The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pornpassanan Poomjarean, 2019-12-18 02:49:20

แผนการสอน ม.3

แผนการสอน ม.3

ขนั้ ท่ี 3 ขั้นสรุป
นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเหน็ และอภิปรายสรปุ เรื่อง การออกแบบสรางสรรคอปุ กรณ
และเคร่ืองแตงกายประกอบการแสดง เปนความคิดของช้ันเรยี น โดยครคู อยใหค วามรูเสรมิ ในสว นที่
นักเรยี นไมเ ขาใจหรือสรปุ ไมต รงกบั เน้อื หา

ข้นั ที่ 4 ฝกฝนผเู รยี น
1. นกั เรียนปฏบิ ัติกิจกรรม ออกแบบสรา งสรรคอ ุปกรณป ระกอบการแสดง โดยใหน กั เรียน
ออกแบบสรา งสรรคอุปกรณท ่ีใชในรำอวยพรใหสวยงามตามจนิ ตนาการและความคิดสรางสรรค
2. นกั เรยี นปฏิบัติ กจิ กรรม ออกแบบสรางสรรคเ คร่อื งแตง กายประกอบการแสดง โดยให
นักเรียนออกแบบสรา งสรรคเ ครือ่ งแตง กายประกอบการแสดงรำอวยพรใหส วยงามตามจินตนาการ
และความคิดสรา งสรรค
ข้นั ท่ี 5 การนำไปใช
1. นักเรียนสามารถนำอุปกรณแ ละเคร่ืองแตงกายไปใชแ สดงนาฏศลิ ป เพือ่ แสดง
ความสามารถในโอกาสตา ง ๆ
2. นักเรยี นสามารถนำ การออกแบบสรา งสรรคอ ุปกรณแ ละเครื่องแตงกายประกอบการ
แสดง ไปประยุกตใ ชใ นการเรียนนาฏศลิ ปในระดบั สงู ตอไป

9. กจิ กรรมเสนอแนะ
1. กจิ กรรมสำหรับกลุมสนใจพิเศษ
นักเรียนแบงกลมุ กลุมละ 5 คน รว มกนั จดั ทำปายนิเทศเผยแพรความรเู ก่ียวกบั การออกแบบ

สรางสรรคอุปกรณและเครอื่ งแตง กายประกอบการแสดง
2. กิจกรรมสำหรับฝก ทักษะเพิม่ เตมิ
นักเรยี นแบงกลุม กลุม ละ 5 คน รว มกันคดิ ประดษิ ฐชุดการแสดงมา 1 ชดุ การแสดง พรอ ม

ทัง้ ออกแบบอปุ กรณแ ละเครื่องแตง กายประกอบการแสดงใหส วยงาม จากน้นั ใหแ ตละกลุมออกมา
นำเสนอหนา ชัน้ เรยี น

10. สื่อ/แหลงการเรยี นรู
1. ภาพการแสดงตา ง ๆ
2. ใบงาน
3. หอ งสมดุ
4. อนิ เทอรเ นต็
5. หนังสือเรียน รายวิชาพน้ื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป ชั้น ม. 3



แผนการจดั การเรียนรูที 16
การจัดการแสดงนาฏศลิ ปในโอกาสตาง ๆ

สาระที่ 3 นาฏศิลป ช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 3

หนว ยการเรียนรูที่ 5 ทักษะการแสดงนาฏศิลปไ ทย เวลา 2 ชั่วโมง

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. หนว ยการเรยี นรทู ี่ 5 ทักษะการแสดงนาฏศลิ ปไ ทย

2. มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด

รวมจัดงานการแสดงในบทบาทหนาทต่ี าง ๆ (ศ 3.1 ม. 3/6)

3. สาระสำคัญ
การจัดการแสดงนาฏศิลปไทยสามารถนำมาจัดแสดงในโอกาสตาง ๆ โดยตองคำนึงถงึ

รปู แบบของงาน สถานท่ี ระยะเวลาและวัยของผูชม แบงออกเปน 4 ลกั ษณะ คอื งานพระราชพธิ ี
งานมงคล งานอวมงคล และงานเทศกาลตา ง ๆ

4. สาระการเรยี นรู

 วิธีการเลอื กการแสดง



5. จุดประสงคการเรียนรู

1. อธบิ ายลกั ษณะและประเภทของงานในการจัดการแสดงได (K)

2. อธบิ ายขน้ั ตอนการดำเนนิ งานของการจดั การแสดง (K)

3. ปฏิบัตกิ จิ กรรมดวยความสนุกสนานเพลดิ เพลนิ (A)

4. จดั กจิ กรรมการแสดงเพ่ือเผยแพรศิลปะการแสดงของไทย (P)

6. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู

ดานความรู (K) ดา นคุณธรรม จริยธรรม และ ดา นทกั ษะ/กระบวนการ (P)

คา นยิ ม (A)

1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความซ่ือสัตยใน 1. สงั เกตจากการจัดกจิ กรรม

แสดงความคิดเหน็ การปฏิบตั กิ ิจกรรม การแสดงเพือ่ เผยแพร

2. จากการตรวจการวดั และ 2. สังเกตจากการปฏิบัติ ศลิ ปะการแสดงของไทยได

ประเมนิ ผลการเรยี นรูป ระจำ กิจกรรมดว ยความสนุกสนาน ถูกตองเหมาะสม

หนว ย และเพลดิ เพลนิ 2. สังเกตจากการปฏิบัติ

3. จากการตรวจแบบทดสอบ 3. ประเมินพฤตกิ รรมตามแบบ กิจกรรมกลุมรว มกับผูอน่ื ได

หลงั เรยี น การประเมินผลดา นคุณธรรม อยางคลองแคลว

4. จากการตรวจใบงาน จรยิ ธรรม และคา นยิ ม 3. ประเมนิ พฤตกิ รรมตามแบบ

4. สังเกตจากการยอมรับความ การประเมินผลดานทกั ษะ/

คิดเห็นของผอู ื่นขณะปฏบิ ตั ิ กระบวนการ

กิจกรรม

7. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การพูดถึงลักษณะประเภทของงานในการจดั การแสดง และขัน้ ตอนการ

ดำเนนิ งานของการจัดการแสดง การแสดงความคดิ เห็น การถามและการตอบขอ
สงสัยตา ง ๆ
สงั คมศึกษาฯ การปฏิบตั กิ ิจกรรมเปน กลมุ และการสรางมนุษยสัมพนั ธ
การงานอาชีพฯ การใชค อมพิวเตอรใ นคนหาขอมลู ทางอินเทอรเ น็ต และจากการชมส่ือทาง
โทรทศั น

8. กระบวนการจดั การเรยี นรู
ขั้นท่ี 1 ข้ันนำเขา สบู ทเรียน
ครทู บทวนความรเู ดิมจากครงั้ ทีแ่ ลว จากนน้ั ครูนำเสนอเน้ือหาเรอ่ื ง การจัดการแสดง

นาฏศลิ ปในโอกาสตา ง ๆ โดยซกั ถามประสบการณน กั เรียนวา ใครเคยจัดการแสดงนาฏศิลปใน
โอกาสตา ง ๆ มาบาง ใหอ อกมาเลา ใหเ พื่อนฟง

