสดงท่ชี ่นื ชอบ ของประเทศอาเซยี นประเทศ
 การพฒั นารปู แบบของการแสดง ใดกไ็ ด

 อทิ ธพิ ลของนกั แสดงทม่ี ีผลตอ ปฏบิ ตั ินาฏศัพทท ่ีมี
ความหมายตามหวั ขอท่ี
พฤติกรรมของผชู ม เกย่ี วกับพระบรมราโชบาย
ของรชั กาลที่ 10
รใช ใฝเ รยี นรู  นาฏยศัพทหรอื ศัพททางการ
รกั ความเปน ละครในการแสดง
ไทย
มุงมั่นในการ  ภาษาทา และการตบี ท
ทำงาน
 ทาทางเคลื่อนไหวทแี่ สดงสือ่ ทาง
อารมณ

 ระบำเบ็ดเตลด็
 รำวงมาตรฐาน

135

1

3. แสดงนาฏศลิ ปและละครใน นาฏศิลปและละครในรปู แบบ ความสามารถในการ
ทักษะชีวิต
รปู แบบงา ย ๆ ตางๆ

4. ใชท ักษะการทำงานเปน การทำงานเปนกลุมใน ความสามารถในการ
กลุม ในกระบวนการผลิตการ กระบวนการผลติ การแสดง ทักษะชวี ิต
แสดง ความสามารถในการ
เทคโนโลยี

5. ใชเกณฑงา ย ๆ ที่ การพิจารณาคุณภาพการ ความสามารถในการ
กำหนดใหในการพจิ ารณา แสดงท่ีชมโดยเนนเรือ่ งการใช คิด
คุณภาพการแสดงที่ชม เสียงการแสดงทา และการ ความสามารถในการ
โดยเนนเรือ่ งการใชเสียงการ เคลื่อนไหว สื่อสาร
แสดงทา และการ
เคล่อื นไหว

136

รใช รักความเปน  รปู แบบการแสดงนาฏศิลป ยกตัวอยางทา ทาง
ไทย - นาฏศิลป เอกลักษณทางการแสดงของ
มุงม่ันในการ - นาฏศลิ ปพ ้นื บาน ประเทศอาเซยี น
ทำงาน - นาฏศลิ ปนานาชาติ

รใช มวี นิ ยั  บทบาทและหนาทีข่ องฝายตาง ๆ
ใฝเรียนรู ในการจดั การแสดง

รใช มงุ มัน่ ในกา  การสรา งสรรคก ิจกรรมการแสดง
ที่สนใจโดยแบงฝา ยและหนา ท่ใี ห
ชัดเจน

ร ใฝเรียนรู  หลักในการชมการแสดง
รักความเปน

ร ไทย

136

1

สาระท่ี 3 นาฏศลิ ป

มาตรฐาน ศ 3.2 เขา ใจความสัมพนั ธร ะหวางนาฏศิลป ประวัติศาสตรและวัฒ

ภมู ิปญญาไทยและสากล

ตวั ชี้วัดชั้นป/ผลการเรียนรู

ความรู K ทักษะกระบวนการ P

1. ระบปุ จ จัยที่มีผลตอการ ปจจัยที่มผี ลตอ การ ความสามารถในการ
เปลยี่ นแปลงของนาฏศิลป ส่ือสาร
นาฏศิลปพนื้ บาน ละครไทย เปลย่ี นแปลงของนาฏศิลป ความสามารถในการ
และละครพื้นบา น แกปญหา
นาฏศิลปพ นื้ บาน ละครไทย ความสามารถในการ
และละครพ้ืนบา น คดิ วเิ คราะห

2. บรรยายประเภทของ ประเภทของละครไทย ใน ความสามารถในการ
ละครไทย ในแตละยคุ สมัย แตล ะยุคสมยั ส่อื สาร
ความสามารถในการใช
เทคโนโลยี

137

ฒนธรรม เห็นคุณคา ของนาฏศิลปที่เปน มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่นิ

สาระการเรยี นรูแกนกลาง/ทองถนิ่

P คุณลักษณะ A สาระสำคญั ทอ งถิน่ /พอเพียง/อาเซียน/
พระบรมราโชบาย

ใฝเ รยี นรู  ปจจัยทม่ี ีผลตอ การ
รกั ความเปน ไทย เปล่ียนแปลง ของนาฏศลิ ป
นาฏศลิ ปพนื้ บา น ละครไทย
และละครพน้ื บาน

ใฝเ รยี นรู  ประเภทของละครไทยใน
รักความเปนไทย แตล ะยุคสมัย
ช

137

138

คำอธบิ ายรายวชิ า
วชิ า ศิลปะพืน้ ฐาน (นาฏศลิ ป) รหัสวิชา ศ 21102 ช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ 1

ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 20 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หนว ยกติ
สาระที่ 3 นาฏศิลป

