The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pornpassanan Poomjarean, 2019-12-18 04:10:52

หลักสูตรศิลปะ ม.ต้น

หลักสูตร ม.ต้น

1

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนวัชรวทิ ยา
(ฉบบั ปรับปรุง)
ตวั ชีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พทุ ธศักราช 2551

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชันมัธยมศึกษาตอนต้น
โรงเรียนวชั รวิทยา อําเภอเมือง จงั หวดั กําแพงเพชร

สาํ นกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา
สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั พนื ฐานกระทรวงศกึ ษาธิการ

1

2

สารบัญ หน้า

คาํ นาํ 1
ส่ วนนํา(วิสัยทศั น์ หลกั การ จุดมุงหมาย สมรรถนะ ทีสาํ คญั คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ความสําคญั และคุณภาพของ
7
ผเู้ รียน มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชีวดั ตารางสาระ สาระและตารางส่วนนาํ ) 8
9
โครงสร้างเวลาเรียน 10
ทาํ ไมต้องเรียนศิลปะ 12
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 3
คุณภาพผ้เู รียน 34
ตัวชีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง ( สาระที ทศั นศลิ ป์ สาระที ดนตรี สาระที นาฏศลิ ป์ ) 48
โครงสร้างหลกั สูตรสาระแกนกลาง กลุ่มสาระฯ ศิลปะ ชนั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 86
คาํ อธิบายรายวชิ า ตามโครงสร้างหลกั สูตรสาระแกนกลาง กลมุ่ สาระฯ ศลิ ปะ ม.ตน้ 136
แบบบนั ทึกการวิเคราะห์ คาํ อธิบายรายวชิ า โครงสร้างรายวชิ า (สาระที ทศั นศิลป์ ) 175
แบบบนั ทึกการวเิ คราะห์ คาํ อธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวชิ า (สาระที ดนตรี) 180
แบบบนั ทึกการวเิ คราะห์ คาํ อธิบายรายวชิ า โครงสร้างรายวชิ า (สาระที นาฏศิลป์ )
อภธิ านศัพท์
คณะผู้จัดทํา (พฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาสาระแกนกลาง)

2

3

คาํ นํา

โรงเรียนวชั รวทิ ยา อาํ เภอเมือง จงั หวดั กาํ แพงเพชร เป็นโรงเรียนทีเปิ ดสอนระดบั ชนั มธั ยมศึกษา ตงั อยู่
ใน เขตพื น ที การศึกษ า กําแพ งเพ ชร เขต สั งกัดสํานักงาน คณ ะกรรม การการศึกษ าขัน พื น ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ ไดร้ ับคดั เลือกให้เป็ นโรงเรียนดาํ เนินการนาํ ร่องการใชห้ ลกั สูตรสาระแกนกลาง เพือการ
เรียนการสอน โดยเริมใชใ้ นปี การศึกษา โดยจะปรับใชใ้ นระดบั ชนั มธั ยมศึกษาปี ที และชนั มธั ยมศึกษาปี
ที ก่อน ทางโรงเรียนไดด้ าํ เนินการปรับใชห้ ลกั สูตรสาระแกนกลางมาอยา่ งตอ่ เนือง ไดม้ ีการจดั ส่งคณะครูเขา้
รับการอบบรมเกียวกบั หลกั สูตรแกนกลางมาโดยตลอดและทางโรงเรียนไดม้ อบหมายใหค้ ณะกรรมการวชิ าการ
ของโรงเรียน ดาํ เนินการวางแผนการดาํ เนินงาน แต่งตงั คณะทาํ งาน โดยแบ่งความรับผิดชอบตามแต่ละกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระและอีก กลุ่มกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน อนั ประกอบไปด้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทยสังคมฯ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ การงานพืนฐานอาชีพฯ สุขฯและพละศึกษา ศิลปะ
และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน

ในส่วนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะไดด้ าํ เนินการจดั ทาํ หลกั สูตรสถานศึกษาโดยปรับใชจ้ าก
หลกั สูตรสาระแกนกลาง ซึงแบ่งภาระงานตามสาระการเรียนรู้ สาระ ไดแ้ ก่ สาระที ทศั นศิลป์ สาระที
สาระดนตรี สาระที สาระนาฏศิลป์ และหวงั ว่าในการจดั ทาํ หลกั สูตรสถานศึกษาของกลุ่มสาระการเรียนรู้
ศิลปะจะสามารถดาํ เนินการจดั การเรียนการสอนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนส์ ูงสุดแก่ตวั ผเู้ รียน

คณะผทู้ าํ
กลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนวชั รวิทยา

3

4

ชันมัธยมศึกษาตอนต้น

กล่มุ สาระการเรียนรู้ศิลปะ

โรงเรียนวชั รวิทยา อําเภอเมือง จังหวัดกําแพงเพชร

4

5

ชันมัธยมศึกษาตอนต้น

กล่มุ สาระการเรียนรู้ศิลปะ

โรงเรียนวชั รวิทยา อําเภอเมือง จังหวัดกําแพงเพชร

5

6

ชันมัธยมศึกษาตอนต้น

กล่มุ สาระการเรียนรู้ศิลปะ

โรงเรียนวชั รวิทยา อําเภอเมือง จังหวัดกําแพงเพชร

6

7

สวนนำ

วสิ ยั ทัศน

หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน มุงพัฒนาผูเรยี นทกุ คน ซงึ่ เปนกำลงั ของชาติใหเปนมนุษยท่ีมีความสมดุล
ทั้งดานรางกาย ความรู คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและเปนพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีความรแู ละทักษะพ้ืนฐาน รวมทั้ง เจตคติ ท่ีจำเปน
ตอ การศกึ ษาตอ การประกอบอาชีพและการศกึ ษาตลอดชวี ติ โดยมุงเนน ผูเรียนเปนสำคญั บนพ้นื ฐานความเชือ่ วา
ทุกคนสามารถเรยี นรแู ละพัฒนาตนเองไดเตม็ ตามศักยภาพ

หลักการ

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน มีหลักการท่สี ำคัญ ดงั น้ี
1. เปนหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเปนเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู เปน

เปาหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนใหมีความรู ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้ืนฐานของความเปนไทย
ควบคกู ับความเปนสากล

2. เปนหลักสูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสไดรับการศึกษาอยางเสมอภาค และมี
คุณภาพ

3. เปนหลักสูตรการศกึ ษาทส่ี นองการกระจายอำนาจ ใหสังคมมสี วนรว มในการจัดการศกึ ษาใหส อดคลอง
กับสภาพและความตองการของทอ งถ่ิน

4. เปนหลักสตู รการศึกษาท่ีมีโครงสรางยดื หยนุ ท้ังดานสาระการเรยี นรู เวลาและการจดั การเรียนรู
5. เปนหลกั สูตรการศึกษาทเ่ี นน ผูเ รียนเปน สำคญั
6. เปนหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลุมเปาหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู และประสบการณ

จดุ หมาย

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีความสุข มี
ศักยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเปนจุดหมายเพ่ือใหเกิดกับผูเรียน เมื่อจบการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน ดงั นี้
1. มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงค เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรม
ของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนับถอื ยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
2. มคี วามรู ความสามารถในการส่อื สาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยี และมที ักษะชีวติ
3. มสี ุขภาพกายและสุขภาพจติ ทีด่ ี มสี ขุ นสิ ัย และรกั การออกกำลังกาย
4. มคี วามรักชาติ มีจิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวถิ ีชีวิตและการปกครองตามระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ
5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษวัฒนธรรมและภูมปิ ญญาไทย การอนรุ ักษและพัฒนาสิ่งแวดลอม มีจิตสาธารณะท่ี
มงุ ทำประโยชนและสรางส่ิงทดี่ งี ามในสงั คม และอยรู วมกนั ในสังคมอยา งมีความสุข
สมรรถนะสำคัญของผเู รียน และคณุ ลักษณะอันพึงประสงคในการพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษา
ข้ันพ้ืนฐาน มุงเนนพัฒนาผูเรียนใหมีคณุ ภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซึง่ จะชวยใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสำคัญและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค ดังนี้

7

8

สมรรถนะสำคัญของผูเ รียน

หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน มุงใหผูเ รียนเกิดสมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดงั น้ี
1. ความสามารถในการส่ือสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใชภาษา

ถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและ
ประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาตอรองเพื่อขจัดและลดปญหา
ความขัดแยงตา ง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใช
วธิ กี ารสือ่ สาร ท่ีมปี ระสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบทมี่ ตี อ ตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด อยาง
สรา งสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพอื่ นำไปสูการสรา งองคค วามรหู รอื สารสนเทศเพ่ือ
การตัดสนิ ใจเกีย่ วกับตนเองและสงั คมไดอ ยางเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆที่เผชิญไดอยาง
ถูกตองเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาในความสัมพันธและการ
เปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหา
และมีการตัดสนิ ใจที่มปี ระสทิ ธภิ าพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบท่เี กิดข้นึ ตอตนเอง สังคมและสงิ่ แวดลอม

4. ความสามารถในการใชทักษะชวี ิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตา ง ๆ ไปใชในการดำเนิน
ชีวิตประจำวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทำงาน และการอยูรวมกันในสังคมดวยการ
สรา งเสริมความสัมพันธอ ันดีระหวา งบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยง ตาง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัว
ใหทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมพึงประสงคที่สงผล
กระทบตอตนเองและผูอื่น

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดานตา ง ๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพือ่ การพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การส่อื สาร การทำงาน การ
แกป ญหาอยางสรางสรรค ถกู ตอง เหมาะสม และมีคุณธรรม

คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มงุ พฒั นาผเู รียนใหมีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค เพ่ือใหส ามารถ
อยรู ว มกบั ผอู น่ื ในสงั คมไดอยา งมีความสุข ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้

1. รกั ชาติ ศาสน กษตั รยิ 
2. ซือ่ สัตยส จุ รติ
3. มีวนิ ัย
4. ใฝเรยี นรู
5. อยอู ยา งพอเพียง
6. มุงมน่ั ในการทำงาน
7. รักความเปนไทย
8. มจี ิตสาธารณะ
นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงคเพิ่มเติมใหสอดคลองตามบริบทและ
จดุ เนนของตนเอง

8

9

มาตรฐานการเรยี นรู

การพัฒนาผูเรียนใหเกิดความสมดุล ตองคำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปญญา หลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน จึงกำหนดใหผ เู รยี นเรยี นรู 8 กลมุ สาระการเรียนรู ดังน้ี

1.ภาษาไทย
2.คณิตศาสตร
3.วทิ ยาศาสตร
4.สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
5.สขุ ศึกษาและพลศึกษา
6.ศลิ ปะ
7.การงานอาชีพและเทคโนโลยี
8.ภาษาตางประเทศ
ในแตละกลุมสาระการเรียนรูไดกำหนดมาตรฐานการเรยี นรูเปนเปาหมายสำคัญของการพัฒนาคุณภาพ
ผเู รียน มาตรฐานการเรียนรรู ะบุสงิ่ ทผี่ ูเรยี นพงึ รู ปฏิบัติได มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม และคา นยิ ม ทพี่ งึ ประสงคเ มือ่ จบ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรูยังเปนกลไกสำคัญ ในการขับเคล่ือนพัฒนาการศึกษาท้ัง
ระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรจู ะสะทอนใหทราบวาตองการอะไร จะสอนอยางไร และประเมินอยางไร รวมทั้ง
เปนเคร่ืองมือในการตรวจสอบเพ่ือการประกันคณุ ภาพการศึกษาโดยใชระบบการประเมินคณุ ภาพภายในและการ
ประเมินคุณภาพภายนอก ซ่ึงรวมถึงการทดสอบระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการ
ตรวจสอบเพ่ือประกันคุณภาพดังกลาวเปน ส่ิงสำคญั ที่ชวยสะทอนภาพการจัดการศกึ ษาวาสามารถพัฒนาผูเรียนให
มีคณุ ภาพตามท่ีมาตรฐานการเรยี นรูก ำหนดเพยี งใด

ตวั ช้วี ดั

ตวั ชวี้ ดั ระบุส่ิงทนี่ ักเรียนพึงรูและปฏบิ ัติได รวมทง้ั คุณลักษณะของผูเรียนในแตล ะระดบั ช้นั ซ่งึ สะทอ นถึง
มาตรฐานการเรยี นรู มคี วามเฉพาะเจาะจงและมีความเปน รปู ธรรม นำไปใชในการกำหนดเนื้อหา จัดทำหนวยการ
เรยี นรู จัดการเรียนการสอน และเปนเกณฑส ำคัญสำหรบั การวัดประเมินผลเพ่ือตรวจสอบคณุ ภาพผเู รียน

1. ตัวช้ีวัดชั้นป เปนเปาหมายในการพัฒนาผูเรียนแตละชั้นปในระดับการศึกษาภาคบังคับ
(ประถมศึกษาปท่ี 1 – มัธยมศึกษาปท ่ี 3)