ขนั้ ท่ี 2 ขน้ั สอน
1. ครูอธบิ ายเน้อื หาเรื่อง การจัดการแสดงนาฏศลิ ปในโอกาสตาง ๆ เกี่ยวกับลกั ษณะและ
ประเภทของงานในการจัดการแสดง และขั้นตอนการดำเนินงานของการจดั การแสดง โดยการ
บรรยายและยกตวั อยางประกอบ แลวใหนกั เรียนศกึ ษาขอมูลเพ่ิมเตมิ จากหนังสือเรียน รายวิชา
พนื้ ฐาน ดนตร–ี นาฏศลิ ป ม. 3 บรษิ ทั สำนกั พิมพวัฒนาพานิช จำกดั
2. ครใู หน กั เรียนทุกคนรว มกันจดั กิจกรรมการแสดงเพื่อเผยแพรศลิ ปะการแสดงของไทย โดย
มีการจัดแบงบทบาทหนาท่ีของแตล ะฝา ยในการจดั การแสดง และมีการดำเนนิ งานอยางเปน ขัน้ ตอน
ซ่ึงครูจะเปน ผูใหคำแนะนำ โดยใหนกั เรยี นเขียนสรุปขนั้ ตอนในการจัดการแสดงลงในใบงานที่ 18
เรอ่ื ง การจัดการแสดงนาฏศิลปไ ทยในโอกาสตา ง ๆ

ข้นั ท่ี 3 ขัน้ สรุป
นกั เรียนรวมกนั แสดงความคิดเห็นและอภปิ รายสรุปเร่ือง การจัดการแสดงนาฏศลิ ปในโอกาส
ตาง ๆ เปน ความคดิ ของชน้ั เรียน โดยครคู อยใหความรูเสรมิ ในสว นท่ีนกั เรียนไมเขาใจหรือสรปุ ไมตรง
กับเนอื้ หา
ขั้นที่ 4 ฝกฝนผเู รยี น
1. นกั เรียนปฏบิ ัติ กิจกรรม ข้ันตอนในการดำเนนิ งานในการจัดการแสดง โดยใหน ักเรยี น
อธิบายถงึ ขน้ั ตอนในการดำเนินงานในการจดั การแสดงวา มีอะไรบา ง
2. ใหน ักเรยี นฝกฝนเพิ่มเติมใชก จิ กรรมที่ 37 กจิ กรรมที่ 38 และกิจกรรมท่ี 39 ในแบบฝก
ทกั ษะรายวชิ าพ้ืนฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป ม. 3 บริษัท สำนกั พมิ พวฒั นาพานชิ จำกดั
3. ใหนกั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน
4. ใหน ักเรยี นทำโครงงานตามความสนใจ

ขนั้ ที่ 5 การนำไปใช
1. นกั เรียนสามารถนำความรเู รื่อง การจดั การแสดงนาฏศลิ ปใ นโอกาสตา ง ๆ ไปประยุกตใช
ในการเรียนนาฏศิลปใ นระดบั สูงตอไป
2. นำความรูเรือ่ งการจดั การแสดงไปประยุกตใชกับการสรางสรรคกจิ กรรมตา ง ๆ ได เชน
การนำขน้ั ตอนในการจดั การแสดงไปประยุกตใชเปนข้นั ตอนในการจดั กจิ กรรมกีฬาสขี องโรงเรียน
เปน ตน

9. กจิ กรรมเสนอแนะ
1. กจิ กรรมสำหรับกลุมสนใจพเิ ศษ
นกั เรียนแบง กลมุ กลุมละ 8 คน รว มกนั จดั การแสดงตา ง ๆ ที่นักเรยี นคิดวา นาสนใจในงาน

วนั กฬี าสีทโ่ี รงเรียนจดั ขน้ึ
2. กิจกรรมสำหรับฝก ทักษะเพิ่มเติม
นกั เรยี นแบงกลมุ กลุม ละ 5 คน รวมกนั ศกึ ษาการจดั กิจกรรมการแสดงของชมรมนาฏศิลป

ของโรงเรยี นและจดั ทำเปนรายงานสงครู

10. ส่ือ/แหลง การเรียนรู
1. ใบงาน
2. หองสมุด
3. อินเทอรเนต็
5. หนงั สอื เรียน รายวิชาพื้นฐาน ดนตรี–นาฏศิลป ชั้น ม. 3

หนว ยการเรยี นรูที่ 6
นาฏศิลปและการละครกบั ชวี ติ ประจำวัน

ผงั มโนทศั นเปาหมายการเรียนรู เวลา 4 ชั่วโมง

ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ
– บทละคร – กระบวนการคดิ
– ละครกบั ชีวติ – การศึกษาคน้ ควา้
– ความสาํ คญั และบทบาทของนาฏศิลป์ และ – การวเิ คราะห์
การละครกบั ชีวติ ประจาํ วนั – การสังเกต
– การอนุรักษน์ าฏศิลป์ และการละคร – การนาํ ความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั
– ทกั ษะการปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นรายบุคคล
– ทกั ษะการปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นรายกลุ่ม

นาฏศิลป์ และการละคร
กบั ชีวติ ประจาํ วัน

ภาระงาน/ชินงาน คณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยม
– การทาํ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน – มีเจตคติทีดีต่อนาฏศลิ ป์ และละครกบั
– ศึกษาองคป์ ระกอบของบทละคร ชีวิตประจาํ วนั
– เขียนบทละครประกอบการแสดงละคร – เหน็ คุณค่าและความสาํ คญั ของ
– ศึกษาความหมายของละครกบั ชีวิต นาฏศิลป์ และละครกบั ชีวิตประจาํ วนั
– ศึกษาความสาํ คญั และบทบาทของนาฏศิลป์ และการละคร – ปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นรายบุคคลและ
กบั ชีวิตประจาํ วนั ปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นกลุ่มดว้ ยความ
– อธิบายการอนุรักษน์ าฏศิลป์ และการละคร ซือสัตย์ ความรับผิดชอบ
– ใบงาน – ปฏิบตั ิตนอยา่ งมีมารยาทในการ
– การจดั ทาํ รายงาน ปฏิบตั ิกิจกรรมร่วมกบั ผอู้ ืน
– การทาํ โครงงาน
– การจดั ทาํ ป้ายนิเทศ

ผงั การออกแบบการจดั การเรยี นรู

หนว ยการเรียนรูท่ี 6 นาฏศิลปแ ละการละครกบั ชีวติ ประจำวนั

ขน้ั ท่ี 1 ผลลพั ธป ลายทางที่ตองการใหเ กิดขึ้นกบั นกั เรียน

ตัวชี้วดั ชั้นป

1. ระบโุ ครงสรางของบทละครโดยใชศพั ทท างการละคร (ศ 3.1 ม. 3/1)

2. นำเสนอแนวคดิ จากเนื้อเร่ืองของการแสดงท่ีสามารถนำไปปรับใชใ นชีวติ ประจำวัน (ศ 3.1 ม.