ศกึ ษา รูแ ละเขาใจ เกยี่ วกบั นาฏยศพั ทห รือศัพทท างการละคร อิทธพิ ลของนกั แสดงชื่อดังทม่ี ี
ผลตอการโนมนาวอารมณหรอื ความคิดของผูชม ฝกการทำงานเปนกลุมในกระบวนการผลิตการแสดง
นาฏศิลปและละครในรูปแบบตางๆ พิจารณาคุณภาพการแสดงที่ชมโดยเนนเร่ืองการใชเสียง การแสดง
ทาทาง และการเคล่ือนไหว วิเคราะหปจจัยที่มีผลตอการเปล่ียนแปลงของนาฏศิลปนาฏศิลปพ้ืนบาน
ละครไทย ละครพน้ื บาน และประเภทของละครไทย ในแตล ะยุคสมยั

โดยนอมหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการแสวงหาความรูและฝกปฏิบัติ อยางมุงมั่นต้ังใจ
เห็นคณุ คา ของการนำความรู ความคิดไปสรา งสรรคและปรบั ใชในชวี ติ ประจำวนั อยา งชื่นชม ท้ังนาฏศลิ ป
ไทย
นาฏศิลปเ พื่อนบา นอาเซียน นาฏศิลปนานาชาติ และศิลปะการแสดงพนื้ บานในทอ งถ่ินของตนเอง

เพ่ือฝกการทำงานเปนกลุม โดยมีการแบงหนาทใี่ ชเหตผุ ลในกระบวนการผลติ การแสดงนาฏศิลป
และละครในรูปแบบตา ง ๆ พิจารณาคณุ ภาพการแสดงทช่ี มโดยเนนเร่ืองการใชเสยี ง การแสดงทาทาง และ
การเคลือ่ นไหว วิเคราะหปจจัยที่มผี ลตอการเปลย่ี นแปลงของนาฏศิลปนาฏศลิ ปพน้ื บา น ละครไทย ละคร
พน้ื บาน และประเภทของละครไทย

รหสั ตวั ชี้วัด
ศ 3.1 ม.1/1, ศ 3.1 ม.1/2, ศ 3.1 ม.1/3, ศ 3.1 ม.1/4, ศ 3.1 ม.1/4
ศ 3.2 ม.1/1 ศ 3.2 ม.1/2 ศ 3.2 ม.1/3

138

1

ลำดับ โครงสรา
ท่ี ช่ือหนวยการเรยี นรู
วิชาศิลปะพืน้ ฐาน (นาฏศิลป) รหัสวชิ
1 นาฏศิลปศึกษา ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 20 ชว่ั

มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวชวี้ ัด

มาตรฐาน ศ 3.1 เขา ใจ และแสดงออกทาง
นาฏศิลปอ ยางสรา งสรรค วิเคราะห วิพากษว จิ ารณ
คณุ คา นาฏศลิ ป ถายทอดความรูสกึ ความคิดอยาง
อิสระ ช่นื ชม และประยกุ ตใ ชในชีวิตประจำวัน

1.1ละครคือชีวิต ตัวชี้วดั ชนั้ ป
1. อธบิ ายอทิ ธิพลของนกั แสดงชื่อดังทม่ี ผี ลตอการโนม
นาวอารมณหรือความคิดของผูชม
2. ใชนาฏยศพั ทหรอื ศัพทท างการละครในการแสดง

139

างรายวิชา เวลา น้ำหนัก
(ชั่วโมง) คะแนน
ชา ศ 21102 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท่ี ม.1
วโมง จำนวน 1.0 หนว ยกติ

เนื้อหาสาระ

ศกึ ษา รูและเขา ใจ เกี่ยวกับ นาฏยศพั ทหรือศัพททางการ 20 50
ละคร อทิ ธิพลของนักแสดงชอื่ ดงั ที่มีผลตอการโนม นา วอารมณ
หรอื ความคดิ ของผูชม ฝก การทำงานเปน กลุมในกระบวนการ
ผลิตการแสดงนาฏศิลปและละครในรปู แบบตางๆ พิจารณาคุณภาพ
การแสดงท่ชี มโดยเนนเรื่องการใชเสียง การแสดงทาทาง และ
การเคลื่อนไหว วิเคราะหปจ จยั ท่มี ีผลตอ การเปลี่ยนแปลงของ
นาฏศลิ ปน าฏศลิ ปพ้ืนบา น ละครไทย ละครพ้ืนบา น และ
ประเภทของละครไทย ในแตละยุคสมัย เหน็ คุณคา และ ชื่นชม
ศลิ ปะการแสดงพื้นบา น

 การปฏิบตั ขิ องผแู สดงและผชู ม (6) (15)
 ประวัตนิ กั แสดงที่ชืน่ ชอบ
 การพฒั นารปู แบบของการแสดง 139

1

140

 อทิ ธิพลของนักแสดงท่ีปฏิบตั ิของผูแสดและผูชม
 ประวัตนิ กั แสดงมีผลตอ พฤติกรรมของผชู ม
 นาฏยศัพทห รือศัพททางการละครในการแสดง ภาษาทา และ
การตบี ท ทา ทางเคลอื่ นไหวที่แสดงสื่อ ทางอารมณ ระบำ
เบ็ดเตล็ด รำวงมาตรฐาน

