The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือและแผนเผชิญเหตุรองรับสถานศึกษา ปาก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-11-10 13:46:54

คู่มือและแผนเผชิญเหตุรองรับสถานศึกษา ปาก

คู่มือและแผนเผชิญเหตุรองรับสถานศึกษา ปาก

นำ

คำนำ

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศไทย
ได้ขยายขอบเขตการแพร่ของโรคออกไปในวงกว้างกระจายไปในหลายพ้ืนที่ การตรวจพบผู้ป่วยยืนยัน
ติดเช้ือรายใหม่ โดยเฉพาะกรณีท่ีเป็นการติดเชื้อภายในประเทศมีจานโวรงนเรเพีย่ิมนสปูงาขก้ึนแพในรกแวติท่ลยะาวคันมประกอบ
กับมีการเดินทางของบุคคลจากเขตพ้ืนท่ีสถานการณ์ที่กาหนดให้เป็นเขตพ้ืนที่ควบคุมสูงสุด ซ่ึงส่วนใหญ่
ยังไม่ปรากฏอาการของโรค เป็นเหตุให้เชื้อโรคแพร่ออกไปในลักษณะเป็นกลุ่มก้อน ผู้ติดเช้ือโรคบางส่วน
ปกปดิ ข้อมูลการเดินทางทาให้ขัน้ ตอนการสอบสวนโรคเกิดความล่าชา้ และเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงาน
อ่ืนที่เกี่ยวข้องจนส่งผลให้เกิดการระบาดขยายเป็นวงกว้าง รัฐบาลและหน่วยงานที่เก่ียวข้องโดยศูนย์
บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ (COVID- 19) จึงได้กาหนด
นโยบายและแนวปฏิบัติเพ่ือความปลอดภัยให้กับประชาชนทั้งประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและจังหวัดสุราษฎร์ธานี จึงได้ขยายผลการดาเนินงานตามนโยบาย
และแนวปฏบิ ตั ดิ งั กล่าว เพ่อื ขับเคลอ่ื นการศึกษาไทยให้กา้ วตอ่ ไปในภาวะฉุกเฉินน้ี

โรงเรียนปากแพรกวิทยาคม มีความห่วงใยผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษาและ
นักเรยี นทกุ คน จงึ ได้จัดทา "คู่มอื แผนเผชญิ เหตแุ ละการเฝ้าระวังติดตาม แนวทางการปฏิบัติ เพ่ือรับมือกับ
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ ปีการศึกษา 2564" โดยทาง
โรงเรียนหวังเป็นอย่างย่ิงว่าผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนทุกคน จะได้
นาไปใช้ประกอบและเป็นแนวปฏิบัติที่ทันต่อเหตุการณ์ อันจะส่งผลให้นักเรียน บุคลากรทางการศึกษาและ
ผเู้ ก่ยี วขอ้ งปลอดภัยไม่เส่ียงและสามารถดาเนนิ ชวี ติ อย่างปกตสิ ุขตามแนวชีวิตวถิ ใี หม่ (New Normal)

โรงเรียนปากแพรกวิทยาคม



สำรบญั

เรือ่ ง หน้า

คานา ข
1
สารบญั 10
22
บทท่ี 1 ขอ้ มลู พน้ื ฐานของสถานศึกษา 22
บทที่ 2 บทนา 24
27
บทท่ี 3 แผนเผชิญเหตรุ องรับสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019
 แนวปฏบิ ัตแิ ผนเผชิญเหตรุ องรับสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา 31
 แนวปฏบิ ัตสิ าหรบั โรงเรยี นปากแพรกวิทยาคม โดยจัดรปู แบบการเรยี นการสอนออนไลน์ 100% 33
 แนวปฏิบัตสิ าหรับโรงเรยี นปากแพรกวิทยาคม ในการเปดิ ภาคเรยี นให้นักเรียนมาเรียนในหอ้ งเรยี น 35
หรอื On site 100 %
 แนวปฏิบัตสิ าหรบั กรณเี กดิ การระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา2019 ในโรงเรยี นปากแพรกวิทยาคม 52
 แนวปฏบิ ัติสาหรบั มาตรการการรบั ประทานอาหารทีโ่ รงอาหาร
55
บทที่ 4 แนวปฏบิ ตั สิ าหรบั สถานศกึ ษา ในสังกัดสานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาสรุ าษฎร์ธานี ชุมพร 57

กรณสี งสยั ว่านักเรียนหรอื บคุ ลาการมีภาวะเสยี่ งการติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019