3/7)

3. อธบิ ายความสำคญั และบทบาทของนาฏศิลปและการละครในชวี ติ ประจำวัน (ศ 3.2 ม. 3/2)

4. แสดงความคดิ เห็นในการอนรุ กั ษ (ศ 3.2 ม. 3/3)

ความเขา ใจที่คงทนของนักเรียน คำถามสำคัญที่ทำใหเ กิดความเขาใจทีค่ งทน

นกั เรยี นจะเขาใจวา ... 1. บทละครหมายถงึ อะไร

1. บทละคร คือ บทประพันธทน่ี ำเสนอเรื่องราว 2. บทละครมีองคป ระกอบอะไรบาง

ความคดิ เน้ือหาสาระและจนิ ตนาการของ 3. ละครกบั ชวี ิตมคี วามหมายวา อะไร

ผปู ระพันธ เปน สื่อระหวางผแู สดงกบั ผชู ม 4. นาฏศิลปแ ละการละครมีความสำคัญ

2. บทละครประกอบดวยองคประกอบ ดังนี้ อยางไร

โครงเรอ่ื ง ตวั ละครและการวางลกั ษณะนสิ ัยของตัว 5. นาฏศิลปและการละครมีบทบาทอะไรใน

ละคร ความคิดหรือแกนของเรอ่ื ง บทสนทนา ชวี ิตประจำวนั

3. ละครเปน การแสดงที่จำลองมาจากชวี ิตจรงิ ของ 6. นาฏศลิ ปและการละครมีการอนรุ ักษ

มนุษย โดยนำเอาประสบการณในชวี ิตจริงมาผนวก อยางไร

กบั จินตนาการแลวสรางสรรคเ ปนเรือ่ งราวทสี่ ะทอ น

ภาพชวี ติ เพ่อื ตอบสนองความตอ งการของมนุษย 3

ดาน คือ ดา นอารมณ ดานสมอง ดานจิตใจ

4. นาฏศิลปแ ละการละครมคี วามสำคญั กับ

ชวี ิตประจำวันของมนุษยต้ังแตเกดิ จนตาย มี

ความสำคญั คือ แสดงถึงความเปนอารยประเทศ

เปน แหลง รวมศิลปะแขนงตา ง ๆ

5. บทบาทของนาฏศิลปและการละครเปนกจิ กรรม

ทีป่ รากฏอยใู นสังคม มคี วามสัมพนั ธก บั

ชีวติ ประจำวัน เชน การเลา นทิ าน การเลียนแบบ

กิจกรรมเพื่อความบันเทิง

6. การอนุรกั ษนาฏศิลปและการละครน้ันถือวาเปน

หนาท่ีของคนไทยทุกคนที่จะตองตระหนักถึงคณุ คา

ของงานนาฏศลิ ปท ่ีบรรพบุรุษไดส รางสรรคข ึ้นมา

ต้งั แตอ ดีตจนถงึ ปจจบุ นั อีกท้ังยงั มีการจัดตงั้

หนวยงานทีม่ ีหนา ท่ใี นการชว ยสงเสรมิ และอนรุ ักษ

นาฏศิลปไ ทย

ความรูของนักเรียนทน่ี ำไปสูความเขา ใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนกั เรียนทีน่ ำไปสู

นักเรยี นจะรวู า... ความเขาใจท่ีคงทน

1. คำสำคญั ทค่ี วรรู ไดแก ตัวโกง เทพนิยาย นกั เรียนจะสามารถ...

เวนสิ วาณชิ 1.อธิบายความหมายของบทละครได

2. บทละคร คือ บทประพนั ธที่นำเสนอเรื่องราว 2. อธบิ ายองคป ระกอบของบทละครได

ความคดิ เน้ือหาสาระและจนิ ตนาการของ 3. อธิบายความหมายของละครกับชวี ติ ได

ผูประพันธ เพ่ือใชเ ปน ส่ือระหวา งผูแ สดงกับผชู ม 4. อธบิ ายความสำคัญของนาฏศลิ ปและการ

และยังเปน ตัวกำหนดองคป ระกอบตา ง ๆ ของการ ละครได

แสดงละครท้ังโครงเร่อื ง ฉาก แสง สี เส้ือผา และ 5. อธิบายบทบาทของนาฏศิลปและการละคร

การแสดงออกของผูแสดง ในชีวิตประจำวนั ได

3. บทละครประกอบดว ยองคประกอบ ดังน้ี 6. อธิบายการอนุรกั ษน าฏศิลปและการละคร

1) โครงเรอ่ื ง คือ การลำดบั เหตกุ ารณข องการ ไทยได

แสดงตัง้ แตต น จนจบการแสดง กำหนดลักษณะของ

ตัวละครในเรื่องวา ใคร ทำอะไร ท่ไี หน อยางไร

และตวั ละครมีลักษณะนิสัยอยางไร ซงึ่ โครงเรอ่ื งทด่ี ี

จะตองมคี วามเปนเอกภาพและมีความสมบรู ณอ ยู

ในตัวเอง จะประกอบดวยตอนตน ตอนกลาง และ

ตอนจบอยา งชัดเจน

2) ตวั ละครและการวางลักษณะนสิ ัยของตัวละคร

ตวั ละคร คือ ผทู ดี่ ำเนินเร่ืองราวตาง ๆ ของละคร

เปนผทู ่ไี ดร ับผลจากการกระทำในบทละคร สามารถ

แบง ออกเปน 2 ประเภท คอื

(1) ตัวละครทีล่ กั ษณะแบบตายตวั

(2) ตวั ละครทมี่ องเห็นไดร อบดา น

การวางลักษณะนิสัยของตวั ละคร คือ การกำหนด

ลกั ษณะนสิ ัยของตัวละครตามความเหมาะสมของ

เรอื่ งราวในละครที่นำเสนอการแสดงของพฤตกิ รรม

และลักษณะนสิ ัยของตวั ละครท่จี ะตองมหี ลักของ

เหตุผล แบง ออกเปน

(1) ตัวละครหลักหรือตัวละครสำคัญ

(2) ตวั ละครรอง

3) ความคิดหรอื แกนของเร่ือง เปนจุดมุงหมาย

ของการแสดงละครทผี่ ูเขียนตองการนำเสนอตอ

ผูชมเมื่อชมการแสดงจบ เปน สาระสำคญั ของละคร

แตส วนใหญจ ะอยูในเรอื่ งราวและบทสนทนา ซ่ึงมี

คุณคา ตอจติ ใจและสติปญ ญา ผชู มสามารถนำมา

ปรับใชใ นชวี ิตประจำวันได

4) บทสนทนา คอื การใชค ำพดู ในการแสดงดวย

การใชถ อยคำอยางมีศลิ ปะ บทสนทนานี้จะเปนรอย
แกวหรอื รอยกรองก็ได ซ่ึงผเู ขียนบทละครท่ีดตี อ ง
เขียนไดตรงตามประเภทของบทละคร ลักษณะนสิ ยั
ของตัวละคร เหตุการณใ นแตละตอนของละคร สิง่ ที่
สำคญั ทส่ี ดุ ของบทสนทนา คือ การแสดงลักษณะ
นิสัย ความคดิ และอารมณข องตวั ละครที่นำไปสูก าร
กระทำตาง ๆ ของตัวละครท่ีผลตอการดำเนนิ
เร่ืองราวในละคร
4. ละครเปนการแสดงทจ่ี ำลองมาจากชีวิตจรงิ ของ
มนุษย โดยนำเอาประสบการณในชวี ติ จริงมาผนวก
กบั จินตนาการแลวสรางสรรคเ ปนเรอื่ งราวท่สี ะทอน
ภาพชีวิต มกี ารนำเสนอในรูปแบบตาง ๆ มีผูแสดง
เปน ผูถายทอดเรอื่ งราวแกผชู ม เพอ่ื สรา งความ
บันเทงิ หรอื สอดแทรกคติสอนใจ เพื่อตอบสนอง
ความตอ งการของมนษุ ย 3 ดาน คอื

1) ดา นอารมณ เพื่อใหค วามบนั เทิง ชว ยผอ น
คลายความตึงเครียด ทำใหมนุษยมคี วามสุข

2) ดา นสมอง ใหค ุณคา ทางดานสติปญ ญา
สามารถนำขอคิดทไ่ี ดจ ากการชมละครมาปรับใชใ น
การแกปญหา

3) ดานจิตใจ ละครมีความสมั พนั ธก บั จิตใจของ
มนุษยม าเปน เวลาชา นาน มสี วนชวยในการกลอม
เกลาจิตใจ

5. นาฏศลิ ปและการละครมีความสำคญั กับ
ชวี ิตประจำวนั ของมนุษยตั้งแตเกดิ จนตาย มี
ความสำคัญดงั น้ี