2. ตัวช้วี ัดชวงชนั้ เปน เปา หมายในการพฒั นาผเู รยี นในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
(มธั ยมศกึ ษาปที่ 4- 6)

หลักสูตรไดมีการกำหนดรหัสกำกบั มาตรฐานการเรยี นรแู ละตวั ชวี้ ดั เพอ่ื ความเขา ใจและใหสอื่ สารตรงกัน
ดังน้ี

ว 1.1 ป. 1/2 ตวั ช้วี ัดชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ 1 ขอที่ 2
สาระท่ี 1 มาตรฐานขอ ท่ี 1
ป.1/2 กลุม สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร
1.1


9

10

ต 2.2 ม.4-6 / 3 ตัวชว้ี ดั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ขอที่ 3
สาระท่ี 2 มาตรฐานขอ ท่ี 2
ม.4-6/3
2.3 กลมุ สาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ


สาระการเรยี นรู

สาระการเรียนรู ประกอบดวย องคความรู ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค ซึง่ กำหนดใหผูเรียนทกุ คนในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจำเปน ตองเรียนรู โดยแบงเปน ๘ กลุมสาระการ
เรยี นรู ดงั นี้

ภาษาไทย : ความรู้ ทกั ษะ คณติ ศาสตร์ : การนาํ ความรู้ วิทยาศาสตร์ : การนาํ ความรู้
และวฒั นธรรมการใชภ้ าษา ทกั ษะและกระบวนการทาง และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เพอื การสอื สาร ความชนื ชม คณิตศาสตรไ์ ปใชใ้ น ไปใชใ้ นการศกึ ษา คน้ ควา้ หาความรู้
การเห็นคณุ คา่ ภมู ปิ ัญญาไทย และ การแกป้ ัญหา การดาํ เนนิ ชวี ติ และแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นระบบ การคิด
ภูมิใจในภาษาประจาํ ชาติ และศกึ ษาต่อ การมเี หตมุ ผี ล อยา่ งเป็นเหตเุ ป็นผล คิดวิเคราะห์
ภาษาต่างประเทศ : ความรู้ มีเจตคติทดี ีต่อคณติ ศาสตร์ คิดสรา้ งสรรค์ และจิตวทิ ยาศาสตร์
ทกั ษะ เจตคติ และวฒั นธรรม พฒั นาการคิดอย่างเป็นระบบ
การใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการ และสรา้ งสรรค์ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม :
สือสาร การแสวงหาความรู้ การอย่รู ว่ มกนั ในสงั คมไทยและสงั คมโลก
และการประกอบอาชพี องคค์ วามรู้ ทกั ษะสาํ คญั อยา่ งสนั ติสขุ การเป็นพลเมอื งดี ศรทั ธา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี : และคณุ ลกั ษณะ ในหลกั ธรรมของศาสนา
ความรู้ ทกั ษะ และเจตคติ การเห็นคณุ คา่ ของทรพั ยากรและ
ในการทาํ งาน การจดั การ ในหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา สิงแวดลอ้ ม ความรกั ชาติ และภมู ใิ จใน
การดาํ รงชวี ติ การประกอบอาชพี ขนั พนื ฐาน ความเป็นไทย
และการใชเ้ ทคโนโลยี สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา : ความรู้
ศลิ ปะ : ความรูแ้ ละทกั ษะใน ทกั ษะและเจตคติในการสรา้ งเสรมิ
การคิดรเิ รมิ จินตนาการ สขุ ภาพพลานามยั ของตนเองและ
สรา้ งสรรคง์ านศิลปะ ผูอ้ นื การป้องกนั และปฏบิ ตั ิต่อ
สนุ ทรียภาพและการเหน็ สิงตา่ ง ๆ ทีมีผลต่อสขุ ภาพอยา่ ง
คณุ ค่าทางศลิ ปะ ถกู วิธีและทกั ษะในการดาํ เนนิ ชวี ติ

10

11

วิสัยทัศน์

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั พืนฐาน มงุ่ พฒั นาผเู้ รียนทุกคน ซึงเป็นกาํ ลงั ของชาติให้เป็นมนุษยท์ ีมคี วาม
สมดุลทงั ดา้ นร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจติ สํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยดึ มนั ในการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข มีความรู้และทกั ษะพนื ฐาน รวมทงั เจตคติ ทีจาํ เป็นตอ่
การศึกษาตอ่ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวติ โดยมุง่ เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาํ คญั บนพนื ฐานความเชือว่า ทกุ คน
สามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ

จุดหมาย

. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมทีพงึ ประสงค์ เห็นคณุ คา่ ของตนเอง มีวนิ ยั และปฏิบตั ติ นตาม
หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทีตนนบั ถือ ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2. มีความรู้อนั เป็นสากลและมีความสามารถในการสือสาร การคดิ การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยแี ละมี
ทกั ษะชีวิต

. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตทดี ี มีสุขนิสัย และรักการออกกาํ ลงั กาย
. มีความรักชาติ มีจิตสาํ นึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมนั ในวถิ ีชีวติ และการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข
. มีจิตสํานึกในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษแ์ ละพฒั นาสิงแวดลอ้ ม มีจิต
สาธารณะทีมุ่งทาํ ประโยชน์และสร้างสิงทีดีงามในสงั คม และอยรู่ ่วมกนั ในสังคมอยา่ งมคี วามสุข

สมรรถนะสําคญั ของผ้เู รียน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

1. ความสามารถในการสือสาร . รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2. ความสามารถในการคิด 2. ซือสัตยส์ ุจริต
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 3. มวี นิ ยั
4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ . ใฝ่เรียนรู้
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
6. มงุ่ มนั ในการทาํ งาน

. รักความเป็นไทย

8. มจี ิตสาธารณะ

มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชีวดั กล่มุ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน

1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร์ . วิทยาศาสตร์ 1.กจิ กรรมแนะแนว
4. สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม . สุขศึกษาและพลศึกษา .กิจกรรมนกั เรียน
6. ศิลปะ๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี . ภาษาต่างประเทศ
. กิจกรรมเพอื สังคม
และสาธารณประโยชน์

11

12

คณุ ภาพของผู้เรียนระดบั การศึกษาขนั พนื ฐาน

โครงสรางเวลาเรียน

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน กำหนดกรอบโครงสรางเวลาเรยี น ดังนี้

เวลาเรยี น

กลมุ สาระการเรยี นรู/ ระดับประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน ระดบั มธั ยมศกึ ษา
กิจกรรม ตอนปลาย
ม. 4 - 6
ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6 ม. 1 ม. 2 ม. 3
240
 กลมุ สาระการเรยี นรู (6 นก.)
240
ภาษาไทย 200 200 200 120 120 160 120 120 120 (6 นก.)
240
(3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.)

คณติ ศาสตร 200 200 200 160 160 160 120 120 120 240
(6 นก.)
(3 นก.) (3นก.) (3 นก.)
120
วทิ ยาศาสตร 80 80 80 80 80 80 120 120 120 (3นก.)

(3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) 120
(3 นก.)
สงั คมศึกษา ศาสนา 80 80 80 80 80 80 120 120 120
และวัฒนธรรม 120
(3 นก.) (3นก.) (3นก.) (3 นก.)

สุขศกึ ษาและพล 80 80 80 80 80 80 80 80 80 240
ศึกษา (6 นก.)
(2นก.) (2 นก.) (2 นก.) 1,560
(39 นก.)
ศลิ ปะ 80 80 80 80 80 80 80 80 80 360

(2นก.) (2นก.) (2นก.) ไมน อยกวา 1,560
ชัว่ โมง
การงานอาชีพและ 80 40 40 80 80 80 80 80 80
เทคโนโลยี
(2นก.) (2 นก.) (2 นก.)

ภาษาตา งประเทศ 40 40 40 80 80 80 120 120 120

(3นก.) (3นก.) (3 นก.)

รวมเวลาเรียน (พ้นื ฐาน) 800 800 800 800 800 800 840 840 840

(21นก.) (21 นก.) (21 นก.)

 กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น 120 120 120 120 120 120 120 120 120

รายวชิ า / กจิ กรรมที่
สถานศึกษาจัดเพ่ิมเติม
ตามความพรอมและจุดเนน ปละไมเกิน 80ชัว่ โมง ปล ะไมเ กนิ 240 ชว่ั โมง

รวมเวลาเรยี นท้งั หมด ไมเ กนิ 1,000 ชว่ั โมง/ป ไมเกนิ 1,200 ชัว่ โมง/ป รวม 3 ป
ไมนอ ยกวา
3,600 ชวั่ โมง

12

13

กลุม สาระการเรียนรศู ลิ ปะ

ทำไมตอ งเรยี นศลิ ปะ

กลมุ สาระการเรียนรูศลิ ปะเปนกลุมสาระทีช่ ว ยพัฒนาใหผูเรียนมีความคดิ รเิ ร่ิมสรางสรรค มี
จนิ ตนาการทางศลิ ปะ ชน่ื ชมความงาม มสี นุ ทรียภาพ ความมคี ณุ คา ซึ่งมีผลตอคณุ ภาพชวี ติ มนษุ ย กิจกรรมทาง
ศลิ ปะชวยพัฒนาผูเรยี นทงั้ ดานรา งกาย จิตใจ สตปิ ญญา อารมณ สงั คม ตลอดจน การนำไปสกู ารพัฒนา
ส่ิงแวดลอม สงเสริมใหผ เู รยี นมคี วามเชอื่ ม่ันในตนเอง อันเปน พนื้ ฐาน ในการศกึ ษาตอหรอื ประกอบอาชพี ได

เรยี นรอู ะไรในศิลปะ

กลมุ สาระการเรยี นรูศิลปะมงุ พัฒนาใหผ เู รยี นเกดิ ความรูความเขาใจ มีทกั ษะวิธกี ารทางศิลปะ เกิดความ
ซาบซง้ึ ในคณุ คา ของศลิ ปะ เปดโอกาสใหผเู รยี นแสดงออกอยา งอิสระในศิลปะแขนงตาง ๆ ประกอบดว ยสาระสำคญั
คอื

 ทศั นศิลป มคี วามรคู วามเขา ใจองคป ระกอบศลิ ป ทศั นธาตุ สรางและนำเสนอผลงาน ทางทศั นศลิ ป
จากจินตนาการ โดยสามารถใชอุปกรณที่เหมาะสม รวมท้ังสามารถใชเ ทคนิค วธิ กี าร ของศลิ ปนในการสรางงานได
อยางมปี ระสิทธิภาพ วเิ คราะห วิพากษ วิจารณคุณคา งานทัศนศิลป เขา ใจความสัมพันธระหวางทัศนศลิ ป
ประวตั ิศาสตร และวฒั นธรรม เหน็ คณุ คา งานศิลปะที่เปน มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญ ญาทองถนิ่ ภมู ิปญ ญาไทย
และสากล ชน่ื ชม ประยุกตใ ชในชวี ติ ประจำวัน

 ดนตรี มคี วามรูความเขา ใจองคป ระกอบดนตรแี สดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห
วพิ ากษ วจิ ารณคณุ คา ดนตรี ถายทอดความรสู กึ ทางดนตรีอยางอิสระ ช่นื ชม และประประยกุ ตใชใ น
ชีวิตประจำวนั เขาใจความสัมพนั ธร ะหวา งดนตรี ประวตั ิศาสตร และวัฒนธรรม เหน็ คณุ คาดนตรี ทีเ่ ปน มรดกทาง
วัฒนธรรม ภมู ิปญญาทอ งถิน่ ภูมิปญญาไทย และสากล รองเพลง และเลนดนตรีในรปู แบบตาง ๆ แสดงความ
คดิ เห็นเก่ียวกบั เสยี งดนตรี แสดงความรูสกึ ท่ีมตี อดนตรใี นเชิงสุนทรยี ะ เขา ใจความสมั พันธระหวา งดนตรีกบั
ประเพณีวฒั นธรรม และเหตุการณในประวตั ศิ าสตร

 นาฏศิลป มคี วามรคู วามเขา ใจองคป ระกอบนาฏศลิ ป แสดงออกทางนาฏศิลปอยางสรา งสรรค ใช
ศพั ทเ บ้ืองตนทางนาฏศลิ ป วิเคราะหว ิพากษ วิจารณคุณคานาฏศลิ ป ถา ยทอดความรสู กึ ความคิดอยางอิสระ
สรา งสรรคก ารเคลื่อนไหวในรูปแบบตาง ๆ ประยุกตใชนาฏศลิ ป ในชวี ติ ประจำวนั เขา ใจความสมั พันธระหวา ง
นาฏศิลปกบั ประวัติศาสตร วัฒนธรรม เห็นคณุ คา ของนาฏศิลปที่เปนมรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญ ญาทองถิ่น
ภมู ปิ ญ ญาไทย และสากล