บทท่ี 5 การสรา้ งความร่วมมอื จากทุกภาคส่วน การสนับสนนุ หนว่ ยรับผดิ ชอบ

ภาคผนวก
ภาคผนวก ก หนว่ ยงานท่ีตดิ ตอ่ ฉุกเฉนิ ช่วงสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชื้อ COVID–19

ภาคผนวก ข คาส่งั / ประกาศ / หนังสือราชการทเ่ี กี่ยวขอ้ ง



โรงเรียนปากแพรกวิทยาคม ตั้งอยู่เลขที่ 231 หมู่ท่ี 1 ถนนสุราษฎร์ธานี-นครศรีธรรมราช ตาบลปากแพรก
อาเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี รหัสไปรษณีย์ 84340 โทรศัพท์ 077-259333 โทรสาร 077-259333
e-mail : [email protected]

สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร สานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐานเปิดสอน ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ถึงระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 เน้ือที่ 35 ไร่ ซ่ึงเป็นท่ีดินป่า
สงวนไชยคราม-ประดู่ กรมปา่ ไม้อนุมัติให้เข้าใช้ประโยชน์ ตามประกาศกรมป่าไม้ ฉบับที่ 161/2533 ประกาศ
ณ วนั ท่ี 26 ตุลาคม 2533

สนี า้ เงนิ ตราโรงเรยี นปากแพรกวทิ ยาคม
สปี ระจาโรงเรยี น น้าเงนิ – ชมพู
หมายถึง ความสามคั คี

สีชมพู หมายถงึ ความรัก

คาขวญั ประจาโรงเรียน
“ใฝเ่ รยี น ใฝร่ ู้ อย่อู ย่างมคี วามสุข สนกุ กบั การทางาน”

ประวัตโิ รงเรียนโดยสงั เขป

โรงเรียนปากแพรกวิทยาคม เป็นโรงเรียนที่เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ตง้ั อยูร่ ิมถนนหลวงสาย 401 สายสรุ าษฎร์ธานี-นครศรีธรรมราช หลักกิโลเมตรท่ี

1

55 เลขท่ี 231 หมทู่ 1ี่ ตาบลปากแพรก อาเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84340 มีพ้ืนที่ 35 ไร่ ซ่ึงเป็นที่ดิน
ป่าสงวนไชยคราม-ประดู่ กรมป่าไม้อนุมัติให้เข้าใช้ประโยชน์ ตามประกาศกรมป่าไม้ ฉบับที่ 161/2533
ประกาศ ณ วันท่ี 26 ตลุ าคม 2533

โรงเรียนได้เปิดทาการสอนครั้งแรกตั้งแต่ปีการศึกษา 2531 โดยเป็นหน่วยการเรียน (สาขา) ของ
โรงเรยี นดอนสักผดุงวทิ ยไ์ ด้เปิดรบั นักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวนรบั ได้ 46 คน ซึ่งได้รับความอนุเคราะห์
จากสภาตาบลปากแพรก ได้ต่อเติมใต้ถุนอาคารของโรงเรียนองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ 9 เป็นห้องเรียน
ช่ัวคราว งบประมาณ 30,000 บาท

ปีการศกึ ษา 2532 สภาตาปากแพรกได้จัดสร้างอาคารช่ัวคราวจานวน 1 หลังจานวน 4 ห้อง เป็นเงิน
50,000 บาท บนทด่ี นิ ของโรงเรียน (สนามฟตุ บอลในปจั จุบนั )

ปีการศึกษา 2533 กระทรวงศึกษาธิการได้จัดตั้งเป็นโรงเรียนปากแพรกวิทยาคม ประกาศ ณ วันท่ี
15 สิงหาคม 2533 ให้ นายทนุ นติ ยน์ รา อาจารยใ์ หญ่โรงเรียนดอนสักผดุงวิทย์ ปฏิบัติหน้าท่ีผู้บริหารโรงเรียน
ปากแพรกวทิ ยาคมอีกตาแหนง่ หน่ึง

วันที่ 23 ตุลาคม 2533 กรมสามัญศึกษา ได้ออกคาส่ัง 3656/2533 ให้ นายชัยวัฒน์ แก้วบัวทอง
ผชู้ ่วยอาจารยใ์ หญ่โรงเรียนดอนสักผดงุ วิทย์ มาดารงตาแหน่งผบู้ ริหารโรงเรยี นเมื่อวนั ที่ 27 มนี าคม 2534

ปีการศึกษา 2540 กระทรวงศึกษาธิการอนุมัติให้เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายตามคาสั่งกรม
สามญั ศกึ ษาท่ี 368/2540 ลงวันที่ 29 มกราคม 2540