1) แสดงถงึ ความเปนอารยประเทศ เพราะศิลปะ
เปน สิง่ ทม่ี ีคุณคา ตอจติ ใจของมนษุ ยเปนเคร่ืองโนม
นาวอารมณ ใหแงคดิ และใหกำลังใจในการทจ่ี ะ
สรา งความเจริญรุง เรืองในชาตสิ ืบไป

2) เปนแหลงรวมศลิ ปะแขนงตาง ๆ เพราะศลิ ปะ
แขนงตาง ๆ นนั้ มคี วามเชอ่ื มโยงเกยี่ วเนือ่ งกนั ทงั้ สิ้น
ไดแ ก

(1) วรรณกรรม คือ การแตงบทละคร บทรอง
(2) จติ รกรรม คือ การเขียนฉาก การแตงหนา ตัว
ละคร
(3) ประติมากรรม คือ การปน การหลอ การสลัก

รูป
(4) สถาปต ยกรรม คือ การสรา งเวที การสรา ง

ฉาก
(5) ดุริยางคศลิ ป คอื การบรรเลงดนตรี ขับรอง

6. บทบาทของนาฏศิลปแ ละการละครเปน กจิ กรรม
ทป่ี รากฏอยใู นสังคม มีความสัมพนั ธก บั
ชีวติ ประจำวนั เชน

1) การเลา นิทาน เปนกจิ กรรมทม่ี ลี กั ษณะของ
การละครผสมอยเู พราะเปน เร่ืองราวทเี่ ลาตอ ๆ กัน
มาหรือเปน เรือ่ งนิทานพน้ื บานสอนใจ

2) การเลียนแบบ คือ การสมมุตติ นเองในการ
เลน ของเด็ก ๆ เชน การเลน ขายของ สมมุติตนเอง
เปนพอคา แมคา ลูกคา เปน ตน

3) กิจกรรมเพื่อความบันเทิง เปน การแสดงเพื่อ
ผอนคลายความเครยี ด ความเหนอื่ ยลา จากการ
ทำงาน หรอื เปนการแสดงที่ใชแ สดงในงานเทศกาล
ตา ง ๆ เพ่ือสรางความบนั เทิง

ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมนิ ผลการเรยี นรูซง่ึ เปนหลักฐานทแ่ี สดงวา นักเรยี นมผี ลการเรยี นรู

ตามทีก่ ำหนดไวอยางแทจริง

1. ภาระงานทนี่ ักเรียนตองปฏิบตั ิ

– ศกึ ษาและอธบิ ายความหมายของบทละคร

– ศกึ ษาและอธิบายความหมายองคประกอบของบทละคร

– ศึกษาและอธบิ ายความหมายของละครกับชีวติ

– ศกึ ษาและอธบิ ายความสำคัญและบทบาทของนาฏศลิ ปแ ละการละครในชีวติ ประจำวัน

– ศึกษาและอธิบายการอนรุ กั ษนาฏศิลปไ ทย

2. วิธีการและเครื่องมอื ประเมินผลการเรียนรู

วธิ กี ารประเมินผลการเรยี นรู เครือ่ งมือประเมนิ ผลการเรียนรู

– การทดสอบ – แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรยี น

– การสนทนาซักถามโดยครู – แบบบนั ทึกขอมลู การแสดงความคิดเหน็ และ

– การแสดงความคดิ เห็นและการอภปิ ราย การอภิปราย

– การฝก ปฏบิ ตั ิระหวางเรยี น – ใบงาน

– การประเมนิ ผลดา นความรู – แบบประเมินผลดานความรู

– การประเมนิ ผลดานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ – แบบประเมนิ ผลดา นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

คา นยิ ม และคา นยิ ม

– การประเมินผลดานทักษะ/กระบวนการ – แบบประเมินผลดา นทักษะ/กระบวนการ

3. สิง่ ท่ีมุง ประเมิน

– อธิบายความหมายของบทละครได
– อธบิ ายความหมายองคประกอบของบทละครได
– อธิบายความหมายของละครกบั ชวี ติ ได
– อธบิ ายความสำคญั และบทบาทของนาฏศลิ ปแ ละการละครในชวี ติ ประจำวันได
– อธิบายการอนรุ ักษน าฏศิลปไ ทย

ข้ันท่ี 3 แผนการจัดการเรียนรู

– แผนการจัดการเรยี นรูที่ 17 บทละคร 1 ชัว่ โมง
– แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 18 ละครกับชวี ิต 1 ชวั่ โมง
– แผนการจัดการเรียนรูท ่ี 19 ความสำคัญและบทบาทของนาฏศิลปและการละคร ในชวี ติ ประจำวนั
1 ชัว่ โมง
– แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 20 การอนุรกั ษนาฏศิลปแ ละการละคร 1 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรูที่ 17

บทละคร

สาระที่ 3 นาฏศลิ ป ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3

หนวยการเรียนรูที่ 6 นาฏศลิ ปแ ละการละครกับชีวติ ประจำวัน เวลา 1 ชั่วโมง

......................................................................................................................................................

1. หนว ยการเรียนรูท ่ี 6 นาฏศิลปแ ละการละครกบั ชีวิตประจำวัน
สาระสำคัญ

2. มาตรฐานการเรยี นรู / ตัวชวี้ ดั ชน้ั
ระบโุ ครงสรางของบทละครโดยใชศพั ททางการละคร (ศ 3.1 ม. 3/1)

3. สาระสำคญั
บทละคร คือ บทประพันธที่นำเสนอเร่อื งราว ความคิด เนื้อหาสาระและจนิ ตนาการของ

ผปู ระพันธ เพื่อใชเปน ส่ือระหวา งผูแสดงกับผชู ม และยังเปนตัวกำหนดองคประกอบตา ง ๆ ของ
การแสดงละคร

4. สาระการเรยี นรู
 องคป ระกอบของบทละคร

5. จุดประสงคก ารเรียนรู
1. รแู ละเขาใจสามารถอธิบายความหมายของบทละครและองคป ระกอบของบทละครกับ

ชีวติ ได (K)
2. ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมดว ยความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ (A)
3. วเิ คราะหและสรปุ ความหมายของบทละครและองคป ระกอบของบทละครได (P)
4. เขียนบทละครประกอบการแสดงละครได (P)

6. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู

ดา นความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม และ ดานทกั ษะ/กระบวนการ (P)

คา นยิ ม (A)

1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความเสยี สละใน 1. สงั เกตจากการวเิ คราะห

แสดงความคิดเหน็ การปฏิบตั กิ จิ กรรมรวมกบั และสรุปความหมายของ

2. จากการตรวจการวดั และ ผอู ่นื บทละครและองคประกอบ

ประเมนิ ผลการเรียนรปู ระจำ 2. สังเกตจากการปฏิบัติ ของบทละคไดถกู ตอ ง

หนว ย กจิ กรรมดวยความ 2. สงั เกตจากการปฏบิ ตั ิ

3. จากการตรวจแบบทดสอบ สนกุ สนานและเพลิดเพลนิ กจิ กรรมรายบุคคลและ

กอ นเรยี น ปฏิบัติกิจกรรมรวมกับ

4. จากการตรวจใบงาน ผอู ่นื ไดอ ยา งคลอ งแคลว

7. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การพดู อธบิ ายความหมายของบทละคร และองคป ระกอบของบทละคร การ

เขียนบทละคร
วิทยาศาสตร การสังเกตองคป ระกอบของละคร
สงั คมศกึ ษาฯ การปฏบิ ตั ิกิจกรรมเปนกลมุ และการสรางมนุษยสัมพันธ
การงานอาชีพฯ การใชค อมพิวเตอรในคน หาขอมูลทางอินเทอรเ น็ต และจากการชมสื่อโทรทัศน