140

1

1.2 ทกั ษะการ มาตรฐาน ศ 3.1 เขา ใจ และแสดงออกทาง
ละคร นาฏศลิ ปอยางสรา งสรรค วิเคราะห วิพากษว ิจารณ
คุณคา นาฏศิลป ถายทอดความรูสกึ ความคิดอยาง
อิสระ ชืน่ ชม และประยกุ ตใชในชวี ิตประจำวนั

ตวั ชีว้ ัดช้นั ป
3. แสดงนาฏศลิ ปและละครในรูปแบบงาย ๆ
4. ใชทักษะการทำงานเปน กลมุ ในกระบวนการผลิต

การแสดง
5. ใชเกณฑงา ย ๆ ท่กี ำหนดใหใ นการพิจารณา

คณุ ภาพการแสดงท่ชี ม โดยเนนเร่อื งการใชเ สียง
การแสดงทา และการเคล่ือนไหว

141

 รปู แบบการแสดงนาฏศลิ ป (8) (20)
- นาฏศิลป
- นาฏศิลปพ น้ื บา น
- นาฏศิลปน านาชาติ

 บทบาทและหนาทขี่ องฝา ยตา ง ๆ ในการจดั การแสดง

 การสรา งสรรคก จิ กรรมการแสดงท่สี นใจ โดยแบงฝายและ
หนาทีใ่ หชดั เจน

 หลกั ในการชมการแสดง

141

1

1.3 ภูมิใจ มาตรฐาน ศ 3.2 เขาใจความสัมพนั ธระหวาง
ทอ งถ่ินไทย นาฏศิลป ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคา
ของนาฏศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญา
ทอ งถิ่นภูมปิ ญญาไทยและสากล

ตวั ชี้วดั ช้ันป
1. ระบุปจ จัยที่มีผลตอการเปล่ยี นแปลงของนาฏศลิ ป

นาฏศลิ ปพ้ืนบาน ละครไทยและละครพื้นบาน
2. บรรยายประเภทของละครไทย ในแตละยุคสมยั

142

 ปจจยั ท่มี ผี ลตอ การเปลี่ยนแปลง ของนาฏศิลป นาฏศิลป (6) (15)
พ้ืนบา น ละครไทย

 ระบำพน้ื บาน ของทองถิ่น(กำแพงเพชร)

 ประเภทของละครไทยในแตละยุคสมยั

142

143

แบบบนั ทึกการวิเคราะหต ัวชวี้ ัด
คำอธบิ ายรายวิชา
โครงสรางรายวิชา

สาระท่ี 3 นาฏศิลป

ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 2
รายวิชา ศลิ ปะพ้ืนฐาน

143

1

แบบ

การวเิ คราะหเ พือ่ จัดทำคำอธิบาย
กลมุ สาระการเรยี นรศู ิลป

สาระที่ 3 นาฏศลิ ป
มาตรฐาน ศ 3.1 เขาใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ปอยางสรา งสรรค วิเคราะห วิพา

และประยุกตใ ชในชวี ิตประจำวัน

ตวั ชว้ี ดั ชัน้ ป/ ผลการเรียนรู

ความรู K ทกั ษะกระบวนกา

1. อธิบายการบรู ณาการศลิ ปะแขนง ศลิ ปะแขนงอน่ื ๆ กบั ความสามารถในกา
สอ่ื สาร
อืน่ ๆ กับการแสดง การแสดง ความสามารถในกา

2. สรางสรรคการแสดงโดยใช องคป ระกอบนาฏศลิ ป ความสามารถในกา
ความสามารถในกา
องคป ระกอบนาฏศลิ ปแ ละการละคร และการละคร ทักษะชีวิต

144

บบันทกึ

ยรายวิชาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน
ปะ ระดับชั้น ม. 2

ากษวิจารณคณุ คา นาฏศิลป ถา ยทอดความรูส ึก ความคิดอยา งอิสระ ช่นื ชม

สาระการเรยี นรูแกนกลาง/ทองถน่ิ

าร P คณุ ลกั ษณะ A สาระสำคญั ทองถนิ่ /พอเพยี ง/อาเซียน/

พระบรมราโชบาย

การ ใฝเ รียนรู  ศลิ ปะแขนงอนื่ ๆ กบั ใบงานวเิ คราะหองคประกอบ
มุง มน่ั ในการ ของการแสดงวาสามารถบูรณา
การแสดง การกับวชิ าอนื่ ๆ ไดอ ยางมี
การคิด ทำงาน - แสง สี เสียง เหตผุ ล
- ฉาก
- เครื่องแตงกาย
- อปุ กรณ
การคดิ ใฝเ รียนรู แสดงละครในหัวขอเร่อื งราวท่ี
การใช มุง ม่นั ในการ  หลักและวธิ ีการ
สรา งสรรคการแสดง โดยใช เกย่ี วกับการเปนพลเมืองดี
ทำงาน องคป ระกอบนาฏศิลปและ

การละคร

144

1

3. วเิ คราะหการแสดงของตนเอง การวเิ คราะหโ ดยใช ความสามารถในกา
ความสามารถในกา
และผอู ืน่ โดยใชนาฏยศัพทห รือศัพท นาฏยศัพทห รือศัพท แกป ญหา