13

14

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู

สาระท่ี 1ทศั นศลิ ป
มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะหวิพากษ
วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชใน
ชวี ิตประจำวัน
มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสมั พันธระหวางทัศนศลิ ป ประวัติศาสตร และวฒั นธรรม เห็นคณุ คางานทัศนศิลปท่ี
เปน มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ ภมู ิปญ ญาไทยและสากล
สาระท่ี 2 ดนตรี
มาตรฐาน ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรา งสรรค วเิ คราะห วิพากษวิจารณคณุ คาดนตรี ถายทอด
ความรสู ึก ความคดิ ตอ ดนตรอี ยา งอสิ ระ ชน่ื ชม และประยุกตใ ชใ นชวี ิตประจำวนั
มาตรฐาน ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีที่ เปน
มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญญาทอ งถิน่ ภมู ิปญ ญาไทยและสากล
สาระที่ 3 นาฏศลิ ป
มาตรฐาน ศ 3.1 เขาใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคา
นาฏศิลปถ ายทอดความรูสกึ ความคิดอยา งอสิ ระ ช่ืนชม และประยุกตใชใ นชีวิตประจำวัน
มาตรฐาน ศ 3.2เขาใจความสัมพันธระหวางนาฏศิลป ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เห็น คุณคาของนาฏศิลปท่ี
เปน มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญ ญาทองถิ่น ภูมิปญ ญาไทยและสากล

14

15

คณุ ภาพผูเ รียน

จบช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 3

 รแู ละเขาใจเร่ืองทศั นธาตแุ ละหลกั การออกแบบและเทคนคิ ที่หลากหลายในการ สรา งงานทัศนศลิ ป 2
มิติ และ 3 มิติ เพื่อส่ือความหมายและเรื่องราวตาง ๆ ไดอยางมีคุณภาพ วิเคราะหรูปแบบเน้ือหาและประเมิน
คุณคางานทัศนศิลปของตนเองและผูอื่น สามารถเลือกงานทัศนศิลปโดยใชเกณฑที่กำหนดขึ้นอยางเหมาะสม
สามารถออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ กราฟก ในการนำเสนอขอมูลและมีความรู ทักษะท่ีจำเปนดานอาชีพท่ี
เกี่ยวขอ งกันกบั งานทัศนศลิ ป

 รูและเขาใจการเปล่ียนแปลงและพัฒนาการของงานทัศนศิลปของชาติและทองถ่ิน แตละยุคสมัย
เห็นคุณคางานทัศนศิลปที่สะทอนวัฒนธรรมและสามารถเปรียบเทียบงานทัศนศิลป ท่ีมาจากยุคสมัยและ
วัฒนธรรมตาง ๆ

 รูและเขาใจถึงความแตกตางทางดานเสียง องคประกอบ อารมณ ความรูสึก ของบทเพลงจาก
วัฒนธรรมตาง ๆ มีทักษะในการรอง บรรเลงเครือ่ งดนตรี ทั้งเดีย่ วและเปนวงโดยเนน เทคนิคการรองบรรเลงอยา งมี
คุณภาพ มีทักษะในการสรางสรรคบทเพลงอยางงาย อานเขียนโนต ในบันไดเสียงที่มีเครื่องหมาย แปลงเสียง
เบ้ืองตนได รูและเขาใจถึงปจจัยที่มีผลตอรูปแบบของผลงานทางดนตรี องคประกอบของผลงานดานดนตรีกับ
ศิลปะแขนงอื่น แสดงความคิดเห็นและบรรยายอารมณความรูสึกที่มีตอบทเพลง สามารถนำเสนอบทเพลงที่ช่ืน
ชอบไดอยางมีเหตุผล มีทักษะในการประเมินคุณภาพของบทเพลงและการแสดงดนตรี รูถึงอาชีพตาง ๆ ท่ี
เกีย่ วของกบั ดนตรแี ละบทบาทของดนตรใี นธุรกิจบนั เทิง เขาใจถึงอทิ ธิพลของดนตรีทมี่ ีตอบุคคลและสังคม

 รแู ละเขาใจที่มา ความสัมพันธ อิทธิพลและบทบาทของดนตรแี ตล ะวัฒนธรรมในยุคสมัยตาง ๆ วิเคราะห
ปจจยั ท่ีทำใหงานดนตรไี ดร ับการยอมรับ

 รูและเขาใจการใชนาฏยศัพทหรือศัพททางการละครในการแปลความและสื่อสาร ผานการแสดง
รวมทั้งพัฒนารูปแบบการแสดง สามารถใชเกณฑงาย ๆ ในการพิจารณาคุณภาพ การแสดง วิจารณเปรียบเทียบ
งานนาฏศิลป โดยใชความรูเร่ืององคประกอบทางนาฏศิลป รวมจัดการแสดง นำแนวคิดของการแสดงไปปรับใช
ในชวี ติ ประจำวนั

 รูและเขาใจประเภทละครไทยในแตละยุคสมัย ปจจัยที่มีผลตอการเปล่ียนแปลงของนาฏศิลปไทย
นาฏศิลปพื้นบาน ละครไทย และละครพ้ืนบาน เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลปจากวัฒนธรรม
ตาง ๆ รวมท้ังสามารถออกแบบและสรางสรรคอุปกรณ เคร่ืองแตงกายในการแสดงนาฏศิลปและละคร มีความ
เขาใจ ความสำคัญ บทบาทของนาฏศลิ ปและละครในชวี ิตประจำวัน

15

16

จบชนั้ มัธยมศึกษาปที่ 6
 รูและเขาใจเกี่ยวกับทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการส่ือความหมาย สามารถใชศัพททาง
ทัศนศิลป อธิบายจุดประสงคและเน้ือหาของงานทัศนศิลป มีทักษะและเทคนิคในการใชวัสดุ อุปกรณและ
กระบวนการท่ีสูงขึ้นในการสรางงานทัศนศิลป วิเคราะหเนื้อหาและแนวคิด เทคนิควิธีการ การแสดงออกของ
ศิลปนท้ังไทยและสากล ตลอดจนการใชเทคโนโลยีตาง ๆ ในการออกแบบสรางสรรคงานที่เหมาะสมกับโอกาส
สถานที่ รวมทั้งแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับสภาพสังคมดวยภาพลอ เลียนหรือการตนู ตลอดจนประเมนิ และวิจารณ
คณุ คา งานทัศนศิลปด ว ยหลกั ทฤษฎีวจิ ารณศ ลิ ปะ
 วิเคราะหเปรียบเทียบงานทัศนศิลปในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก เขาใจอิทธิพลของ
มรดกทางวัฒนธรรมภูมปิ ญญาระหวางประเทศที่มผี ลตอ การสรา งสรรค งานทศั นศลิ ปใ นสังคม
 รูแ ละเขาใจรูปแบบบทเพลงและวงดนตรแี ตละประเภท และจำแนกรูปแบบ ของวงดนตรีท้ังไทยและ
สากล เขาใจอิทธิพลของวัฒนธรรมตอ การสรางสรรคด นตรี เปรียบเทียบอารมณและความรูสึกที่ไดรับจากดนตรี
ทม่ี าจากวฒั นธรรมตา งกัน อา น เขียน โนต ดนตรีไทยและสากล ในอัตราจงั หวะตาง ๆ มีทกั ษะในการรอ งเพลงหรอื
เลนดนตรเี ดี่ยวและรวมวงโดยเนนเทคนิค การแสดงออกและคุณภาพของการแสดง สรางเกณฑสำหรับประเมิน
คณุ ภาพการประพันธ การเลน ดนตรีของตนเองและผูอ่ืนไดอยางเหมาะสม สามารถนำดนตรีไประยกุ ตใ ชในงานอื่น

 วิเคราะห เปรียบเทียบรูปแบบ ลักษณะเดนของดนตรีไทยและสากลในวัฒนธรรมตาง ๆ เขาใจบทบาท
ของดนตรีที่สะทอนแนวความคิดและคานิยมของคนในสังคม สถานะทางสังคม ของนักดนตรีในวัฒนธรรมตาง ๆ
สรางแนวทางและมีสว นรว มในการสงเสริมและอนรุ ักษดนตรี
 มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ มีความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลปเปนคู และเปนหมู
สรางสรรคละครส้ันในรูปแบบที่ชื่นชอบ สามารถวิเคราะหแกนของการแสดงนาฏศิลปและละครที่ตองการสื่อ
ความหมายในการแสดง อิทธิพลของเครื่องแตงกาย แสง สี เสียง ฉาก อุปกรณ และสถานที่ที่มีผลตอการแสดง
วิจารณการแสดงนาฏศิลปและละคร พัฒนาและใชเกณฑการประเมินในการประเมินการแสดง และสามารถ
วเิ คราะหท า ทางการเคลอื่ นไหวของผคู นในชีวิตประจำวนั และนำมาประยกุ ตใชในการแสดง
 เขาใจวิวัฒนาการของนาฏศิลปและการแสดงละครไทย และบทบาทของบุคคลสำคัญ ในวงการ
นาฏศลิ ปและการละครของประเทศไทยในยคุ สมัยตาง ๆ สามารถเปรียบเทียบ การนำการแสดงไปใชในโอกาสตาง
ๆ และเสนอแนวคดิ ในการอนุรักษน าฏศลิ ปไ ทย

16

17

มาตรฐาน และตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู กนกลาง

สาระท่ี 1 ทศั นศลิ ป
มาตรฐาน ศ 1.1 สรา งสรรคง านทัศนศลิ ปตามจนิ ตนาการ และความคดิ สรางสรรค วเิ คราะห

วิพากษวิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคดิ ตองานศิลปะอยางอิสระช่ืนชม
และประยุกตใชใ นชวี ิตประจำวนั

ชนั้ ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง

ม.1 1. บรรยายความแตกตางและความ  ความแตกตา งและความคลายคลงึ กัน
คลายคลึงกันของงานทัศนศลิ ป
ของทัศนธาตใุ นงานทัศนศิลป และส่ิงแวดลอ ม
และสิ่งแวดลอมโดยใชความรูเร่อื งทศั นธาตุ

2. ระบุ และบรรยายหลักการออกแบบ  ความเปนเอกภาพ ความกลมกลนื ความสมดลุ
งานทัศนศลิ ป โดยเนนความเปนเอกภาพ

ความกลมกลนื และความสมดุล

3. วาดภาพทศั นยี ภาพแสดงใหเ หน็  หลกั การวาดภาพแสดงทัศนยี ภาพ
ระยะไกลใกล เปน ๓ มิติ

4. รวบรวมงานปน หรือสอื่ ผสมมาสรา ง  เอกภาพความกลมกลนื ของเร่อื งราวในงานปน
เปนเร่อื งราว ๓ มิติโดยเนนความเปนเอกภาพ หรอื งานส่ือผสม
ความกลมกลืน และการส่ือถึงเรื่องราว

ของงาน

5. ออกแบบรูปภาพ สญั ลักษณ  การออกแบบรูปภาพ สัญลกั ษณ

หรือกราฟก อื่น ๆ ในการนำเสนอ หรอื งานกราฟก

ความคดิ และขอมูล

6. ประเมินงานทศั นศลิ ป และบรรยาย  การประเมนิ งานทัศนศลิ ป
ถงึ วิธกี ารปรับปรงุ งานของตนเองและ

ผอู ื่นโดยใชเ กณฑท ่กี ำหนดให

17

18

ชนั้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง

ม.2 1. อภิปรายเกี่ยวกบั ทัศนธาตุในดานรปู แบบ  รปู แบบของทัศนธาตุและแนวคดิ ในงาน
และแนวคดิ ของงานทัศนศลิ ปที่เลือกมา ทศั นศิลป

2. บรรยายเก่ียวกบั ความเหมอื นและ  ความเหมือนและความแตกตางของรปู แบบ
ความแตกตา งของรปู แบบการใชว สั ดุ การใชว สั ดุ อปุ กรณใ นงานทัศนศลิ ป
อปุ กรณในงานทัศนศลิ ปของศิลปน ของศลิ ปน

3. วาดภาพดวยเทคนคิ ที่หลากหลาย  เทคนคิ ในการวาดภาพสอ่ื ความหมาย
ในการสอ่ื ความหมายและเรอ่ื งราวตาง ๆ

4. สรา งเกณฑในการประเมนิ  การประเมนิ และวิจารณงานทัศนศิลป

และวิจารณง านทัศนศิลป

5. นำผลการวจิ ารณไ ปปรบั ปรงุ แกไ ข  การพัฒนางานทศั นศิลป
และพัฒนางาน
 การจดั ทำแฟมสะสมงานทัศนศลิ ป

6. วาดภาพแสดงบคุ ลิกลกั ษณะ  การวาดภาพถายทอดบคุ ลิกลักษณะ

ของตัวละคร ของตวั ละคร

7. บรรยายวธิ กี ารใชงานทศั นศลิ ป  งานทัศนศลิ ปในการโฆษณา
ในการโฆษณาเพ่ือโนมนาวใจ

และนำเสนอตวั อยางประกอบ

ม.3 1. บรรยายสิง่ แวดลอ ม และงานทัศนศิลป  ทัศนธาตุ หลักการออกแบบในสงิ่ แวดลอ ม
ทเ่ี ลือกมาโดยใชค วามรเู ร่ืองทัศนธาตุ และงานทัศนศลิ ป
และหลักการออกแบบ