8. กระบวนการจดั การเรยี นรู
ขนั้ ท่ี 1 ขนั้ นำเขาสูบทเรียน
1. นักเรยี นทำแบบทดสอบกอนเรยี นเพื่อประเมนิ ความรู
2. ครูสนทนาซักถามนักเรียนวาบทละครคืออะไร และมีองคป ระกอบอะไรบา ง แลว ให

นักเรียนชว ยตอบพรอมท้ังชว ยแสดงความคดิ เหน็ อยา งอสิ ระ
ข้นั ที่ 2 ข้นั สอน
1. ครนู ำเสนอเนื้อหาเร่อื ง บทละคร เก่ยี วกบั ความหมายของบทละคร และองคประกอบของ

บทละคร โดยการบรรยายและยกตัวอยางประกอบพรอมท้ังใหน ักเรยี นศึกษาขอมูลเพิ่มเติมจาก
หนงั สือเรยี น รายวิชาพื้นฐาน ดนตร–ี นาฏศิลป ม. 3 บรษิ ัท สำนกั พิมพวัฒนาพานิช จำกัด จากนน้ั ให
นักเรยี นแบง กลุม กลมุ ละ 5 คน พรอมแจกตวั อยา งบทละครเวที ใหแ ตล ะกลมุ ไปศกึ ษาองคประกอบ
ของบทละคร (ใหครูเลือกใชบทละครเรื่องที่ครูเหน็ วาเหมาะสม

2. ใหน กั เรียนเขียนสรปุ ลงในใบงานที่ 19 เรอื่ ง ความหมายและองคประกอบของบทื ละคร
และมใหแตล ะกลุมออกมาอธบิ ายถงึ องคป ระกอบของละครเวทีใหค รแู ละเพื่อน ๆ ฟง พรอมท้ัง
รว มกนั แสดงความคิดเหน็

3. ครใู หนักเรยี นแบงกลุม กลุมละ 6 คน ใหร ว มกันแตง บทละครข้นึ ใหม 1 เรื่องเกีย่ วกับการ
ทำความดีถวายในหลวง โดยใหนกั เรียนคิดโครงเรื่อง ตวั ละครและวางลักษณะนสิ ยั ของตัวละคร
ความคดิ หรือแกน ของเรอื่ ง และบทสนทนาขน้ึ ใหมล งในใบงานท่ี 20 เร่ือง บทละคร

4. ใหนกั เรยี นแตล ะกลุม นำบทละครที่แตละกลมุ ไดแตงข้ึนนำมาแสดงหนาชนั้ เรยี นใหครูและ
เพือ่ น ๆ ชม โดยใหก ลมุ ท่ไี มไดแสดงชวยกนั วิเคราะห วจิ ารณบทละครและการแสดงของเพอื่ น ๆ
สลบั กันไปเรอ่ื ย ๆ จนแสดงครบทกุ กลมุ

ข้ันที่ 3 ข้นั สรุป
นกั เรยี นรวมกันแสดงความคดิ เหน็ และอภปิ รายสรปุ เร่ือง บทละคร เปนความคิดของชน้ั เรยี น
โดยครูคอยใหความรเู สริมในสวนท่นี ักเรยี นไมเ ขา ใจหรอื สรุปไมตรงกบั เน้ือหา
ข้นั ท่ี 4 ฝก ฝนผเู รียน
1. นักเรยี นปฏิบัติ กจิ กรรม ความหมายของบทละคร โดยใหนกั เรยี นเขียนบรรยายสรปุ
ความหมายของบทละครมาตามความเขาใจ
2. นักเรียนปฏบิ ัติ กจิ กรรม องคป ระกอบของบทละคร โดยใหน ักเรยี นเขียนบทละครขึน้ มา
1 เรื่อง โดยใชองคป ระกอบของบทละครตามจนิ ตนาการและความคิดสรางสรรคข องนักเรยี น

ขนั้ ท่ี 5 การนำไปใช
นักเรยี นสามารถนำความรูเ รือ่ ง บทละครไปใชใ นการชมละคร หรอื เพ่ือพัฒนาทกั ษะดา น
นาฏศิลปแ ละสามารถอธิบายใหกบั ผูท สี่ นใจฟงได
9. กจิ กรรมเสนอแนะ
1. กจิ กรรมสำหรบั กลุมสนใจพเิ ศษ
นักเรียนแบง กลมุ กลุม ละ 8 คน รว มกนั เขียนบทละครขึ้นมา 1 เรอ่ื ง เกี่ยวกบั ยาเสพติดและ
นำมาแสดงละครในวันตอ ตา นยาเสพตดิ โลก ใหเ พื่อน ๆ ชมท่ีหอประชุมโรงเรียน
2. กิจกรรมสำหรบั ฝกทักษะเพม่ิ เตมิ
นักเรยี นศกึ ษาเร่อื งบทละครเพ่ิมเติมทางอนิ เทอรเ นต็ หรือสมั ภาษณผ เู ชย่ี วชาญ หรือผรู ใู น
ชุมชน แลว จดั ทำเปนรายงานสง ครู
10. ส่ือ/แหลงการเรียนรู
1. บทละครเวทเี ร่ือง ขางหลงั ภาพ
2. ใบงาน
3. สถานทีต่ า ง ๆ เชน โรงเรยี น
4. อนิ เทอรเ น็ต
5. ผูเชี่ยวชาญ หรอื ผูมีความรดู า นนาฏศลิ ปใ นชมุ ชน

แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 18
ละครกบั ชวี ติ

สาระที่ 3 นาฏศิลป ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 3

หนว ยการเรียนรทู ี่ 6 นาฏศลิ ปและการละครกบั ชีวิตประจำวนั เวลา 1 ช่ัวโมง

....................................................................................................................................................

1. หนว ยการเรยี นรทู ี่ 6 นาฏศิลปและการละครกบั ชีวิตประจำวนั

2. มาตรฐานการเรียนรู / ตัวช้ีวัดชนั้

นำเสนอแนวคิดจากเนือ้ เรอ่ื งของการแสดงท่ีสามารถนำไปปรบั ใชใ นชีวติ ประจำวนั

(ศ 3.1 ม. 3/7)

3. สาระสำคัญ

ละคร คือ การแสดงท่จี ำลองมาจากชวี ิตจริงของมนุษย เปนการนำเอาประสบการณต า ง ๆ

มาผนวกกับจินตนาการและการสรางสรรคอ อกมาเปนเรอ่ื งราวทีส่ ะทอ นภาพชีวิต มกี ารนำเสนอ

ออกมาในรปู แบบตาง ๆ เพอื่ สรางความบนั เทงิ และตอบสนองความตองการของมนุษยท ้งั 3 ดาน คือ

ดา นอารมณ ดา นสมอง และดานจิตใจ

4. สาระการเรยี นรู
  ละครกบั ชวี ิต

5. จุดประสงคก ารเรียนรู
1. อธิบายความหมายของละครกบั ชวี ิตได (K)
2. อธิบายความสัมพันธของละครกับชีวติ ได (K)
3. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมดว ยความสนุกสนานเพลิดเพลิน (A)
4. วเิ คราะหแ ละสรปุ ความหมายของละครกับชีวิตได (P)
5. วิเคราะหและสรุปความสัมพันธข องละครกับชวี ิตได (P)

6. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู

ดานความรู (K) ดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม และ ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

คานยิ ม (A)

1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความซอ่ื สัตยใ น 1. สงั เกตจากการวิเคราะห