ทางการละคร ที่เหมาะสม ทางการละคร

4. เสนอขอ คดิ เหน็ ในการปรับปรุง การเสนอขอคิดเหน็ ใน ความสามารถในกา
การปรบั ปรุงการแสดง สือ่ สาร
การแสดง ความสามารถในกา

5. เชอ่ื มโยงการเรียนรรู ะหวาง การเชื่อมโยงการเรียนรู ความสามารถในกา
นาฏศิลปแ ละการละครกับสาระการ ระหวางนาฏศิลปแ ละ สื่อสาร
เรยี นรอู นื่ ๆ การละครกับสาระการ ความสามารถในกา
เรยี นรอู ืน่ ๆ ทักษะชีวิต

145

การคดิ ใฝเ รียนรู  หลกั และวธิ ีการ
การ วเิ คราะหการแสดง

การ ใฝเรียนรู  วิธกี ารวิเคราะห วิจารณ วจิ ารณก ารแสดงของเพื่อนกลุม
มุงมัน่ ในการ การแสดง นาฏศลิ ป และ ตาง ๆ ไดอยา งไมอคตแิ ละมี
เหตุผล มีความเปนธรรม
การคิด ทำงาน การละคร
มจี ิตสาธารณะ
 รำวงมาตรฐาน
การ ใฝเรยี นรู
 ความสมั พันธของ
การใช นาฏศิลปหรือ การละครกบั
สาระการเรียนรูอ นื่ ๆ

145

1

สาระที่ 3 นาฏศิลป เขาใจความสมั พนั ธระหวางนาฏศลิ ป ประวตั ิศาสตรแ ละวฒั
มาตรฐาน ศ 3.2 ภมู ิปญ ญาไทยและสากล

ตวั ชี้วดั ชั้นป/ ผลการเรียนรู

ความรู K ทกั ษะกระบวนการ

1. เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะ ลกั ษณะเฉพาะของ ความสามารถในการ
ของ การแสดงนาฏศลิ ปจ าก การแสดงนาฏศิลปจ าก
วฒั นธรรมตา งๆ วฒั นธรรมตางๆ

2. ระบุหรือแสดงนาฏศิลป แสดงนาฏศิลป นาฏศิลป ความสามารถในการ
นาฏศลิ ปพ ้ืนบาน ละครไทย พนื้ บาน ละครไทย ละคร ส่ือสาร
ละครพ้นื บาน หรอื มหรสพอ่ืนท่ี พน้ื บาน หรือมหรสพอ่ืนท่ี
เคยนิยมกันในอดตี เคยนิยมกันในอดตี

3. อธิบายอทิ ธิพลของวฒั นธรรม อทิ ธิพลของวฒั นธรรมท่ีมี ความสามารถในการ
ผลตอเนื้อหาของละคร สอ่ื สาร
ที่มผี ลตอ เน้ือหาของละคร

146

ฒนธรรม เหน็ คณุ คา ของนาฏศลิ ปท เี่ ปน มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญ ญาทองถ่นิ

สาระการเรียนรูแกนกลาง/ทองถ่ิน

ร P คุณลกั ษณะ A สาระสำคัญ ทอ งถิ่น/พอเพียง/

อาเซียน/

พระบรมราโชบาย

รคิด ใฝเ รียนรู  นาฏศลิ ปพน้ื เมือง เปรยี บเทยี บการ

รกั ความเปนไทย - ความหมาย - ที่มา แสดงนาฏศลิ ป

- วัฒนธรรม - ลกั ษณะเฉพาะ พน้ื เมอื งของไทยกบั
ประเทศอาเซยี น

ร ใฝเรยี นรู  รูปแบบการแสดงประเภทตาง ๆ แสดงนาฏศิลปใ น

รกั ความเปนไทย - นาฏศิลป ทองถน่ิ ทต่ี นเองรูจ ัก

นาฏศลิ ปพนื้ เมือง

- ละครไทย
ละครพนื้ บาน

ร ใฝเ รียนรู  การละครสมยั ตา ง ๆ

รักความเปน ไทย

146

147

คำอธบิ ายรายวิชา
วชิ า ศลิ ปะพ้นื ฐาน (นาฏศลิ ป) รหสั วิชา ศ 22101 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 2

ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 20 ชัว่ โมง จำนวน 1.0 หนว ยกติ
สาระที่ 3 นาฏศลิ ป

ศึกษา รูและเขาใจ เก่ียวกับ ศิลปะแขนงอื่น ๆ กับการแสดง องคประกอบนาฏศิลปและการ
ละคร วิเคราะหโดยใชนาฏยศัพทหรือศัพททางการละคร เสนอขอคิดเห็นอยางเปนเหตุเปนผลในการ
ปรับปรุงการแสดง เชื่อมโยงการเรียนรูระหวางนาฏศิลปและการละครกับสาระการเรียนรูอ่ืน ๆ เห็น
คุณคา ชื่นชม ลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลปจากวัฒนธรรมตางๆ แสดงนาฏศิลป นาฏศิลป
พ้ืนบาน ละครไทย ละครพ้ืนบาน หรือมหรสพอื่นที่เคยนิยมกันในอดีต อิทธิพลของวัฒนธรรมท่ีมีผลตอ
เนื้อหาของละคร

โดยนอมหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการแสวงหาความรูและฝกปฏิบัติ อยางมุงม่ันต้ังใจ
เห็นคุณคาของการนำความรู ความคิดไปสรา งสรรคและปรับใชในชีวิตประจำวันและตอยอดเปนอาชีพ
ตามความถนัดไดอยางชื่นชม ท้ังดานนาฏศลิ ปไทย นาฏศิลปเพื่อนบานอาเซียน นาฏศิลปนานาชาติ และ
ศิลปะการแสดงพื้นบานในทองถน่ิ ของตนเอง

เพ่ือเห็นคุณคา ชื่นชม ลกั ษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศลิ ปที่เปนสง่ิ ท่ดี ีงามจากวัฒนธรรมตา งๆ
แสดงนาฏศลิ ป นาฏศิลปพ้ืนบาน ละครไทย ละครพื้นบาน หรือมหรสพอื่นท่เี คยนิยมกันในอดีต อิทธิพล
ของวัฒนธรรมท่ีมผี ลตอ เนื้อหาของละคร
รหสั ตัวช้ีวัด

ศ 3.1 ม.2/1, ศ 3.1 ม.2/2, ศ 3.1 ม.2/3, ศ 3.1 ม.2/4, ศ 3.1 ม.2/5
ศ 3.2 ม.2/1 , ศ 3.2 ม.2/2, ศ3.2ม.2/3, ศ3.2ม.2/4
รวม 9 ตวั ชีว้ ดั

147

1

ลำดับ โครงสรา
ที่ ชอ่ื หนวยการเรียนรู
วชิ าศลิ ปะพ้นื ฐาน (นาฏศิลป) รหัสว
1 นาฏศิลปศ ึกษา ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 20 ชัว่

มาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ชีว้ ัด

มาตรฐาน ศ 3.1 เขาใจ และแสดงออกทาง
นาฏศลิ ปอ ยา งสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณ
คณุ คา นาฏศลิ ป ถายทอดความรูส กึ ความคิดอยาง
อิสระ ช่นื ชม และประยกุ ตใ ชใ นชีวิตประจำวัน

148

างรายวิชา เวลา น้ำหนัก
(ช่ัวโมง) คะแนน
วชิ า ศ22101 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ ม.2
วโมง จำนวน 1.0 หนว ยกติ

เน้ือหาสาระ

ศึกษา รแู ละเขาใจ เกีย่ วกบั ศลิ ปะแขนงอื่น ๆ กับการ 20 50
แสดง องคป ระกอบนาฏศิลปและการละคร วิเคราะหโดยใช
นาฏยศัพทห รือศัพทท างการละคร เสนอขอคิดเหน็ ในการ
ปรบั ปรงุ การแสดง เช่อื มโยงการเรยี นรรู ะหวางนาฏศลิ ปแ ละการ
ละครกบั สาระการเรียนรอู ื่น ๆ

เหน็ คณุ คา ชน่ื ชม ลกั ษณะเฉพาะของการแสดง
นาฏศิลปจ ากวัฒนธรรมตา งๆ แสดงนาฏศลิ ป นาฏศลิ ปพ ื้นบา น
ละครไทย ละครพนื้ บา น หรอื มหรสพอนื่ ทเ่ี คยนิยมกนั ในอดีต
อิทธิพลของวฒั นธรรมที่มีผลตอเนือ้ หาของละคร

148

1

1.1 รังสรรคงานศิลป ตวั ชี้วัดช้นั ป

1. อธิบายการบรู ณาการศลิ ปะแขนงอื่น ๆ กับการ
แสดง
2. สรางสรรคก ารแสดงโดยใชองคประกอบนาฏศลิ ป
และการละคร

149

 ศิลปะแขนงอนื่ ๆ กับการแสดง (6) (10)
- แสง สี เสยี ง
- ฉาก
- เครอ่ื งแตง กาย
- อุปกรณ

 หลกั และวิธีการสรางสรรคก ารแสดง โดยใชอ งคป ระกอบ

นาฏศิลปแ ละการละคร

149

1

1.2 วิจารณงาน มาตรฐาน ศ 3.1 เขาใจ และแสดงออกทาง
นาฏศิลป นาฏศลิ ปอ ยางสรา งสรรค วิเคราะห วิพากษว ิจารณ

คณุ คา นาฏศิลป ถา ยทอดความรสู กึ ความคิดอยา ง
อิสระ ชืน่ ชม และประยุกตใชใ นชวี ติ ประจำวนั

ตัวช้ีวดั ชนั้ ป
3. วิเคราะหการแสดงของตนเองและผอู น่ื โดยใช
นาฏยศพั ทห รือศัพทท างการละคร ทีเ่ หมาะสม
4. เสนอขอคิดเห็นในการปรบั ปรุงการแสดง
5. เชอื่ มโยงการเรียนรรู ะหวางนาฏศิลปและการละคร
กบั สาระการเรียนรอู น่ื ๆ

150

 หลกั และวิธีการวิเคราะหก ารแสดง (6) (30)