2. ระบุ และบรรยายเทคนคิ วิธีการ  เทคนคิ วิธีการของศลิ ปน ในการสรา งงาน
ของศลิ ปนในการสรางงาน ทัศนศิลป ทศั นศิลป

3. วเิ คราะห และบรรยายวิธกี ารใช ทัศน  วธิ ีการใชทศั นธาตุและหลักการออกแบบใน
ธาตุ และหลกั การออกแบบในการสราง การสรางงานทัศนศิลป
งานทัศนศลิ ปของตนเอง
ใหมคี ุณภาพ

4. มีทักษะในการสรา งงานทศั นศลิ ป  การสรา งงานทัศนศิลปท ้ังไทยและสากล
อยางนอย ๓ ประเภท

18

19

ชนั้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรูแ กนกลาง

ม.3 5. มที ักษะในการผสมผสานวัสดตุ า ง ๆ  การใชห ลกั การออกแบบในการสรางงานส่อื ผสม
ในการสรา งงานทศั นศลิ ปโ ดยใชหลกั การ

ออกแบบ

6. สรา งงานทัศนศลิ ป ทัง้ 2 มิติ และ  การสรางงานทัศนศิลปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ เพ่ือ
3มิติ เพ่ือถายทอดประสบการณแ ละ ถายทอดประสบการณ และจินตนาการ
จินตนาการ

7. สรา งสรรคงานทศั นศลิ ปส อื่  การประยกุ ตใ ชท ัศนธาตุและหลักการ

ความหมายเปน เร่ืองราว โดยประยกุ ตใ ช ออกแบบสรางงานทัศนศลิ ป
ทศั นธาตุ และหลกั การออกแบบ

8. วิเคราะหและอภปิ รายรปู แบบ เนอ้ื หา  การวเิ คราะหรูปแบบ เน้ือหา และคุณคา ในงาน
และคุณคาในงานทัศนศลิ ป ของ ทศั นศลิ ป
ตนเอง และผูอน่ื หรอื ของศลิ ปน

9. สรา งสรรคงานทศั นศลิ ปเ พื่อบรรยาย  การใชเ ทคนิค วธิ กี ารท่หี ลากหลาย สรา งงาน
เหตกุ ารณต าง ๆ โดยใชเ ทคนิค
ทัศนศลิ ปเ พือ่ ส่ือความหมาย
ทหี่ ลากหลาย

10.ระบุอาชีพท่เี กย่ี วขอ งกบั งาน  การประกอบอาชีพทางทัศนศลิ ป

ทศั นศิลปแ ละทกั ษะท่ีจำเปน ในการ

ประกอบอาชพี นั้น ๆ

11.เลือกงานทศั นศิลปโดยใชเกณฑท ี่  การจัดนทิ รรศการ
กำหนดขน้ึ อยางเหมาะสม และนำไป

จดั นิทรรศการ

19

20

สาระท่ี 1 ทศั นศิลป
มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสมั พันธระหวา งทัศนศลิ ป ประวตั ิศาสตร และวัฒนธรรม เหน็ คณุ คา

งานทศั นศิลปทเี่ ปนมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญญาทอ งถิ่น ภูมิปญญาไทย และ
สากล

ช้นั ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง

ม.1 1. ระบุ และบรรยายเกยี่ วกับลกั ษณะ รปู แบบ  ลกั ษณะ รปู แบบงานทัศนศลิ ปข องชาตแิ ละทองถน่ิ
งานทศั นศลิ ปของชาตแิ ละของทองถ่ิน

ตนเองจากอดตี จนถึงปจจบุ นั

2. ระบุ และเปรยี บเทยี บงานทัศนศลิ ป  งานทัศนศิลปภาคตา ง ๆ ในประเทศไทย
ของภาคตาง ๆ ในประเทศไทย

3. เปรียบเทียบความแตกตางของ  ความแตกตา งของงานทศั นศิลป ในวฒั นธรรมไทย

จดุ ประสงคใ นการสรางสรรคงานทัศนศิลป และสากล
ของวฒั นธรรมไทยและสากล

ม.2 1. ระบุ และบรรยายเกี่ยวกับวฒั นธรรมตาง ๆ  วฒั นธรรมท่สี ะทอนในงานทัศนศลิ ปปจ จบุ ัน
ท่ีสะทอ นถงึ งานทัศนศิลปในปจจุบัน

2. บรรยายถงึ การเปล่ียนแปลงของ  งานทศั นศลิ ปของไทยในแตละยุคสมัย

งานทัศนศิลปของไทยในแตละยุคสมัยโดย

เนนถงึ แนวคิดและเน้ือหาของงาน

3. เปรียบเทียบแนวคิดในการออกแบบ  การออกแบบงานทัศนศิลปใ นวัฒนธรรมไทยและ
งานทัศนศิลปทมี่ าจาก วัฒนธรรมไทยและ สากล
สากล

ม.3 1. ศึกษาและอภิปรายเกีย่ วกบั งานทัศนศิลป  งานทศั นศลิ ปกับการสะทอ นคุณคา ของวฒั นธรรม
ท่ีสะทอนคณุ คา ของวัฒนธรรม

2. เปรยี บเทยี บความแตกตางของ  ความแตกตางของงานทัศนศิลปใ นแตละยคุ สมัย

งานทศั นศิลปในแตละยุคสมัย ของวัฒนธรรมไทยและสากล

ของวฒั นธรรมไทยและสากล

20

21

สาระท่ี 2 ดนตรี
มาตรฐาน ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรา งสรรค วเิ คราะห วิพากษว ิจารณคณุ คา
ดนตรี ถา ยทอดความรสู ึก ความคิดตอดนตรีอยางอสิ ระ ชืน่ ชม และประยุกตใชในชวี ิตประจำวัน

ชน้ั ตัวชี้วดั สาระการเรียนรแู กนกลาง

ม.1 1. อา น เขยี น รอ งโนต ไทย และโนต สากล  เครอื่ งหมายและสญั ลกั ษณทางดนตรี

- โนต บทเพลงไทย อัตราจังหวะสองชน้ั
- โนตสากล ในกญุ แจซอลและฟาในบันได
เสยี ง C Major

2. เปรยี บเทียบเสียงรอ งและเสยี ง ของเคร่ือง  เสยี งรองและเสียงของเครอ่ื งดนตรี ในบทเพลง
ดนตรที ม่ี าจากวัฒนธรรม ทต่ี างกัน
จากวฒั นธรรมตา ง ๆ

- วิธกี ารขบั รอง
- เครื่องดนตรีท่ีใช

3. รอ งเพลงและใชเคร่อื งดนตรบี รรเลง  การรองและการบรรเลงเคร่ืองดนตรีประกอบการ
ประกอบการรองเพลงดว ยบทเพลง ที่ รอ ง
หลากหลายรูปแบบ
- บทเพลงพนื้ บา น บทเพลงปลุกใจ
4. จดั ประเภทของวงดนตรีไทยและ วงดนตรี - บทเพลงไทยเดิม
ทม่ี าจากวฒั นธรรมตาง ๆ - บทเพลงประสานเสยี ง 2 แนว
- บทเพลงรปู แบบ ABA
5. แสดงความคดิ เห็นทีม่ ตี ออารมณของบท - บทเพลงประกอบการเตน รำ
เพลงทม่ี ีความเร็วของจังหวะ และความดัง/ เบา  วงดนตรีพื้นเมือง
แตกตางกนั  วงดนตรไี ทย
6. เปรียบเทยี บอารมณ ความรสู ึกในการ ฟง  วงดนตรสี ากล
ดนตรแี ตละประเภท  การถา ยทอดอารมณข องบทเพลง
7. นำเสนอตัวอยางเพลงท่ีตนเองชน่ื ชอบ และ - จงั หวะกับอารมณเ พลง
อภิปรายลกั ษณะเดนทที่ ำใหงานน้นั นา ชน่ื ชม - ความดัง-เบากับอารมณเพลง
8. ใชเกณฑสำหรับประเมินคณุ ภาพ - ความแตกตา งของอารมณเพลง
งานดนตรหี รือเพลงที่ฟง
 การนำเสนอบทเพลงท่ตี นสนใจ

 การประเมินคุณภาพของบทเพลง
- คณุ ภาพดา นเนือ้ หา
- คณุ ภาพดานเสยี ง
- คุณภาพดา นองคประกอบดนตรี

21

9. ใชและบำรงุ รกั ษาเคร่ืองดนตรี 22
อยางระมดั ระวังและรบั ผิดชอบ
 การใชแ ละบำรงุ รักษาเครื่องดนตรีของตน

ม.2 1. เปรยี บเทยี บการใชองคป ระกอบดนตรที ่มี า  องคประกอบของดนตรีจากแหลงวฒั นธรรม

จากวัฒนธรรมตางกนั ตาง ๆ

2. อาน เขียนรองโนต ไทย และโนตสากลที่มี  เครอ่ื งหมายและสัญลกั ษณทางดนตรี

เคร่ืองหมายแปลงเสียง - โนต จากเพลงไทยอัตราจังหวะสองชั้น
- โนตสากล (เครอื่ งหมายแปลงเสยี ง)

3. ระบุปจจัยสำคัญท่ีมีอิทธพิ ลตอการ  ปจจัยในการสรางสรรคบทเพลง

สรางสรรคง านดนตรี - จินตนาการในการสรางสรรคบทเพลง
- การถายทอดเร่ืองราวความคดิ
ในบทเพลง

4. รอ งเพลง และเลนดนตรเี ด่ยี วและรวมวง  เทคนคิ การรอ งและบรรเลงดนตรี

- การรอ งและบรรเลงเดี่ยว
- การรองและบรรเลงเปนวง

5. บรรยายอารมณข องเพลงและความรสู ึกทมี่ ตี อ  การบรรยายอารมณแ ละความรูส ึกในบทเพลง

บทเพลงที่ฟง

6. ประเมนิ พัฒนาการทักษะทางดนตรีของ  การประเมินความสามารถทางดนตรี

ตนเอง หลงั จากการฝก ปฏบิ ตั ิ - ความถูกตองในการบรรเลง

- ความแมนยำในการอานเครื่องหมายและ
สญั ลกั ษณ

- การควบคุมคุณภาพเสียงในการรองและ
บรรเลง

7. ระบงุ านอาชพี ตา ง ๆ ทเ่ี กี่ยวของกบั ดนตรี  อาชพี ทางดา นดนตรี
และบทบาทของดนตรใี นธรุ กิจบนั เทิง
 บทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิง

22

23

ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง
ม.3 1. เปรยี บเทยี บองคป ระกอบที่ใชใ นงาน  การเปรยี บเทยี บองคป ระกอบในงานศิลปะ

ดนตรแี ละงานศิลปะอน่ื - การใชอ งคประกอบในการสรางสรรคง านดนตรี
และศิลปะแขนงอนื่
2. รองเพลง เลน ดนตรีเดย่ี ว และรวมวง
โดยเนน เทคนิคการรอ ง การเลน การ - เทคนิคทใ่ี ชในการสรางสรรคงานดนตรแี ละศิลปะ
แสดงออก และคุณภาพสยี ง แขนงอ่นื
3. แตงเพลงสน้ั ๆ จงั หวะงาย ๆ
 เทคนิคและการแสดงออกในการขบั รองและบรรเลง
4. อธิบายเหตผุ ลในการเลือกใช ดนตรีเดย่ี วและรวมวง
องคป ระกอบดนตรีในการสรา งสรรค
งานดนตรขี องตนเอง  อัตราจงั หวะ 2 และ 4
44

 การประพันธเ พลงในอัตราจังหวะ 2 และ 4
44

 การเลอื กใชองคประกอบในการสรางสรรคบ ทเพลง
- การเลอื กจงั หวะเพ่ือสรางสรรค บทเพลง
- การเรยี บเรยี งทำนองเพลง

5. เปรยี บเทียบความแตกตางระหวาง  การเปรียบเทียบความแตกตา งของบทเพลง
งานดนตรขี องตนเองและผูอนื่ - สำเนยี ง
- อัตราจังหวะ
6. อธิบายเก่ยี วกับอิทธิพลของดนตรี - รูปแบบบทเพลง
ที่มตี อบุคคลและสังคม - การประสานเสยี ง
- เครอ่ื งดนตรีทบ่ี รรเลง

 อทิ ธพิ ลของดนตรี
- อทิ ธิพลของดนตรตี อบุคคล
- อิทธิพลของดนตรีตอ สงั คม

ม.3 7. นำเสนอหรอื จดั การแสดงดนตรี  การจดั การแสดงดนตรีในวาระตาง ๆ

ทีเ่ หมาะสมโดยการบรู ณาการกบั สาระ การ - การเลอื กวงดนตรี
เรยี นรูอน่ื ในกลมุ ศิลปะ - การเลือกบทเพลง

- การเลอื กและจัดเตรียมสถานท่ี
- การเตรียมบคุ ลากร
- การเตรยี มอุปกรณเ คร่ืองมอื

23

24

สาระที่ 2 ดนตรี
มาตรฐาน ศ 2.2 เขา ใจความสมั พันธร ะหวางดนตรี ประวตั ศิ าสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคา

ของดนตรีที่เปน มรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปญญาทองถิน่ ภูมิปญ ญาไทยและสากล

ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรูแ กนกลาง

ม.1 1. อธบิ ายบทบาทความสัมพันธแ ละ  บทบาทและอิทธิพลของดนตรี

อิทธิพลของดนตรีท่มี ีตอสังคมไทย - บทบาทดนตรใี นสงั คม
- อทิ ธิพลของดนตรีในสังคม
2. ระบุความหลากหลายขององคประกอบ  องคป ระกอบของดนตรีในแตละวัฒนธรรม
ดนตรีในวัฒนธรรมตางกัน

ม.2 1. บรรยายบทบาท และอทิ ธิพลของดนตรี  ดนตรีในวัฒนธรรมตา งประเทศ
ในวฒั นธรรมของประเทศตาง ๆ
- บทบาทของดนตรีในวฒั นธรรม
- อิทธพิ ลของดนตรใี นวฒั นธรรม

2. บรรยายอิทธพิ ลของวัฒนธรรม  เหตกุ ารณป ระวตั ิศาสตรก ับการเปลย่ี นแปลง ทาง
และเหตุการณใ นประวตั ิศาสตรที่มตี อ
รปู แบบของดนตรีในประเทศไทย ดนตรีในประเทศไทย
- การเปลีย่ นแปลงทางการเมืองกบั งานดนตรี
- การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีกบั งานดนตรี
ม.3 1. บรรยายวิวัฒนาการของดนตรแี ตละ ยุค  ประวัตดิ นตรีไทยยคุ สมยั ตา ง ๆ
สมัย  ประวตั ดิ นตรีตะวันตกยคุ สมัยตาง ๆ

2. อภิปรายลักษณะเดนท่ีทำใหงานดนตรี  ปจจัยทที่ ำใหง านดนตรีไดร ับการยอมรับ
น้ันไดรับการยอมรบั

24

25

สาระที่ 3 นาฏศลิ ป
มาตรฐาน ศ 3.1 เขา ใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ ยา งสรางสรรค วเิ คราะห วพิ ากษวิจารณ
คณุ คา นาฏศลิ ป ถายทอดความรูสกึ ความคดิ อยางอสิ ระ ชืน่ ชม และประยุกตใชในชวี ิตประจำวนั

ช้ัน ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแ กนกลาง

ม.1 1. อธิบายอทิ ธิพลของนักแสดงชื่อดัง  การปฏิบตั ิของผแู สดงและผูชม
ท่มี ผี ลตอการโนมนาวอารมณหรอื ความคดิ  ประวตั นิ กั แสดงทีช่ ่ืนชอบ
ของผูชม
 การพฒั นารูปแบบของการแสดง

 อิทธิพลของนักแสดงท่ีมผี ลตอ พฤติกรรมของผูชม

2. ใชนาฏยศพั ทห รือศพั ทท างการละคร  นาฏยศัพทห รือศัพทท างการละครในการแสดง
ในการแสดง
 ภาษาทา และการตบี ท

 ทาทางเคลือ่ นไหวที่แสดงสื่อทางอารมณ

 ระบำเบ็ดเตลด็

 รำวงมาตรฐาน

3. แสดงนาฏศิลปแ ละละครในรูปแบบงา ย ๆ  รูปแบบการแสดงนาฏศิลป

- นาฏศลิ ป
- นาฏศลิ ปพ ้ืนบา น
4. ใชท ักษะการทำงานเปน กลุม - นาฏศิลปนานาชาติ
ในกระบวนการผลติ การแสดง
 บทบาทและหนาทีข่ องฝา ยตา ง ๆ ในการจัดการ
แสดง

 การสรางสรรคก ิจกรรมการแสดงท่ีสนใจ

โดยแบง ฝายและหนา ที่ใหช ัดเจน

5. ใชเกณฑงาย ๆ ท่ีกำหนดใหใ นการ  หลกั ในการชมการแสดง
พิจารณาคุณภาพการแสดงท่ีชม

โดยเนน เรอื่ งการใชเสียงการแสดงทา และ

การเคลอ่ื นไหว

25

26

ชน้ั ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรูแ กนกลาง

ม.2 1. อธบิ ายการบรู ณาการศลิ ปะแขนงอน่ื ๆ  ศลิ ปะแขนงอนื่ ๆ กับการแสดง
กับการแสดง
- แสง สี เสยี ง
- ฉาก
- เคร่อื งแตง กาย
- อุปกรณ
2. สรางสรรคการแสดงโดยใชองคประกอบ  หลักและวธิ กี ารสรา งสรรคการแสดง โดยใช
นาฏศลิ ปแ ละการละคร
องคป ระกอบนาฏศลิ ปและการละคร

3. วเิ คราะหการแสดงของตนเองและผอู ืน่  หลกั และวิธีการวเิ คราะหก ารแสดง
โดยใชน าฏยศพั ทห รือศัพทท างการละคร ที่
เหมาะสม

4. เสนอขอ คดิ เหน็ ในการปรับปรุง  วธิ ีการวเิ คราะห วิจารณก ารแสดง นาฏศิลป
การแสดง และการละคร

5. เช่อื มโยงการเรียนรรู ะหวา งนาฏศลิ ป  รำวงมาตรฐาน
และการละครกับสาระการเรียนรอู น่ื ๆ
 ความสัมพนั ธของนาฏศิลปหรือ การละครกบั
สาระการเรียนรูอื่น ๆ

ม.3 1. ระบุโครงสรา งของบทละครโดยใชศพั ท  องคป ระกอบของบทละคร
ทางการละคร
- โครงเรอ่ื ง
- ตัวละครและการวางลักษณะนิสัย
ของตัวละคร

- ความคดิ หรือแกนของเรอ่ื ง
- บทสนทนา
2. ใชนาฏยศพั ทห รือศพั ททางการละคร  ภาษาทา หรือภาษาทางนาฏศิลป
ท่เี หมาะสมบรรยายเปรยี บเทยี บการแสดง
อากปั กิรยิ าของผูคนในชวี ติ ประจำวนั และ - ภาษาทา ทมี่ าจากธรรมชาติ
ในการแสดง - ภาษาทา ท่มี าจากการประดิษฐ
- รำวงมาตรฐาน

3. มีทกั ษะในการใชค วามคดิ ในการพฒั นา  รปู แบบการแสดง
รปู แบบการแสดง - การแสดงเปน หมู
- การแสดงเดี่ยว
4. มที ักษะในการแปลความและ - การแสดงละคร
- การแสดงเปน ชดุ เปน ตอน

 การประดิษฐท า รำและทา ทางประกอบ การแสดง

26

27

การสื่อสารผา นการแสดง - ความหมาย
- ความเปน มา
5. วิจารณเ ปรยี บเทยี บงานนาฏศิลป - ทาทางท่ีใชใ นการประดิษฐท ารำ
ที่มคี วามแตกตา งกันโดยใชความรู
เรอ่ื งองคป ระกอบนาฏศิลป  องคประกอบนาฏศลิ ป
- จงั หวะทำนอง
6. รวมจดั งานการแสดงในบทบาทหนา ที่ - การเคลื่อนไหว
ตาง ๆ - อารมณและความรูสึก
- ภาษาทา นาฎยศพั ท
7. นำเสนอแนวคิดจากเน้อื เรื่อง - รปู แบบของการแสดง
ของการแสดงท่สี ามารถนำไปปรบั ใช - การแตง กาย
ในชวี ติ ประจำวัน
 วธิ กี ารเลอื กการแสดง
- ประเภทของงาน
- ขนั้ ตอน
- ประโยชนแ ละคณุ คา ของการแสดง

 ละครกบั ชวี ิต

27

28

สาระที่ 3 นาฏศิลป เขาใจความสมั พนั ธร ะหวา งนาฏศลิ ป ประวตั ิศาสตรและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ศ 3.2 เหน็ คณุ คา ของนาฏศิลปท ่เี ปน มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญญาทอ งถิ่น
ภมู ปิ ญญาไทยและสากล

ชนั้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง

ม.1 1. ระบุปจ จัยทมี่ ีผลตอการเปลีย่ นแปลง  ปจ จัยทมี่ ีผลตอการเปลยี่ นแปลง ของนาฏศิลป

ของนาฏศลิ ป นาฏศิลปพ้ืนบาน ละครไทย นาฏศิลปพืน้ บาน ละครไทย และละครพน้ื บาน

และละครพน้ื บาน

2. บรรยายประเภทของละครไทย  ประเภทของละครไทยในแตละยุคสมัย

ในแตล ะยุคสมยั

ม.2 1. เปรยี บเทียบลกั ษณะเฉพาะของ  นาฏศิลปพื้นเมือง

การแสดงนาฏศลิ ปจากวัฒนธรรมตางๆ - ความหมาย
- ทีม่ า
- วฒั นธรรม
- ลกั ษณะเฉพาะ

2. ระบหุ รอื แสดงนาฏศลิ ป นาฏศิลป  รูปแบบการแสดงประเภทตา ง ๆ

พ้นื บาน ละครไทย ละครพ้ืนบาน - นาฏศลิ ป
หรือมหรสพอื่นที่เคยนิยมกนั ในอดีต - นาฏศลิ ปพ น้ื เมือง
- ละครไทย
- ละครพืน้ บาน

3. อธบิ ายอทิ ธพิ ลของวัฒนธรรมทมี่ ผี ลตอ  การละครสมยั ตาง ๆ

เนือ้ หาของละคร

28

29

ชั้น ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง

ม.3 1. ออกแบบ และสรางสรรคอ ปุ กรณ  การออกแบบและสรางสรรคอ ุปกรณและ
และเคร่ืองแตง กาย เพื่อแสดงนาฏศิลปแ ละ เครอ่ื งแตง กายเพ่ือการแสดงนาฏศลิ ป
ละครท่ีมาจากวัฒนธรรมตาง ๆ

2. อธบิ ายความสำคัญและบทบาทของ  ความสำคัญและบทบาทของนาฏศลิ ป และการ
นาฏศลิ ปแ ละการละครในชวี ติ ประจำวนั ละครในชีวติ ประจำวัน

3. แสดงความคดิ เหน็ ในการอนรุ ักษ  การอนรุ ักษนาฏศิลป

29

30

โครงสรางหลกั สูตรสาระแกนกลาง
ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน

กลมุ สาระการเรียนรูศิลปะ

โรงเรียนวัชรวทิ ยา อำเภอเมือง จงั หวัดกำแพงเพชร

โครงสรางหลกั สตู รสาระแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ป 2552

กลมุ สาระการเรียนรศู ลิ ปะ โรงเรยี นวชั รวิทยา สพท. ก.พ.1

30

31

ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตน

สาระพื้นฐาน

ชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 1 2 ช่วั โมง/สปั ดาห , 40 ช่วั โมง/ภาคเรียน
2 ชวั่ โมง/สปั ดาห , 40 ชั่วโมง/ภาคเรยี น
ศ 21101 ศิลปะพนื้ ฐาน (ทศั นศิลป)
ศ 21102 ศิลปะพื้นฐาน (ดนตรี-นาฏศิลป)

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี 2

ศ 22101 ศิลปะพื้นฐาน (ดนตรี-นาฏศลิ ป) 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห , 40 ช่วั โมง/ภาคเรียน
ศ 22102 ศลิ ปะพนื้ ฐาน (ทัศนศลิ ป) 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห ,40 ชวั่ โมง/ภาคเรียน

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 2 ชว่ั โมง/สัปดาห , 40 ช่ัวโมง/ภาคเรียน
2 ชัว่ โมง/สัปดาห ,40 ชัว่ โมง/ภาคเรียน
ศ 23101 ศลิ ปะพ้นื ฐาน (ทศั นศิลป)
ศ 23102 ศลิ ปะพ้นื ฐาน (ดนตรี-นาฏศลิ ป)

สาระเพม่ิ เติม

ศ 20201 ประยุกตศ ลิ ป 1.0 หนว ย, 40 ช่ัวโมง/ภาคเรยี น
ศ 20202 ดนตรีสากล 1.0 หนวย, 40 ชว่ั โมง/ภาคเรียน
ศ 20203 ดนตรีไทย 1.0 หนว ย, 40 ชว่ั โมง/ภาคเรยี น
ศ 20204 นาฏศิลปไทย 1.0 หนว ย, 40 ช่ัวโมง/ภาคเรยี น

31

32

คำอธิบายรายวชิ า

ตามโครงสรา งหลกั สูตรสาระแกนกลาง

ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนตน
กลุมสาระการเรียนรศู ลิ ปะ โรงเรยี นวัชรวิทยา

32

33

คำอธิบายรายวิชา

สาระที่ 1 ทัศนศลิ ป
ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาตอนตน

รายวิชาศิลปะพื้นฐาน

33

34

คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ศลิ ปะพ้นื ฐาน ศ 21101 (ทัศนศลิ ป) กลุมสาระการเรียนรศู ิลปะ
ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หนวยกติ
*************************************************************************