แสดงความคดิ เห็น การปฏบิ ัติกจิ กรรม และสรปุ ความหมายของ

2. จากการตรวจการวัดและ 2. สงั เกตจากความมนี ้ำใจและ ละครกบั ชีวติ ไดถ ูกตอง

ประเมนิ ผลการเรียนรูประจำ ความเสยี สละในการปฏบิ ัติ 2. สงั เกตจากการปฏิบตั ิ

หนว ย กจิ กรรมรวมกบั ผูอนื่ กิจกรรมรายบคุ คลและ

3. จากการตรวจใบงาน 3. สังเกตจากการปฏบิ ัติ ปฏิบตั ิกิจกรรมรว มกบั

กจิ กรรมดวยความ ผอู ื่นไดอยางคลอ งแคลว

สนกุ สนานและเพลดิ เพลิน

4. สังเกตจากการยอมรับ

ความ

คดิ เหน็ ของผูอ่นื ขณะ

ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม

7. แนวทางบรู ณาการ
ภาษาไทย การพดู อธิบายความหมายของละครกับชวี ติ ความสัมพันธของละครกบั ชีวติ
วทิ ยาศาสตร การสงั เกตการดำเนนิ ชีวิตประจำวนั ของผคู น
สังคมศกึ ษาฯ การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเปน กลุมและการสรางมนุษยสัมพันธ
การงานอาชีพฯ การใชคอมพิวเตอรใ นคนหาขอมลู ทางอินเทอรเ นต็ และจากการชมสอ่ื โทรทศั น

8. กระบวนการจัดการเรยี นรู
ขั้นท่ี 1 ขนั้ นำเขา สูบ ทเรียน
ครใู หน ักเรียนชมวีดทิ ัศนก ารแสดงละครประเภทตา ง ๆ แลวถามนักเรียนวา การแสดงที่

นกั เรียนไดช มนนั้ มลี ักษณะการแสดงอยา งไร เกี่ยวของกับชีวิตปะจำวันหรอื ไม อยางไรโดยใหน กั เรยี น
แสดงความคดิ เหน็ และอภปิ รายตามความรู ความเขาใจ และประสบการณต นเอง

ข้ันท่ี 2 ขั้นสอน
1. ครอู ธิบายเนื้อหาเรื่อง ละครกับชวี ิต เกีย่ วกับความหมายของละครกบั ชวี ติ

ความสัมพนั ธระหวางละครกับชีวิต โดยการบรรยายและยกตวั อยางประกอบ พรอมทัง้ ใหนักเรียน
ศกึ ษาขอมูลเพ่ิมเติมจากหนังสือเรียน รายวชิ าพื้นฐาน ดนตร–ี นาฏศิลป ม. 3

2. ครใู หน ักเรยี นแบงกลมุ กลุมละ 4 คน ใหแ ตละกลุมไปศกึ ษาถึงความหมายและ
ความสัมพันธระหวา งละครกับชวี ติ

3. ใหน กั เรยี นเขียนสรุปลงในใบงานท่ี 21 เร่ือง ความหมายและความสัมพนั ธของละครกับ
ชวี ติ ใหแตละกลุมออกมาอธิบายถึงความหมายและความสมั พนั ธของละครกบั ชีวติ ใหค รแู ละเพื่อน ๆ
ฟง พรอมท้ังรว มกนั แสดงความคดิ เหน็

ขน้ั ท่ี 3 ขนั้ สรุป
นกั เรยี นรวมกันแสดงความคดิ เห็นและอภปิ รายสรุปเร่อื ง ละครกบั ชวี ติ เปน ความคิดของช้ัน
เรียน โดยครูคอยใหความรเู สรมิ ในสว นท่ีนักเรยี นไมเ ขา ใจหรือสรปุ ไมต รงกับเน้ือหา
ขั้นที่ 4 ฝกฝนผเู รยี น
1. นักเรยี นปฏบิ ัติ กจิ กรรม ความหมายของละครกบั ชีวิต โดยใหน ักเรียนเขียนบรรยายสรปุ
ความหมายของละครกบั ชีวติ ลงในใบงาน มาตามความเขา ใจ
2. นกั เรยี นปฏบิ ัติ กิจกรรม ความสัมพนั ธข องละครกบั ชีวิต โดยใหน ักเรียนเขียนบรรยาย
สรุปความสมั พนั ธของละครกับชีวิตลงในใบงาน มาตามความเขา ใจ
ข้นั ที่ 5 การนำไปใช
นักเรียนสามารถนำความรูเ รอ่ื ง ละครกับชีวิต ไปประยุกตในการเรยี นนาฏศิลปใ นระดับสูง
ตอ ไป

9. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสำหรบั กลุมสนใจพเิ ศษ
นักเรยี นแบงกลมุ กลมุ ละ 5 คน รว มกันจดั ทำปา ยนิเทศเผยแพรค วามรูเกี่ยวกบั ละครกบั ชีวติ
2. กิจกรรมสำหรบั ฝก ทักษะเพ่มิ เตมิ
นักเรียนศึกษาเรือ่ ง ละครกับชวี ิต เพม่ิ เตมิ ทางอินเทอรเ นต็ หรอื สมั ภาษณผูเชย่ี วชาญ หรอื

ผูรดู านนาฏศลิ ปในชมุ ชนแลว จัดทำเปน รายงานสง ครู
10. ส่ือ/แหลงการเรียนรู

1. สอ่ื วีดิทศั นก ารแสดงละครประเภทตา ง ๆ
2. ใบงาน
3. สถานทตี่ าง ๆ สถานท่ีจัดการแสดงวฒั นธรรมทอ งถิ่น มหาวทิ ยาลยั ทเี่ ปด สอนดา น
นาฏศลิ ปแ ละการละคร เปน ตน
4. อนิ เทอรเน็ต
5. ผูเชีย่ วชาญ หรือผมู ีความรดู านนาฏศิลปในชุมชน
6. หนังสอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป ช้ัน ม. 3
7. แบบฝก ทกั ษะรายวิชาพืน้ ฐาน ดนตร–ี นาฏศิลป ชั้น ม. 3

แผนการจดั การเรียนรูที่ 19
ความสำคัญและบทบาทของนาฏศลิ ปแ ละการละครในชวี ติ ประจำวนั

สาระที่ 3 นาฏศลิ ป ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 3

หนว ยการเรยี นรูท ่ี 6 นาฏศลิ ปแ ละการละครกับชีวิตประจำวนั เวลา 1 ชว่ั โมง

...................................................................................................................................................

1. หนวยการเรียนรทู ี่ 6 นาฏศิลปแ ละการละครกับชีวติ ประจำวนั

2. มาตรฐานการเรยี นรู / ตวั ช้วี ัดชน้ั

อธิบายความสำคัญและบทบาทของนาฏศิลปและการละครในชีวติ ประจำวัน (ศ 3.2 ม. 3/2)

3. สาระสำคัญ

นาฏศลิ ปแ ละการละครมคี วามสำคญั กบั การดำเนนิ ชวี ิตของมนุษยต ้งั แตเกดิ จนตาย มี

ความสำคญั ในการแสดงถงึ ความเปน อารยประเทศ และยงั เปนแหลงรวบรวมศลิ ปะแขนงตาง ๆ

ซ่ึงบทบาทของนาฏศิลปและการละครยังมคี วามสัมพันธกับชวี ิตประจำวนั ไดแก การเลานิทาน

การเลยี นแบบ กจิ กรรมเพื่อความบนั เทงิ เปน ตน

4. สาระการเรยี นรู

 ความสำคญั และบทบาทของนาฏศิลปแ ละการละครในชีวติ ประจำวัน

5. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู

1. อธิบายความสำคญั ของนาฏศลิ ปแ ละการละครในชีวติ ประจำวนั ได (K)