 วิธีการวิเคราะห วิจารณการแสดง นาฏศลิ ป และการละคร

 รำวงมาตรฐาน

 ความสมั พนั ธข องนาฏศลิ ปหรือ การละครกับสาระการเรยี นรู
อืน่ ๆ

150

1

1.3 วฒั นธรรมกับ มาตรฐาน ศ 3.2 เขาใจความสัมพันธร ะหวาง
นาฏศิลป นาฏศิลป ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคา

ของนาฏศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญา

ทอ งถ่ินภูมิปญ ญาไทยและสากล

ตวั ช้วี ัดช้ันป

1. เปรียบเทียบลกั ษณะเฉพาะของ การแสดง

นาฏศิลปจากวัฒนธรรมตางๆ
2.ระบุหรือแสดงนาฏศิลป นาฏศลิ ปพ ้ืนบา น ละคร
ไทย ละครพื้นบาน หรือมหรสพอื่นท่ีเคยนิยมกันใน
อดีต
3.อธิบายอทิ ธิพลของวฒั นธรรมทีม่ ีผลตอเน้อื หา
ของละคร

151

 นาฏศลิ ปพน้ื เมือง (8) (10)

- ความหมาย
- ท่ีมา
- วฒั นธรรม
- ลักษณะเฉพาะ
 รูปแบบการแสดงประเภทตาง ๆ

- นาฏศลิ ป - นาฏศิลปพนื้ เมือง

- ละครไทย - ละครพืน้ บาน

 การละครสมัยตาง ๆ

151

152

แบบบนั ทึกการวิเคราะหต ัวชวี้ ัด
คำอธบิ ายรายวิชา
โครงสรางรายวชิ า

สาระท่ี 3 นาฏศิลป

ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 3
รายวิชา ศิลปะพ้ืนฐาน

152

1

แบบ

การวิเคราะหเ พอ่ื จัดทำคำอธิบาย
กลุม สาระการเรียนรศู ิล

สาระท่ี 3 นาฏศิลป
มาตรฐาน ศ 3.1 เขาใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพา

และประยกุ ตใชในชีวิตประจำวัน

ตัวช้ีวัดชั้นป/ผลการเรียนรู

ความรู K ทักษะกระบวนการ P

1. ระบุโครงสรา งของบท โครงสรางของบทละคร ความสามารถในการ
ละครโดยใชศ ัพทท างการ โดยใชศพั ททางการละคร สอ่ื สาร
ละคร
ความสามารถในการคิด

2. ใชนาฏยศพั ทหรือศัพท ภาษาทาท่ีมาจาธรรมชาติ ความสามารถในการ
ทางการละคร ท่เี หมาะสม ภาษาทาทมี่ าจากการ สื่อสาร
บรรยายเปรยี บเทียบการ ประดษิ ฐ ความสามารถในการใช
แสดงอากัปกริ ิยาของผูคนใน รำวงมาตรฐาน ทกั ษะชีวิต
ชีวิตประจำวันและในการ
แสดง

153

บบันทกึ

ยรายวิชาระดับ มัธยมศึกษาตอนตน
ลปะ ระดบั ชั้น ม.3

ากษว ิจารณค ณุ คานาฏศลิ ป ถายทอดความรสู ึก ความคิดอยา งอสิ ระ ชืน่ ชม

สาระการเรยี นรูแ กนกลาง/ทอ งถิน่

P คณุ ลักษณะ A สาระสำคัญ ทองถนิ่ /พอเพียง/
อาเซยี น/
ใฝเรยี นรู  องคป ระกอบของบทละคร
พระบรมราโชบาย
ด - โครงเรื่อง
- ตวั ละครและการวางลักษณะ คดิ บทละครเร่อื งราวท่ี
ใหข อ คิดเกย่ี วกับความ
พอเพียง

นิสยั ของตัวละคร

- ความคดิ หรือแกนของเรือ่ ง
- บทสนทนา

ใฝเ รียนรู  ภาษาทาหรอื ภาษาทางนาฏศลิ ป

มงุ มน่ั ในการ - ภาษาทา ทม่ี าจากธรรมชาติ
ทำงาน - ภาษาทาท่ีมาจากการ
รกั ความเปน ไทย
ประดิษฐ

- รำวงมาตรฐาน

153

1

3. มที ักษะในการใชค วามคดิ รปู แบบการแสดง ความสามารถในการคดิ
ในการพฒั นารปู แบบการ การแสดงเปน หมู
แสดง การแสดงเด่ยี ว
การแสดงละคร
การแสดงเปนชดุ เปนตอน

4. มีทกั ษะในการแปลความ การประดิษฐท ารำและ ความสามารถในการ
และ การส่อื สารผา นการ ทาทางประกอบการแสดง สื่อสาร
แสดง *ความหมาย ความสามารถในการใช
*ความเปนมา ทักษะชีวิต
*ทาทางท่ีใชในการ
ประดษิ ฐทา รำ

5. วจิ ารณเ ปรียบเทยี บงาน องคป ระกอบนาฏศิลป ความสามารถในการ
นาฏศลิ ป ท่ีมคี วามแตกตา ง สื่อสาร
กันโดยใชค วามรู เร่ือง ความสามารถในการคดิ
องคป ระกอบนาฏศิลป