ศึกษา รูเขาใจความแตกตางและความคลายคลึงกันของงานทัศนศลิ ปและสง่ิ แวดลอ มโดยใชความรูเ ร่ืองทศั น
ธาตุ และหลักการออกแบบงานทัศนศิลป โดยเนนความเปนเอกภาพความกลมกลืน และความสมดุล วาดภาพ
ทัศนียภาพแสดงใหเห็นระยะไกลใกล เปน 3 มิติ รวบรวมงานปนหรือสื่อผสมมาสรางเปนเร่ืองราว 3 มิติโดยเนน
ความเปนเอกภาพ ความกลมกลนื และสื่อถึงเรอื่ งราวของงานไดอยางมีจิตนาการและสรา งสรรค อีกทง้ั การออกแบบ
รปู ภาพ สัญลกั ษณหรือกราฟกตางๆ รวมถงึ การนำเสนอความคิดและขอมลู ในการพัฒนาผลงาน เทคนิควธิ กี ารใน
การปรับปรุงงานของตนเองและผูอืน่ โดยใชเ กณฑที่กำหนดให ระบุและบรรยายรูปแบบความงามในงานทัศนศลิ ป
ของชาติและของทองถิ่นตนเองจากอดีตจนถึงปจจุบัน เปรียบเทียบงานทัศนศิลปของภาคตาง ๆ ในประเทศไทย
และความแตกตางของจุดประสงคในการสรางสรรคงานทัศนศิลปของวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมอาเซียนและ
วัฒนธรรมสากล

โดยใชกระบวนการทางศิลปะใหเกิดผลงานอยางมุงม่ันต้ังใจ การสังเกต แสวงหาความรู เทคนิคและ
วิธกี ารของศิลปนท่ีมชี ่ือเสียงโดยนอมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในเลือกใชส่ือ วัสดุ-อุปกรณ จากธรรมชาติ
และส่ิงแวดลอมเพ่ือใหเกิดเปนแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงานจนสามารถนำความรูและจินตนาการไป
ประยุกตใชใ นชีวติ ประจำวนั ไดอ ยา งเหน็ คุณคา

เพ่ือเห็นคุณคา ชื่นชมในงานทัศนศิลปและสามารถนำไปวิเคราะหและประยุกตใชในงานอ่ืนๆ วิเคราะหสถานะทาง
สังคมของงานทัศนศิลปในวัฒนธรรม ทั้งไทยและประเทศเพ่ือนบานในอาเซียน และบทบาทของทัศนศิลปในการปรับตัวและ
สะทอ นแนวความคดิ และคานยิ มทเ่ี ปล่ยี นไปของสังคม

รหัสตวั ชี้วัด
ศ 1.1 ม.1/1,ศ 1.1 ม.1/3,ศ 1.1 ม.1/3,ศ 1.1ม.1/4,ศ 1.1 ม.1/5,ศ 1.1 ม.1/6,
ศ 1.2 ม.1/7,ศ 1.2 ม.1/8,ศ 1.2 ม.1/9,
รวม 9 ตวั ชวี ัด

34

35

คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ศลิ ปะพื้นฐาน ศ 22102 (ทัศนศลิ ป) กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ
ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หนวยกติ
*************************************************************************

ศึกษา รูและเขาใจ เกี่ยวกับ ทัศนธาตุท่ีสมั พันธกับ รูปแบบ แนวคิดของงานทัศนศิลป ความเหมือนและความ
แตกตางของรูปแบบ การใชวัสดุอุปกรณในงานทัศนศิลปของศิลปน สามารถวาดภาพแสดงบุคลิกลักษณะของตัว
ละครดวยเทคนคิ ทห่ี ลากหลายในการสื่อความหมายและเร่ืองราวตา ง ๆ นำเสนอความคิดในการสรา งเกณฑใ นการ
ประเมนิ และวิจารณงานทัศนศลิ ป เพื่อใหเกิดปรบั ปรุงแกไขและพัฒนางาน วิธีการใชงานทัศนศิลปในการโฆษณา
เพ่ือโนมนาวใจ และนำเสนอตัวอยางประกอบ ระบุ และบรรยายเกี่ยวกับวัฒนธรรมตาง ๆในทองถิ่น ท่ีสะทอนถึงงาน
ทัศนศิลปในปจจุบัน และการเปล่ียนแปลงของงานทัศนศิลปของไทยในแตละยคุ สมัยโดยเนนถึงแนวคดิ และเนื้อหา
ของงานสามารถเปรียบเทียบแนวคิดในการออกแบบงานทัศนศิลปท่ีมาจากวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมอาเซียนและ
สากล

โดยเนน กระบวนการทางศลิ ปะสรางสรรค วิเคราะห ส่ือสารและนำเสนอ มุงม่ันในการทำงานอยา งตั้งใจ
และมีวินัยในการศึกษาสังเกต แสวงหาความรู เทคนิคและวิธีการของศิลปนตนแบบ โดยนอมนำหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง ในการเลือกใชส่ือ วัสดุ-อุปกรณ จากธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพ่ือใหเกิดเปนแรงบันดาลใจใน
การสรา งสรรคผ ลงานตามจนิ ตนาการ

เพ่ือนำความรูความเขาใจไปประยุกตใชใ นชีวิตประจำวันไดอยา งเห็นคุณคา ชื่นชม ในงานทัศนศิลปของ
ไทยและสากลในแตล ะยุคสมยั วิธีการใชงานทัศนศลิ ปในการโฆษณาเพื่อโนม นาวใจ และนำเสนอตวั อยางประกอบ
เพื่อใหเ กิดปรับปรงุ แกไขและพัฒนางาน

รหัสตวั ช้ีวดั
ศ 1.1 ม.2/1,ศ 1.1 ม.2/2,ศ 1.1 ม.2/3,ศ 1.1 ม.2/4,ศ 1.1 ม.2/5,ศ 1.1 ม.2/6,ศ 1.1 ม.2/7
ศ 1.2 ม.2/1,ศ 1.2 ม.2/2,ศ 1.2 ม.2/3,
รวม 10 ตัวชีวัด

35

36

คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ศลิ ปะพน้ื ฐาน ศ 23101 (ทัศนศลิ ป) กลุมสาระการเรยี นรศู ิลปะ
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หนว ยกิต
*************************************************************************
ศึกษา รูและเขาใจ ความรูเรื่องหลักการออกแบบโดยใชทัศธาตุ และส่ิงแวดลอม ระบุ บรรยายเทคนิค
วิธีการของศิลปนท่ีมชี ื่อเสยี งในการสรางงานทัศนศิลป วิเคราะห วธิ ีการใช ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบในการ
สรางงานทัศนศิลปของตนเองใหมีคุณภาพเกิดทักษะในการสรางงานทัศนศิลป การผสมผสานวัสดุตาง ๆ โดยใช
หลักการในการออกแบบ สรางงานทัศนศลิ ป ท้ัง 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อถายทอดประสบการณแลจินตนาการ ส่ือ
ความหมายเปนเรอ่ื งราวตางๆโดยประยุกตใชทัศนธาตุ หลักการออกแบบ วิเคราะห อภิปราย รูปแบบ เน้ือหา
และคุณคาในงานทัศนศิลปของตนเอง และผูอ่ืน หรือของศิลปนตนแบบ สรางสรรคงานทัศนศิลปเพื่อบรรยาย
เหตุการณตาง ๆ โดยใชเทคนิคท่ีหลากหลาย ระบุ อาชีพท่ีเกี่ยวของกับงานทัศนศิลปและทักษะท่ีจำเปนในการ
ประกอบอาชีพนั้น ๆ เลือกงานทัศนศิลปโดยใชเกณฑท่ีกำหนดขึ้นอยางเหมาะสม และนำไป จัดนิทรรศการ
นำเสนอ อภิปราย และเปรียบเทียบเก่ียวกับงานทัศนศิลปที่สะทอนคุณคาในความงามของวัฒนธรรมไทย ความ
แตกตา งของงานทศั นศิลปใ นแตละยุคสมยั ของวฒั นธรรมไทยวฒั นธรรมอาเซยี นและวฒั นาธรรมสากล
โดยเนนกระบวนการทางศลิ ปะ คิดสรางสรรคและส่ือสารทางผลงาน อยางมุงมั่นต้ังใจ มีเหตุผล มวี ินยั ใน
การศึกษาสังเกต แสวงหาความรู เทคนิคและวิธีการของศิลปนที่มีชื่อเสียง โดยนอมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงในการเลือกใชสื่อ วัสดุ-อุปกรณ จากธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อใหเกิดเปนแรงบันดาลใจในการ
สรางสรรคผลงานตามจินตนาการ สามารถนำความรูความเขาใจไปประยุกตใ ชในชีวิตประจำวันไดอ ยางเหน็ คุณคา
และนาชน่ื ชม เกิดความภาคภมู ิใจ และสามารถตอ ยอดเปนอาชพี ตามความสามารถของตนเองได
เพ่ือใหเห็นคุณคาในงานทัศนศิลปของตนเองและผูอ่ืนหรือของศิลปนตนแบบเพื่อสรางสรรคทศั นศิลปโดย
ใชเทคนิคทหี่ ลากหลายและสามารถประกอบอาชพี ทเ่ี กี่ยวของกบั งานทัศนศลิ ปไดอ ยางเหมาะสม

รหัสตัวชี้วัด
ศ 1.1 ม.3/1,ศ 1.1 ม.3/2,ศ 1.1 ม.3/3,ศ 1.1 ม.3/4,ศ 1.1 ม.3/5,ศ 1.1 ม.3/6,ศ1.1ม.3/7,ศ 1.1ม.3/8,ศ1.1 ม.
3/9 ,ศ1.1 ม.3/10 ,ศ1.1 ,.3/11
ศ 1.2 ม.3/1,ศ 1.2 ม.3/2,
รวม 13 ตัวชีวดั

36

37

คำอธิบายรายวิชา

สาระท่ี 2 ดนตรี
สาระท่ี 3 นาฏศิลป
ระดับช้นั มัธยมศึกษาตอนตน
รายวชิ าศลิ ปะพน้ื ฐาน

37

38

คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ศิลปะพื้นฐาน ศ 21102 (ดนตร-ี นาฏศิลป) กลุม สาระการเรียนรูศ ิลปะ
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หนว ยกติ

******************************************************************************
สาระ ดนตรี

ศึกษา รูและเขาใจ สามารถระบุความหลากหลายขององคประกอบดนตรีในวัฒนธรรมอาเซียนสัมพันธ
และอิทธพิ ลของดนตรที ่ีมีตอสังคมไทย และพลโลกที่มีความแตกตา งกัน การกำเนิดเสียงดนตรี การแบงประเภท
การรวมวงดนตรีไทยและสากล การปรับแตงเสียง หลักการและเทคนิคในการปฏิบัติ ลักษณะและการส่ือ
ความหมายของโนตและสัญลักษณ ลลี า จังหวะในการปฏิบัติประกอบวงและการขับรอ ง หลักการจัดการรวมวง
และการดแู ล บำรุงรกั ษาเครื่องดนตรี

โดยใชกระบวนการสืบคน แสวงหาความรู อยางมุง มั่นตั้งใจและมีวนิ ยั ในการฝกปฏิบตั ิ การรอง การเลน
เคร่ืองดนตรีอยางนอย 1ชนิด สามารถถอดประกอบ จัดตั้ง ปรับเสียง อานโนต และสัญลักษณทางดนตรี เห็น
คุณคาการฟงดนตรแี ละการฝกปฏิบัติตามหลักวิชาการทางดนตรที ั้งเทคนิควธิ ีการตามลำดับความยากงายของบท
ฝกจนสามารถนำความรูไปปรับใชในชีวิตประจำวันไดอยางชื่นชมและเห็นคุณคา โดยการนอมหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง

เพื่อระบุความหลากหลายขององคประกอบดนตรใี นวฒั นธรรมอาเซียนสัมพันธ และอิทธิพลของดนตรีที่มี
ตอสังคมไทย และพลโลกท่ีมีความแตกตางกัน การกำเนิดเสียงดนตรี การแบงประเภท การรวมวงดนตรีไทยและ
สากล การปรับแตงเสียง หลักการและเทคนิคในการปฏิบัติ ลักษณะและการสื่อความหมายของโนตและ
สญั ลักษณ ลีลา จังหวะในการปฏิบัติประกอบวงและการขับรอง หลักการจัดการรวมวงและการดแู ล บำรงุ รักษา
เคร่ืองดนตรี
สาระนาฏศลิ ป

ศึกษา รูและเขาใจ เก่ียวกับ นาฏยศัพทหรือศัพททางการละคร อิทธิพลของนักแสดงชื่อดังท่ีมีผลตอ
การโนมนาวอารมณหรือความคิดของผูชม ฝก การทำงานเปน กลมุ ในกระบวนการผลิตการแสดงนาฏศิลปและละคร
ในรูปแบบตางๆ พิจารณาคุณภาพการแสดงท่ีชมโดยเนนเร่ืองการใชเสียง การแสดงทาทาง และการเคลื่อนไหว
วิเคราะหปจจัยท่ีมีผลตอการเปล่ียนแปลงของนาฏศิลปนาฏศลิ ปพ้ืนบาน ละครไทย ละครพื้นบาน และประเภท
ของละครไทย ในแตล ะยคุ สมัย

โดยนอมหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการแสวงหาความรูและฝกปฏิบัติ อยางมุงมั่นต้ังใจ เห็นคณุ คา
ของการนำความรู ความคดิ ไปสรางสรรคและปรับใชในชวี ิตประจำวนั อยา งช่ืนชม ท้งั นาฏศิลปไ ทย
นาฏศลิ ปเพือ่ นบานอาเซยี น นาฏศลิ ปนานาชาติ และศิลปะการแสดงพนื้ บา นในทอ งถิน่ ของตนเอง

เพื่อฝก การทำงานเปนกลุม โดยมีการแบงหนาท่ใี ชเหตุผลในกระบวนการผลิตการแสดงนาฏศิลปแ ละละคร
ในรูปแบบตาง ๆ พิจารณาคุณภาพการแสดงท่ีชมโดยเนนเร่ืองการใชเสียง การแสดงทาทาง และการเคล่ือนไหว
วิเคราะหปจจัยที่มีผลตอการเปล่ียนแปลงของนาฏศิลปนาฏศิลปพื้นบาน ละครไทย ละครพ้ืนบาน และประเภท
ของละครไทย
รหสั ตวั ช้ีวดั
ศ 2.1 ม.1/1,ศ 2.1 ม.1/2,ศ 2.1 ม.1/3,ศ 2.1 ม.1/4,ศ 2.1ม.1/5,ศ 2.1ม.1/6,ศ 2.1 ม.1/7
ศ 2.1 ม.1/8,ศ 2.1 ม.1/9,ศ 2.2 ม.1/1,ศ 2.2 ม.2/2,ศ 3.1 ม.1/1, ศ 3.1 ม.1/2,
ศ 3.1 ม.1/3, ศ 3.1 ม.1/4, ศ 3.1 ม.1/5, ศ 3.2 ม.1/1, ศ 3.2 ม.1/2,
รวม 18 ตัวชีวัด

38

39

คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน
ศิลปะพนื้ ฐาน ศ 22101 (ดนตร-ี นาฏศลิ ป) กลุมสาระการเรียนรศู ลิ ปะ
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชัว่ โมง จำนวน 1.0 หนวยกิต

*****************************************************************************************

สาระดนตรี
ศกึ ษา รูและเขาใจ อิทธิพลของวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมอาเซียนและเหตุการณประวัติศาสตรที่มี

ตอรูปแบบของดนตรีในประเทศไทย ประเทศเพื่อนบานในอาเซียนและสากล การกำเนิดเสียงดนตรี การแบง
ประเภท การรวมวงดนตรไี ทยและสากล การปรับแตงเสียง หลักการและเทคนิคในการปฏิบัติ การบำรงุ รักษา
ลักษณะและการส่ือความหมายของโนตและสัญลักษณ ลีลา จังหวะในการปฏิบัติประกอบวงและการขับรอง
หลักการจัดการรวมวงและระบุงานอาชีพตา ง ๆ ที่เกี่ยวของกับดนตรี แลบทบาทของดนตรใี นธุรกิจบันเทงิ เลือก
ปฏิบัติรอง เลนเคร่ืองดนตรี 1 ชนิด ถอดประกอบ จัดตั้ง ปรับเสียง ฝก อานโนต สัญลักษณ ฟง และปฏิบัติ
ตามหลักวชิ าการทางดนตรแี ละเทคนคิ ตามลำดับความยากงายของบทฝก ปฏิบัติเลนเด่ียวและรวมวง เก็บรักษา
และทำความสะอาด

โดยใชกระบวนการสืบคน แสวงหาความรู อยางมุงมน่ั ตั้งใจและมวี ินัยในการฝก ปฏิบัติ สามารถนำความรู
ความคิดอยางมีเหตผุ ล และจินตนาการไปประยกุ ตใชในชีวิตประจำวันไดอยา งช่ืนชมและเห็นคณุ คาโดยการนอม
หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เพ่ือสื่อความหมายของโนตและสัญลักษณ ลีลา จังหวะในการปฏิบัติประกอบวงและการขับรอง
หลักการจดั การรวมวงและระบุงานอาชพี ตาง ๆ ทีเ่ กย่ี วของกับดนตรี และบทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทงิ เลือก
ปฏิบัติรอง เลนเคร่ืองดนตรี 1 ชนิด ถอดประกอบ จัดต้ัง ปรับเสียง ฝกอานโนต สัญลักษณ ฟง และปฏิบัติ
ตามหลักวชิ าการทางดนตรแี ละเทคนิคตามลำดบั ความยากงายของบทฝก ปฏิบัติเลน เด่ียวและรวมวง เก็บรักษา
และทำความสะอาด
สาระนาฏศลิ ป

ศึกษา รูและเขาใจ เกี่ยวกับ ศิลปะแขนงอื่น ๆ กับการแสดง องคประกอบนาฏศิลปและการละคร
วิเคราะหโดยใชนาฏยศัพทหรือศพั ททางการละคร เสนอขอคิดเห็นอยางเปนเหตุเปนผลในการปรับปรุงการแสดง
เช่ือมโยงการเรยี นรูร ะหวา งนาฏศลิ ปแ ละการละครกับสาระการเรยี นรูอน่ื ๆ เห็นคุณคา ชืน่ ชม ลักษณะเฉพาะของ
การแสดงนาฏศิลปจากวฒั นธรรมตา งๆ แสดงนาฏศิลป นาฏศลิ ปพื้นบา น ละครไทย ละครพนื้ บา น หรือมหรสพอื่น
ที่เคยนิยมกนั ในอดตี อทิ ธิพลของวฒั นธรรมทม่ี ีผลตอ เน้ือหาของละคร

โดยนอมหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการแสวงหาความรูและฝกปฏิบัติ อยางมุงมั่นตั้งใจ เห็นคุณคา
ของการนำความรู ความคิดไปสรางสรรคและปรบั ใชในชวี ิตประจำวันและตอยอดเปน อาชีพตามความถนัดไดอยา ง
ช่ืนชม ท้ังดานนาฏศิลปไทย นาฏศิลปเพื่อนบานอาเซียน นาฏศิลปนานาชาติ และศิลปะการแสดงพื้นบานใน
ทองถิน่ ของตนเอง

เพ่ือเห็นคุณคา ช่ืนชม ลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลปท่ีเปนสิ่งท่ีดงี ามจากวัฒนธรรมตางๆ แสดง
นาฏศลิ ป นาฏศิลปพ้ืนบาน ละครไทย ละครพ้ืนบาน หรอื มหรสพอ่ืนท่ีเคยนิยมกันในอดีต อิทธิพลของวัฒนธรรมท่ี
มผี ลตอ เนื้อหาของละคร
รหัสตัวชี้วัด
ศ 3.1 ม.2/1, ศ 3.1 ม.2/2, ศ 3.1 ม.2/3, ศ 3.1 ม.2/4, ศ 3.1 ม.2/5, ศ 3.2 ม.2/1,
ศ 3.2 ม.2/2, ศ3.2 ม.2/3, ศ3.2 ม.2/4,ศ 2.1 ม.2/1,ศ 2.1 ม.2/2,ศ 2.1 ม.2/3,
ศ 2.1 ม.2/4,ศ 2.1 ม.2/5,ศ 2.1 ม.2/6,ศ 2.1 ม.2/7,ศ 2.2 ม.2/1,ศ 2.2 ม.2/2,
รวม 18 ตัวชวี้ ดั

39

40

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน
ศิลปะพ้ืนฐาน ศ 32102 (ดนตร-ี นาฏศิลป) กลุมสาระการเรยี นรูศลิ ปะ
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หนว ยกติ

*****************************************************************************************

สาระดนตรี
ศึกษา รู และเขาใจ ประวัติ ความเปนมาและวิวฒั นาการของดนตรไี ทย ดนตรีเพ่ือนบานในอาเซยี น และ

สากล การกำเนิดเสียงดนตรี การแบงประเภท การรวมวงดนตรไี ทยและสากล การปรับแตงเสียง หลักการและ
เทคนิคในการปฏิบัติ การบำรุงรกั ษา ลักษณะและการสื่อความหมายของโนตและสญั ลักษณ ลีลา จังหวะใน
การปฏิบัติประกอบวงและการขับรอง หลักการจัดการรวมวง เลือกปฏิบัติรอง เลนเคร่ืองดนตรี 1 ชนิด ถอด
ประกอบ จัดตั้ง ปรับเสียง ฝกอานโนต และสัญลักษณ ฟง ปฏิบัติตามหลักวิชาการทางดนตรีและเทคนิค
ตามลำดับความยากงา ยของบทฝก ปฏบิ ตั ิเลน เด่ยี วและรวมวง การดแู ลรักษาและทำความสะอาด

โดยใชกระบวนการฝกทักษะ แสวงหาความรู อยางมุงมั่นตั้งใจและมวี ินัยในการฝก ปฏบิ ัติ และสามารถนำ
ความรู ความคิด และจินตนาการไปประยุกตใชในชีวิตประจำวนั ไดอยางชื่นชมและเห็นคุณคา โดยการนอมหลัก
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เพื่อรู และเขาใจ ประวัติ ความเปนมาและวิวัฒนาการของดนตรีไทย ดนตรีเพ่ือนบานในอาเซียน และ
สากล การกำเนิดเสียงดนตรี การแบงประเภท การรวมวงดนตรีไทยและสากล การปรับแตงเสียง หลักการและ
เทคนิคในการปฏิบัติ การบำรุงรักษา ลักษณะและการสื่อความหมายของโนตและสัญลักษณ ลีลา จังหวะใน
การปฏบิ ตั ปิ ระกอบวงและการขบั รอ ง หลกั การจัดการรวมวง เลือกปฏิบตั ิรอง เลน เครอื่ งดนตรี

สาระนาฏศิลป
ศึกษา รูและเขาใจ เกี่ยวกับ โครงสรางของบทละครโดยใชศัพททางการละครภาษาทาที่มาจาก

ธรรมชาติ ภาษาทาท่ีมาจากการประดิษฐ รำวงมาตรฐาน รูปแบบการแสดงการแสดงเปน หมู การแสดงเดยี่ ว การ
แสดงละคร การแสดงเปนชุดเปนตอน การประดิษฐทารำและทาทางประกอบการแสดง ความหมาย ความเปนมา
ทาทางที่ใชใ นการประดิษฐทารำ องคประกอบนาฏศลิ ปว ธิ ีการเลอื กการแสดง ประเภทของงาน ขัน้ ตอน ประโยชน
และคุณคาของการแสดงละครกับชีวิตคน ควา การออกแบบ สรางสรรคอุปกรณและเคร่ืองแตงกายเพื่อการแสดง
นาฏศลิ ป ความสำคญั และบทบาทของนาฏศิลป และการละครในชีวิตประจำวนั การอนุรกั ษนาฏศลิ ปพ ้นื บาน

โดยนอ มหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงในการแสวงหาความรูและฝกปฏิบตั ิ อยางมุงม่ันต้งั ใจ ทำงานอยา ง
มีเหตผุ ล เห็นคณุ คา ของการนำความรู ความคดิ ไปสรางสรรคแ ละปรับใชใ นชีวติ ประจำวัน และการประกอบอาชีพ
อยางช่ืนชม ทั้งนาฏศิลปไทย นาฏศิลปเพ่ือนบานอาเซียน นาฏศิลปนานาชาติ และศิลปะการแสดงพ้ืนบานใน
ทอ งถิน่ ของตนเอง

เพื่อเปน ประโยชนและเห็นคุณคาของการแสดงละครกับชีวิต คนควา ออกแบบ วิเคราะหสรางสรรค
อุปกรณและเครื่องแตงกายเพ่ือการแสดงนาฏศิลป โดยเลือกวัสดุจากทองถิ่นมาปรบั ใช ความสำคัญและบทบาท
ของนาฏศิลป และการละครในชวี ิตประจำวันการอนรุ กั ษน าฏศลิ ปพ น้ื บาน

รหัสตัวช้ีวัด
ศ 2.1 ม.3/1,ศ 2.1 ม.3/2,ศ 2.1 ม.3/3,ศ 2.1 ม.3/4,ศ 2.1 ม.3/5,ศ 2.1 ม.3/6,ศ 2.1 ม.3/7,ศ 2.2 ม.3/1,ศ 2.2
ม.3/2,ศ 3.1 ม.3/1, ศ 3.1 ม.3/2, ศ 3.1 ม.3/3, ศ 3.1 ม.3/4, ศ 3.1 ม.3/5, ศ 3.1 ม.3/6,ศ 3.1 ม.3/7,
ศ 3.2 ม.3/1, ศ 3.2 ม.3/2, ศ 3.2 ม.3/3, ศ 3.2 ม.3/4
รวม 20 ตัวชี้วัด

40

41

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาศลิ ปะเพ่มิ เติม
ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน

สาระที่ 1 ทศั นศิลป
สาระท่ี 2 ดนตรี
สาระท่ี 1 นาฏศิลป

41

42

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ
ศลิ ปะเพ่มิ เติม ศ 20201 (ประยุกตศลิ ป) กลุมสาระการเรยี นรูศิลปะ
ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หนวยกติ
ศึกษา รูและเขาใน ฝกปฏิบัติ หลักการออกแบบงานทัศนศิลป โดยเนนความเปนเอกภาพความกลมกลืน
และความสมดุล การออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ หรือกราฟกอ่ืน ๆ การนำเสนอความคิดและขอมูลวิธีการ
ปรับปรุงงานของตนเองและผูอ่ืนโดยใชเกณฑที่กำหนดให ทักษะ การผสมผสานวัสดุตาง ๆ ในการสรางงาน
ทศั นศลิ ปโดยใชห ลักการออกแบบเห็นคุณคา ช่นื ชม แนวคิดในการออกแบบงานทัศนศลิ ปที่มาจาก วัฒนธรรมไทย
วฒั นธรรมเพือ่ นบา นในอาเซยี น และวัฒนธรรมสากล
โดยนอ มนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งเพือ่ เนน ในการใชก ระบวนการทางทักษะ การวิเคราะห แสวงหา
ความรู ส่ือความคิดอยางเปนเหตเุ ปนผล และสามารถนำความรใู นเรอ่ื งสุนทรียภาพของการสรางสรรคผลงานทาง
ศลิ ปะไปประยกุ ตใ ชใ นชวี ติ ประจำวนั ไดอ ยา งภาคภูมิใจและเหน็ คุณคา
เพ่ือเห็นคุณคา ชื่นชม แนวคดิ ในการออกแบบงานทศั นศลิ ปท ี่มาจาก วฒั นธรรมไทย วฒั นธรรมเพื่อนบาน
ในอาเซยี น และวัฒนธรรมสากล

รหัสตวั ช้ีวัด
ศ 1.1 ม.1/2,ศ 1.1 ม.1/5,ศ 1.1 ม.1/6, ศ 1.1 ม.3/5, ศ 1.2 ม.2/3
รวม 5 ตวั ช้ีวัด

42

43

คำอธิบายรายวชิ าเพมิ่ เติม
ศิลปะเพิ่มเตมิ ศ 20202 (ดนตรีสากล) กลมุ สาระการเรยี นรู ศลิ ปะ

ชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน เวลา 40 ชั่วโมง

ศึกษา รูและเขาใจ ฝกปฏิบัติ การอาน เขียน รองโนตสากล การใชและบำรุงรักษาเครื่องดนตรี อยาง
ระมัดระวังและรบั ผิดชอบ การอาน เขียน รองโนตสากลท่ีมีเคร่ืองหมายแปลงเสียง การรองเพลง และเลนดนตรี
เดยี่ วและรวมวง โดยเนนเทคนคิ การรอง การเลน การแสดงออก และคณุ ภาพเสียง แตงเพลงส้ัน ๆ จังหวะงาย ๆ
เห็นคุณคา และชื่นชมในการนำเสนอหรือจัดการแสดงดนตรีสากลที่เหมาะสม โดยการบูรณาการกับสาระการ
เรยี นรูอนื่ ๆ

โดยใชกระบวนการฝกทักษะ แสวงหาความรู อยางมงุ มน่ั ต้ังใจและมวี ินัยในการฝกปฏิบัติ และสามารถนำ
ความรู ความคิด และจนิ ตนาการไปประยุกตใชในชีวิตประจำวันไดอ ยางช่ืนชมและเห็นคุณคา โดยยึดหลกั เศรษฐกิจ
เพยี งพอ

เพ่ือเห็นคุณคา และช่ืนชมในการนำเสนอหรอื จัดการแสดงดนตรสี ากลที่เหมาะสม โดยการบูรณาการกับ
สาระการเรยี นรูอ น่ื ๆ

รหัสตัวชีว้ ัด
ศ 2.1 ม.1/1, ศ 2.1 ม.1/9, ศ.2.1 ม.2/2, ศ.2.1 ม.2/4, ศ.2.1 ม.2/5, ศ 2.1 ม.3/2,
ศ 2.1 ม.3/3, ศ 2.1 ม.3/7
รวม 8 ตวั ชว้ี ัด

43

44

คำอธิบายรายวิชาเพม่ิ เตมิ
ศิลปะเพิ่มเติม ศ 20203 (ดนตรไี ทย) กลมุ สาระการเรียนรู ศิลปะ

ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนตน เวลา 40 ชั่วโมง
---------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศกึ ษา รูและเขาใจ ฝกปฏิบัติ การอาน เขียน รองโนตไทย และการใชและบำรุงรักษาเคร่ืองดนตรี อยา ง
ระมัดระวังและรับผิดชอบ การอาน เขียนโนตสากลท่ีมเี ครื่องหมายแปลงเสียง การรองเพลง และเลนดนตรเี ด่ียว
และรวมวง โดยเนนเทคนิคการรอง การเลน การแสดงออก และคุณภาพเสียง แตง เพลงส้นั ๆ จังหวะงาย ๆ เห็น
คุณคา และช่ืนชมในการนำเสนอหรือจัดการแสดงดนตรีไทย ที่เหมาะสม โดยการบูรณาการกับสาระการเรียนรู
อนื่ ๆ

โดยใชกระบวนการฝกทักษะ แสวงหาความรู อยางมงุ มนั่ ต้ังใจและมีวินยั ในการฝก ปฏบิ ัติ และสามารถนำ
ความรู ความคดิ และจินตนาการไปประยุกตใชในชีวิตประจำวนั ไดอยางชื่นชมและเห็นคุณคา เกิดความภาคภูมิใจ
โดยยดึ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจเพยี งพอ

เพ่ือเห็นคณุ คา และชื่นชมในการนำเสนอหรือจัดการแสดงดนตรีไทย ท่ีเหมาะสม โดยการบูรณาการกับ
สาระการเรยี นรอู ื่นๆ

ตัวชี้วดั ชั้นป
ศ 2.1 ม.1/1, ศ 2.1 ม.1/9, ศ.2.1 ม.2/2, ศ.2.1 ม.2/4, ศ.2.1 ม.2/5,
ศ 2.1 ม.3/2, ศ 2.1 ม.3/7
รวม 7 ตวั ช้วี ดั

44

45

คำอธิบายรายวชิ าเพ่มิ เตมิ
ศิลปะเพม่ิ เติม ศ 20204 (นาฏศิลป) กลมุ สาระการเรียนรู ศิลปะ

ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน เวลา 40 ชว่ั โมง
(สาระที่ 3 นาฏศลิ ป)

ศกึ ษา รูและเขาใจ นาฏศิลปและละครในรูปแบบตางๆ องคประกอบนาฏศิลปและการละคร โครงสรา ง
ของบทละครโดยใชศพั ททางการละครและรูปแบบการแสดง การแสดงเปนหมู การแสดงเดี่ยว การแสดงละคร
การแสดงเปนชุดเปนตอนฝกทักษะกระบวนการทำงานเปนกลุมในกระบวนการคิด ผลิตสรา งสรรคก ารแสดง การ
พิจารณาคุณภาพการแสดงที่ชมโดยเนน เรอื่ งการใชเสียง การแสดงทา การเคลื่อนไหว การเสนอขอคิดเห็นในการ
ปรับปรงุ การแสดง วธิ กี ารเลอื กการแสดง ประเภทของงาน ขนั้ ตอน ประโยชนและคณุ คา ของการแสดง ออกแบบ
และสรางสรรคอุปกรณและเคร่ืองแตงกายเพ่ือการแสดงนาฏศิลปเหน็ คณุ คาความสำคัญและบทบาทของนาฏศิลป
และการละครในชีวติ ประจำวัน

โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจเพียงพอเพ่ือเนนในการใชก ระบวนการแสวงหาความรูและฝกปฏิบัติ อยาง
มุงมั่นตั้งใจ เห็นคุณคาของการนำความรู ความคิด ไปสรางสรรคและปรับใชในชีวิตประจำวันอยางชื่นชม ทั้ง
นาฏศลิ ปไทย นาฏศิลปน านาชาติ และศลิ ปะการแสดงพื้นบา นในทองถิน่ ของตนเอง

คุณคาของการแสดง ออกแบบและสรางสรรคอุปกรณและเคร่ืองแตงกายเพ่ือการแสดงนาฏศิลปเห็น
คุณคา ความสำคญั และบทบาทของนาฏศิลป และการละครในชวี ิตประจำวัน

รหสั ตัวช้ีวัด
ศ 3.1 ม.1/3,ศ 3.1 ม.1/4,ศ 3.1 ม.1/5, ศ 3.1 ม.2/2, ศ 3.1 ม.2/4, ศ 3.1 ม.3/1,
ศ 3.1 ม.3/3, ศ 3.1 ม.๓3/6, ศ 3.2 ม.3/1, ศ 3.2 ม.3/2, ศ 3.2 ม.3/3
รวม 11 ตัวช้ีวัด

45

46

แบบบนั ทึกการวเิ คราะหตัวชว้ี ัด
คำอธบิ ายรายวิชา
โครงสรา งหลกั สูตร

สาระที่ 1 ทศั นศลิ ป

ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 1
รายวิชา ศลิ ปะพื้นฐาน

46

4

แบบ

การวิเคราะหเพื่อจดั ทำคำอธิบาย
กลมุ สาระการเรียนรศู ลิ ปะ รายวชิ า ศิลปะพ
สาระท่ี 1 ทัศนศิลป
มาตรฐาน ที่ ศ 1.1 สรางสรรคงานทศั นศลิ ปตามจินตนาการ และความคิดสรางสร
ศลิ ปะอยา งอิสระ ช่นื ชม และประยุกตใชในชวี ิตประจำ

ตวั ชี้วัดช้ันป/ผลการเรียนรู

ความรู K ทกั ษะกระบวนการ

1. บรรยายความแตกตางและความ ความแตกตางและ ความสามารถในกา
คลา ยคลึงกนั ของงานทัศนศลิ ป ความคลายคลึงกัน ใชความคิด
และสง่ิ แวดลอ มโดยใชความรูเรือ่ ง ของงานทศั นศลิ ป
ทัศนธาตุ และสิ่งแวดลอ มโดยใช
ความรูเรอื่ ง
ทศั นธาตุ

47

บบันทึก

ยรายวิชาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน
พนื้ ฐาน รหัสวชิ า ศ21101 ระดับชน้ั ม. 1

รรค วเิ คราะห วิพากษ วิจารณค ณุ คา งานทัศนศิลป ถายทอดความรูสกึ ความคดิ ตอ งาน
ำวัน

สาระการเรยี นรูแกนกลาง/ทองถ่ิน

ร P คณุ ลักษณะ A สาระสำคญั สาระทองถน่ิ /อาเซียน/
พอเพียง
าร การใฝเรียนรู ความแตกตางและความ
คลา ยคลงึ กัน พระบรมราโชบาย
ของทัศนธาตใุ นงาน
ทัศนศลิ ป การวิเคราะหแยกแยะ
และสิ่งแวดลอ ม ความแตกตางอยา งมี
เหตผุ ล

47

4

ตวั ช้ีวดั ชั้นป/ ผลการเรียนรู สาระการเรยี
ทกั ษะกระบวนการ
ความรู K

2. ระบุ และบรรยายหลักการออกแบบ ออกแบบงาน ความสามารถในกา

งานทัศนศลิ ป โดยเนนความเปน ทัศนศิลป โดยเนน ใชค วามคิด

เอกภาพความกลมกลนื และความ ความเปนเอกภาพ ความสามารถในกา

สมดุล ความกลมกลนื และ แกปญหา

ความสมดุล

3.วาดภาพทศั นยี ภาพแสดงใหเหน็ แสดงใหเห็นระยะไกล ความสามารถในกา

ระยะไกลใกล เปน 3 มติ ิ ใกล เปน 3 มิติ ส่อื สาร

4.รวบรวมงานปน หรอื ส่อื ผสม รวบรวมงานปน หรือ ความสามารถในกา
มาสรางเปนเรื่องราว ๓ มติ ิโดยเนน ความ ส่อื ผสม ใชความคิด
เปน เอกภาพ ความกลมกลนื และการ มาสรา งเปนเรอื่ งราว 3 ความสามารถในกา
สื่อถึงเรื่องราวของงาน มติ โิ ดยเนนความเปน แกปญหา
เอกภาพ ความ
กลมกลืน และการสอื่
ถงึ เรอ่ื งราวของงาน

48

ยนรแู กนกลาง/ทองถิน่ สาระสำคญั สาระทอ งถนิ่ /อาเซยี น/
ร P คุณลกั ษณะ A พอเพียง/

พระบรมราโชบาย

าร การใฝเรยี นรู ความเปน เอกภาพ ความ ออกแบบงานศิลปจ าก

มงุ มน่ั ในการทำงาน กลมกลนื ความสมดุล ทอ งถิ่นของตนเอง

าร

าร การใฝเรียนรู หลกั การวาดภาพแสดง

มงุ มนั่ ในการทำงาน ทศั นียภาพ

าร การใฝเรยี นรู เอกภาพความกลมกลนื

มุงมน่ั ในการทำงาน ของเร่ืองราวในงานปน

าร หรอื งานส่ือผสม

48


Click to View FlipBook Version