2. อธิบายบทบาทของนาฏศิลปแ ละการละครในชีวติ ประจำวันได (K)

3. ปฏิบัติกิจกรรมดวยความสนกุ สนานเพลิดเพลิน (A)

4. วเิ คราะหและสรปุ ความสำคญั ของนาฏศลิ ปแ ละการละครได (P)

5. วเิ คราะหแ ละสรุปบทบาทของนาฏศิลปและการละครได (P)

6. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู

ดา นความรู (K) ดานคณุ ธรรม จริยธรรม และ ดานทกั ษะ/กระบวนการ (P)

คา นิยม (A)

1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความซอ่ื สตั ยใน 1. สังเกตจากความสามารถใน

แสดงความคดิ เห็น การปฏิบัตกิ จิ กรรม การวเิ คราะหและสรุป

2. จากการตรวจการวดั และ 2. สังเกตจากความมนี ้ำใจและ ความสำคญั และบทบาท

ประเมนิ ผลการเรียนรูป ระจำ ความเสียสละในการปฏบิ ัติ ของนาฏศิลปและการละครใน

หนว ย กิจกรรมรว มกบั ผูอน่ื ชีวิตประจำวันไดถกู ตอง

3. จากการตรวจใบงาน 3. สงั เกตจากการปฏิบตั ิ 2. สงั เกตจากการปฏิบัติตาม

กจิ กรรมดว ยความ กจิ กรรมไดถูกตองตาม

สนุกสนานและเพลิดเพลิน ขน้ั ตอน

4. สงั เกตจากการยอมรบั 3. สังเกตจากการปฏิบัติ

ความ กจิ กรรมรายบคุ คลและ

คิดเห็นของผูอนื่ ขณะ ปฏิบตั กิ ิจกรรมรว มกบั

ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ผอู ื่นไดอ ยางคลอ งแคลว

7. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การพูดอธบิ ายอิทธิพลความสำคญั และบทบาทของนาฏศิลปแ ละการละครใน

ชวี ิตประจำวัน
สงั คมศึกษาฯ การปฏบิ ตั ิกิจกรรมเปนกลุมและการสรา งมนุษยสมั พันธ
การงานอาชีพฯ การใชค อมพิวเตอรใ นคน หาขอมูลทางอินเทอรเนต็ และจากการชมส่ือโทรทัศน

8. กระบวนการจัดการเรียนรู
ขั้นที่ 1 ข้ันนำเขาสูบทเรียน
ครูทบทวนความรูเ ดมิ เม่ือครั้งทแี่ ลว จากน้นั ใหน ักเรยี นแสดงความคดิ เห็นอยางอิสระวา

ความสำคญั และบทบาทของนาฏศิลปแ ละการละครในชวี ิตหมายถึงอะไร มบี ทบาทและความสำคญั
อยา งไร

ข้นั ท่ี 2 ขน้ั สอน
1. ครอู ธบิ ายเนื้อหาเรอื่ ง ความสำคัญและบทบาทของนาฏศลิ ปและการละครใน

ชวี ิตประจำวัน เก่ียวกับความความสำคญั และบทบาทของนาฏศลิ ปและการละครในชีวิตประจำวนั
โดยการบรรยายและยกตัวอยางประกอบพรอ มทัง้ ใหนักเรียนศึกษาขอ มลู เพิ่มเติมจากหนังสือเรยี น
รายวชิ าพ้ืนฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป ม. 3 บริษัท สำนกั พิมพวัฒนาพานิช จำกัด

2. ครใู หน ักเรียนแบง กลมุ กลุมละ 6 คน ใหแตละกลุมไปศกึ ษาถึงความสำคัญและบทบาท
ของนาฏศลิ ปในชีวติ ประจำวนั แลว วเิ คราะหความสำคญั และบทบาทของนาฏศลิ ปและการละครใน
ชวี ติ ประจำวัน

3. ใหนกั เรียนเขยี นสรุปลงในใบงานที่ 22 เร่อื ง ความสำคัญและบทบาทของนาฏศลิ ปแ ละ
การละครในชีวิตประจำวัน แลว ใหแ ตละกลมุ ออกมาอธิบายถงึ ความสำคัญและบทบาทของนาฏศิลป
และการละครในชีวิตประจำวันใหค รแู ละเพื่อน ๆ ฟง พรอ มทัง้ รวมกนั แสดงความคิดเห็น

ขั้นที่ 3 ขน้ั สรุป
นักเรียนรว มกนั แสดงความคดิ เหน็ และอภปิ รายสรุปเรอ่ื ง ความสำคัญและบทบาทของ
นาฏศิลปและการละครในชีวิตประจำวนั เปนความคิดของช้นั เรียน โดยครูคอยใหค วามรูเสริมในสวน
ทน่ี ักเรยี นไมเขา ใจหรือสรุปไมตรงกบั เนื้อหา
ขน้ั ท่ี 4 ฝกฝนผเู รยี น
1. นักเรียนปฏิบัติ กิจกรรม ความสำคัญและบทบาทของนาฏศลิ ปแ ละการละครใน
ชวี ติ ประจำวัน โดยใหน กั เรียนเขยี นบรรยายสรปุ ลงในใบงาน มาตามความเขา ใจ
2. ใหน ักเรยี นฝกฝนเพม่ิ เตมิ โดยใชกจิ กรรมท่ี 42 และกิจกรรมท่ี 43 ใบแบบฝกทักษะ
รายวิชาพนื้ ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป ม. 3
ขน้ั ที่ 5 การนำไปใช
นักเรยี นสามารถนำความรเู ร่อื ง ความสำคญั และบทบาทของนาฏศลิ ปและการละครใน
ชีวติ ประจำวนั ไปประยุกตใชใ นการเรยี นนาฏศิลปในระดบั สูงตอไป

9. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กจิ กรรมสำหรบั กลุมสนใจพเิ ศษ
นกั เรยี นแบงกลมุ กลุม ละ 5 คน รวมกนั จดั ทำปายนเิ ทศเผยแพรความรูเกย่ี วกับความสำคญั

และบทบาทของนาฏศิลปแ ละการละครในชีวิตประจำวนั
2. กจิ กรรมสำหรับฝก ทักษะเพม่ิ เตมิ
นกั เรียนศกึ ษาความสำคญั และบทบาทของนาฏศลิ ปแ ละการละครในชีวติ ประจำวัน เพ่ิมเตมิ

ทางอินเทอรเ นต็ หรือสมั ภาษณผูเชี่ยวชาญ หรือผูร ูดา นนาฏศลิ ปใ นชมุ ชน แลวจดั ทำเปนรายงานสง
ครู
10. สื่อ/แหลงการเรยี นรู

1. ใบงาน
2. หองสมุด
3. สถานที่ตาง ๆ เชน โรงละคร สถานท่ีจัดการแสดงวัฒนธรรมทองถิ่น มหาวิทยาลยั ท่เี ปด
สอนดา นนาฏศิลปแ ละการละคร เปนตน
4. อินเทอรเนต็
5. ผเู ชยี่ วชาญ หรือผูมีความรูดา นนาฏศิลปในชมุ ชน
6. หนังสือเรยี น รายวชิ าพืน้ ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป ชัน้ ม. 3

แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 20

การอนุรักษน าฏศลิ ปแ ละการละคร

สาระที่ 3 นาฏศิลป ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3

หนว ยการเรียนรูที่ 6 นาฏศลิ ปแ ละการละครกบั ชวี ติ ประจำวนั เวลา 1 ช่ัวโมง

……………………………………………………………………………………………………………………………………….