154

ด ใฝเรยี นรู  รปู แบบการแสดง
มงุ มนั่ ในการ
ทำงาน - การแสดงเปน หมู -
การแสดงเดี่ยว

- การแสดงละคร -

การแสดงเปนชดุ เปนตอน

ใฝเ รียนรู  การประดษิ ฐทารำและทาทาง
รักความเปนไทย
ประกอบการแสดง
- ความหมาย
- ความเปนมา
- ทา ทางที่ใชใ นการประดิษฐท า
รำ

ใฝเ รียนรู  องคประกอบนาฏศิลป -
ด - จงั หวะทำนอง -
การเคลอื่ นไหว -
- อารมณแ ละความรสู ึก
ภาษาทา นาฎยศพั ท
- รูปแบบของการแสดง
การแตง กาย

154

1

6. รวมจัดงานการแสดงใน วธิ ีการเลือกการแสดง ความสามารถในการคดิ
บทบาทหนาท่ีตาง ๆ *ประเภทของงาน มจี ติ สาธารณะ
*ขั้นตอน
*ประโยชนแ ละคณุ คาของ
การแสดง

7. นำเสนอแนวคดิ จากเนอ้ื ละครกับชวี ิต ความสามารถในการ
เรื่อง ของการแสดงทสี่ ามารถ ส่อื สาร
นำไปปรับใช ใน ความสามารถในการใช
ชีวิตประจำวนั ทกั ษะชีวิต

155

ด ใฝเรียนรู  วิธกี ารเลอื กการแสดง

มงุ มน่ั ในการ - ประเภทของงาน
ทำงาน - ขน้ั ตอน

- ประโยชนแ ละคณุ คา ของการ
แสดง

แสดงละครทีใ่ หขอคดิ

ใฝเรยี นรู  ละครกับชวี ติ เกีย่ วกับเร่อื งราวของ

มีจติ สาธารณะ ความพอเพียง

155

1

สาระท่ี 3 นาฏศลิ ป เขาใจความสัมพันธร ะหวางนาฏศลิ ป ประวัติศาสตรแ ละวัฒ
มาตรฐาน ศ 3.2 ภูมปิ ญญาไทยและสากล

ตัวชว้ี ัดชั้นป/ ผลการเรียนรู

ความรู K ทักษะกระบวนการ P

1. ออกแบบ และสรางสรรค การออกแบบและสรา งสรรค ความสามารถในการ
อปุ กรณ และเครื่องแตงกาย อุปกรณและ ส่ือสาร
เพอ่ื แสดงนาฏศลิ ปแ ละละคร เครื่องแตงกายเพื่อการแสดง ความสามารถในการใช
ที่มาจากวัฒนธรรมตาง ๆ นาฏศิลป ทกั ษะชีวิต

2. อธิบายความสำคัญและ ความสำคญั และบทบาทของ ความสามารถในการ
บทบาทของนาฏศิลปและการ นาฏศิลป และการละครใน สื่อสาร
ความสามารถในการใช
ละครในชีวติ ประจำวัน ชีวิตประจำวัน ทกั ษะชวี ิต

3. แสดงความคิดเหน็ ในการ การอนุรักษนาฏศิลป ความสามารถในการ
อนุรกั ษ คดิ

156

ฒนธรรม เหน็ คุณคาของนาฏศิลปท เ่ี ปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญ ญาทอ งถ่นิ

สาระการเรยี นรแู กนกลาง/ทองถิน่

P คุณลกั ษณะ A สาระสำคญั ทองถน่ิ /พอเพียง/อาเซียน/
พระบรมราโชบาย
มวี นิ ัย  การออกแบบและ
ใฝเรียนรู สรางสรรคอปุ กรณแ ละ ออกแบบเคร่อื งแตง กายทท่ี ำ
ช มุง มัน่ ในการทำงาน เคร่ืองแตง กายเพ่ือการแสดง จากวัสดุในทองถน่ิ
นาฏศิลป

ใฝเ รียนรู  ความสำคัญและบทบาท
ช ของนาฏศลิ ป และการละคร
ในชีวิตประจำวัน

รกั ชาติ ศาสน กษัตริย  การอนรุ ักษน าฏศิลป
รักความเปน ไทย

156

157

คำอธบิ ายรายวิชา
วิชา ศิลปะพนื้ ฐาน (นาฏศิลป) รหสั วิชา ศ 23102 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 3

ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 20 ชวั่ โมง จำนวน 1.0 หนว ยกติ

สาระนาฏศลิ ป

ศึกษา รูและเขาใจ เก่ียวกับ โครงสรางของบทละครโดยใชศัพททางการละครภาษาทา
ที่มาจากธรรมชาติ ภาษาทาที่มาจากการประดิษฐ รำวงมาตรฐาน รปู แบบการแสดงการแสดงเปนหมู
การแสดงเด่ียว การแสดงละคร การแสดงเปนชุดเปนตอน การประดิษฐทารำและทาทางประกอบการ
แสดง ความหมาย ความเปนมา ทา ทางท่ีใชในการประดิษฐท ารำ องคป ระกอบนาฏศิลปวิธีการเลือก
การแสดง ประเภทของงาน ขั้นตอน ประโยชนและคุณคาของการแสดงละครกับชีวิตคนควา การ
ออกแบบ สรา งสรรคอุปกรณและเครอ่ื งแตง กายเพ่ือการแสดงนาฏศิลป ความสำคัญและบทบาทของ
นาฏศิลป และการละครในชีวติ ประจำวันการอนรุ ักษนาฏศิลปพื้นบาน

โดยนอมหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในการแสวงหาความรแู ละฝกปฏิบัติ อยางมงุ มั่นตั้งใจ
ทำงานอยางมีเหตุผล เห็นคุณคาของการนำความรู ความคิดไปสรางสรรคและปรับใชใน
ชีวิตประจำวัน และการประกอบอาชีพอยางช่ืนชม ทั้งนาฏศิลปไทย นาฏศิลปเพ่ือนบานอาเซียน
นาฏศิลปน านาชาติ และศลิ ปะการแสดงพน้ื บา นในทองถนิ่ ของตนเอง

เพื่อเปน ประโยชนและเห็นคุณคา ของการแสดงละครกับชีวติ คน ควา ออกแบบ วิเคราะห
สรา งสรรคอ ุปกรณแ ละเคร่อื งแตงกายเพอ่ื การแสดงนาฏศลิ ป โดยเลอื กวัสดุจากทองถ่ินมาปรับใช
ความสำคัญและบทบาทของนาฏศลิ ป และการละครในชีวติ ประจำวนั การอนรุ ักษน าฏศลิ ปพ ้นื บาน
รหัสตวั ชี้วัด
ศ 3.1 ม.3/1, ศ 3.1 ม.3/2, ศ 3.1 ม.3/3, ศ 3.1 ม.3/4, ศ 3.1 ม.3/5, ศ 3.1 ม.3/6,
ศ 3.1 ม.3/7
ศ 3.2 ม.3/1, ศ 3.2ม.3/2, ศ3.2 ม.3/3, ศ 3.2 ม.3/4

รวม 11 ตัวช้ีวัด

157

15

ลำดบั โครงสรา ง
ที่ ชอ่ื หนวยการเรยี นรู
วิชาศิลปะพืน้ ฐาน (นาฏศลิ ป) รหสั วชิ
1 นาฏศิลปศ ึกษา ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 20 ช่วั โ

มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวชวี้ ัด

มาตรฐาน ศ 3.1 เขาใจ และแสดงออกทาง
นาฏศิลปอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวจิ ารณ
คุณคา นาฏศิลป ถายทอดความรสู ึก ความคิดอยา ง
อิสระ ชน่ื ชม และประยุกตใชในชวี ติ ประจำวนั

58

งรายวิชา เวลา น้ำหนัก
(ชวั่ โมง) คะแนน
ชา ศ23102 ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี ม.3
โมง จำนวน 1.0 หนวยกติ 20 50

เนือ้ หาสาระ

ศกึ ษา รูและเขาใจ เก่ียวกับ โครงสรา งของบทละคร
โดยใชศัพทท างการละคร ภาษาทา ที่มาจากธรรมชาติ
ภาษาทา ท่ีมาจากการประดิษฐ รำวงมาตรฐาน รปู แบบ
การแสดง การแสดงเปนหมู การแสดงเดี่ยว การแสดง
ละคร การแสดงเปน ชุดเปน ตอน การประดษิ ฐทารำและ
ทาทางประกอบการแสดง ความหมาย ความเปนมา
ทา ทางที่ใชในการประดษิ ฐทารำ องคป ระกอบนาฏศิลป
วิธีการเลือกการแสดง ประเภทของงาน ขน้ั ตอน
ประโยชนแ ละคณุ คาของการแสดงละครกับชวี ิต

คน ควา การออกแบบ สรางสรรคอ ุปกรณและ
เคร่ืองแตง กายเพ่ือการแสดงนาฏศิลป ความสำคญั และ
บทบาทของนาฏศลิ ป และการละครในชีวิตประจำวัน
การอนรุ ักษนาฏศลิ ปพื้นบาน

158

15

1.1 การละคร ตัวช้วี ดั ชั้นป
1. ระบุโครงสรา งของบทละครโดยใชศ พั ทท างการละคร
2. ใชนาฏยศัพทหรอื ศพั ทท างการละคร ท่เี หมาะสมบรรย
เปรยี บเทยี บการแสดงอากัปกิรยิ าของผูคนในชีวิตประจำว
ในการแสดง

59

(4) (10)

 องคประกอบของบทละคร
ยาย - โครงเรอ่ื ง
วันและ - ตวั ละครและการวางลักษณะนิสยั ของตวั

ละคร
- ความคิดหรือแกน ของเรอื่ ง

- บทสนทนา

 ภาษาทาหรอื ภาษาทางนาฏศิลป
- ภาษาทา ที่มาจากธรรมชาติ
- ภาษาทา ท่มี าจากการประดิษฐ
- รำวงมาตรฐาน

159


Click to View FlipBook Version