1. หนวยการเรยี นรทู ี่ 6 นาฏศิลปแ ละการละครกับชีวิตประจำวัน

2. มาตรฐานการเรียนรู / ตัวช้ีวดั

แสดงความคิดเห็นในการอนรุ กั ษ (ศ 3.2 ม. 3/3)

3. สาระสำคญั

การอนุรกั ษน าฏศลิ ปและการละครนัน้ ถือวา เปน หนาท่ีของคนไทยทกุ คนทีจ่ ะตอ งตระหนักถงึ

คุณคา ของนาฏศลิ ปทบี่ รรพบุรษุ ไดส รา งสรรคข้ึนมาตงั้ แตอดีตจนถึงปจ จบุ ัน

4. สาระการเรยี นรู

 การอนุรักษนาฏศลิ ป

5. จุดประสงคก ารเรียนรู

1. อธบิ ายการอนรุ ักษนาฏศิลปแ ละการละครได (K)

2. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมดวยความสนกุ สนานเพลิดเพลิน (A)

3. วเิ คราะหแ ละสรุปความหมายของการอนุรักษน าฏศลิ ปและการละครได (P)

4. แสดงความคดิ เหน็ ในการอนรุ กั ษนาฏศิลปแ ละการละครได (P)

6. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู

ดา นความรู (K) ดานคณุ ธรรม จริยธรรม และ ดา นทักษะ/กระบวนการ (P)

คา นิยม (A)

1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากการปฏบิ ัติ 1. สงั เกตจากการแสดงความ

แสดงความคิดเหน็ กจิ กรรมดวยความ คดิ เห็นในการอนุรักษ

2. จากการตรวจการวัดและ สนุกสนานและเพลดิ เพลิน นาฏศลิ ปแ ละการละครได

ประเมินผลการเรียนรปู ระจำ 2. สังเกตจากการยอมรับ อยา งสรา งสรรค

หนว ย ความ 2. สงั เกตจากการปฏิบตั ิ

3. จากการตรวจแบบทดสอบ คิดเหน็ ของผูอืน่ ขณะปฏบิ ัติ กจิ กรรมรายบุคคลและ

หลังเรียน กิจกรรม ปฏิบตั ิกจิ กรรมรว มกับ

4. จากการตรวจใบงาน 3. ประเมนิ พฤติกรรมตาม ผอู น่ื ไดอยางคลอ งแคลว

แบบ 3. ประเมินพฤตกิ รรมตามแบบ

การประเมินผลดาน การประเมินผลดานทักษะ/

คุณธรรม จริยธรรม และ กระบวนการ

คา นยิ ม

7. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การพดู ถึงการอนรุ ักษนาฏศลิ ปไ ทย
สังคมศกึ ษาฯ การปฏิบตั ิกิจกรรมเปนกลุมและการสรางมนุษยสัมพนั ธ
การงานอาชีพฯ การใชค อมพิวเตอรใ นคน หาขอมลู ทางอนิ เทอรเน็ต และจากการชมส่ือโทรทัศน

8. กระบวนการจดั การเรียนรู
ข้นั ท่ี 1 ขั้นนำเขา สูบ ทเรียน
ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นอยา งอสิ ระวา แนวทางในการอนรุ ักษน าฏศิลปและการละคร

ควรทำอยา งไรรวมถึงทำอยา งไรใหค นไทยเห็นคุณคา ของการอนรุ กั ษนาฏศลิ ปและการละคร
ขั้นที่ 2 ข้นั สอน
1. ครูอธิบายเนื้อหาเรื่อง การอนุรกั ษน าฏศิลปแ ละการละคร เก่ียวกบั คุณคา ของการอนุรกั ษ

นาฏศลิ ปและการละครพรอ มทง้ั ใหน กั เรียนศกึ ษาขอมูลเพิ่มเติมจากหนังสือเรียน รายวชิ าพื้นฐาน
ดนตรี–นาฏศลิ ป ม. 3 บรษิ ทั สำนักพมิ พว ัฒนาพานิช จำกัด

2. ครใู หนักเรียนแตล ะคนเขียนสรุปลงในใบงานที่ 23 เรื่อง การอนุรกั ษนาฏศลิ ปแ ละการ
ละคร เกีย่ วกับคุณคา ของการอนุรกั ษน าฏศิลปและการละคร ตามความคดิ ของนกั เรยี น

3. ครใู หนกั เรียนออกมาพูดหนาชั้นเรียนทลี ะคน เก่ยี วกับคณุ คาของการอนรุ กั ษนาฏศิลป
และการละครทน่ี ักเรยี นไดเ ขียนสรุปลงในใบงาน

4. นกั เรียนนำใบงานมาสง ครู แลว รว มกนั แสดงความคดิ เห็นเพิ่มเติม โดยครใู หค วามรูเสรมิ ใน
สวนทน่ี ักเรยี นสงสัยหรอื ไมเขาใจ

ขน้ั ที่ 3 ขั้นสรุป
นักเรยี นรวมกนั แสดงความคดิ เห็นและอภิปรายสรุปเร่อื ง การอนุรักษน าฏศลิ ปไ ทย
เปน ความคดิ ของชัน้ เรยี น โดยครคู อยใหความรเู สริมในสวนทน่ี กั เรียนไมเขา ใจหรอื สรปุ ไมตรงกบั
เนอ้ื หา
ขั้นที่ 4 ฝกฝนผเู รียน
1. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม การอนรุ กั ษน าฏศลิ ปแ ละการละคร โดยใหนักเรียนอธบิ ายและ
แสดงความคิดเห็นถงึ คุณคา ของการอนรุ กั ษน าฏศลิ ปแ ละการละคร โดยเขยี นสรุปลงในใบงานมาตาม
ความเขา ใจ
2. ใหนกั เรียนทำแบบทดสอบหลังเรยี น
3. ใหน กั เรียนทำโครงงานตามความสนใจ หรือโครงการในกิจกรรมท่ี 44 ใบแบบฝกทักษะ
รายวชิ าพืน้ ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป ม. 3 บรษิ ัท สำนักพิมพว ัฒนาพานิช จำกัด
ข้นั ที่ 5 การนำไปใช
1. นักเรยี นสามารถนำความรเู รอ่ื ง การอนุรักษนาฏศลิ ปไ ทย ไปประยกุ ตใชในการเรียน
นาฏศลิ ปในระดบั สงู ตอ ไป
2. ใหน กั เรยี นนำความรจู ากการเรียนไปปลูกฝง ใหคนในชมุ ชนเหน็ คณุ คาของการอนรุ ักษ
นาฏศิลปแ ละการละคร

9. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสำหรับกลุมสนใจพเิ ศษ
อธบิ ายประโยชนข องการอนรุ ักษน าฏศิลปและการละคร แลว ชว ยกันจดั บอรดความรู
2. กิจกรรมสำหรับฝก ทักษะผเู รยี น
นกั เรียนศึกษาประโยชนของการอนรุ กั ษน าฏศิลปแ ละการละคร เพิ่มเตมิ ทางอนิ เทอรเ น็ต

หรือสมั ภาษณผูเช่ียวชาญ หรือผูรูดา นนาฏศลิ ปในชมุ ชน แลวจดั ทำเปน รายงานสง ครู
9. ส่อื /แหลงการเรียนรู

1. ใบงาน
2. หองสมุด
3. สถานทจี่ ดั การแสดงวฒั นธรรมทองถ่ิน มหาวทิ ยาลยั ท่ีเปดสอนดา นนาฏศิลปและการ
ละคร เปนตน
4. อินเทอรเ นต็
5. ผูเชย่ี วชาญ หรอื ผมู คี วามรูด า นนาฏศิลปใ นชุมชน
6. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพ้ืนฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป ชนั้ ม. 3


Click to View FlipBook Version