ปกี ารศกึ ษา 2542 โรงเรียนได้รับรางวลั หอ้ งสมดุ ดีเดน่ จากสมาคมหอ้ งสมุดแห่งประเทศไทย
วันท่ี 2 กมุ ภาพันธ์ 2544 นายพรชัย ปลอดจินดา ผู้อานวยการโรงเรียนตะกุกใต้ศึกษาได้รับแต่งตั้งให้
มาดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรยี นปากแพรกวทิ ยาคม
ปีการศึกษา 2549 นายสาราญ เผือกคง ผู้อานวยการโรงเรียนชัยบุรีพิทยา ได้รับการแต่งต้ังให้มา
ดารงตาแหน่งผูอ้ านวยการโรงเรียนปากแพรกวิทยาคม
วนั ที่ 17 ธนั วาคม 2555 นายประยงค์ อินนุพัฒน์ ผู้อานวยการโรงเรียนวัดนอก ได้รับแต่งตั้งให้มา
ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรยี นปากแพรกวทิ ยาคม
วันท่ี 3 พฤศจิกายน 2557 นางสาวอัจฉรา ช่วยนุ่ม ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านห้วยด่าน ได้รับแต่งตั้ง
ให้มาดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรียนปากแพรกวทิ ยาคม
วนั ท่ี 16 ธนั วาคม 2562 นางสาวดาหริ จนั ทชูโต รองผู้อานวยการโรงเรียนสรุ าษฎรธ์ านี 2 ได้รับ
แตง่ ตัง้ ใหม้ าดารงตาแหน่งผูอ้ านวยการโรงเรยี นปากแพรกวทิ ยาคม

วนั ท่ี 1 ตุลาคม 2564 นายณฐกรณ์ ดาชะอม ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านบ่อผุด ได้รับการแต่งต้ังให้มา
ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรยี นปากแพรกวทิ ยาคม

วิสัยทศั น์ (Vision)
(Vision)

นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล ครเู ปน็ มืออาชีพ รกั ษ์สงิ่ แวดลอ้ ม บรหิ ารจัดการตามหลกั
หลักธรรมมาภบิ าลภายใตค้ วามพอเพยี ง

2

พันธกิจ (Mission)
(Vision)
1. การศึกษาใหผ้ ู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพนื้ ฐานและมาตรฐานสากล
2. ส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
3. พฒั นาครแู ละบุคลากรให้เป็นมืออาชพี
4. พัฒนาภูมทิ ัศนข์ องสถานศึกษาใหเ้ ปน็ แหล่งเรียนรู้
5. พฒั นาระบบการบริหารจดั การศึกษาตามหลกั ธรรมาภิบาล
6. ส่งเสริมการจดั การศกึ ษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
7. สง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

กลยุทธ์โรงเรียน

กลยุทธท์ ่ี 1 พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียนใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา
กลยุทธท์ ี่ 2 พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาทง้ั ระบบ ให้สามารถจดั การเรียนการสอนไดอ้ ยา่ งมี
คุณภาพ
กลยุทธท์ ี่ 3 พฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษาให้สอดคลอ้ งกับทักษะในศตวรรษท่ี 21
กลยทุ ธ์ท่ี 4 ปลกู ฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม ความสานึกในความเป็นไทยและดาเนินชีวติ ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
กลยทุ ธ์ท่ี 5 พฒั นาภูมิทัศน์ของสถานศกึ ษาเพ่ือเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้
กลยุทธ์ท่ี 6 ส่งเสริมการใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อการเรียนรู้ท่ี
หลากหลาย
กลยุทธ์ที่ 7 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมมาภิบาลเน้นการมีส่วนร่วม
จากทุกภาคส่วน

เปา้ ประสงค์ (Goal)

1. ผู้เรยี นมีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานและมาตรฐานสากล
2. ครูและบุคลากรทางการศึกษามคี วามเป็นมืออาชีพ
3. สถานศกึ ษาพัฒนาผูเ้ รียนให้มที กั ษะศตวรรษที่ 21
4. ผูเ้ รียน ครูและบคุ ลากรปฏิบัตติ ามหลกั ธรรมและค่านยิ ม 12 ประการ
5. ผู้เรยี น ครูและบคุ ลากรนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกต์ใชใ้ นการดาเนินชีวิต
6. สถานศึกษามีภูมทิ ัศน์ร่มรื่น สะอาด ปลอดภัยและเป็นแหล่งเรยี นรู้
7. บริหารจัดการศกึ ษาให้สอดคล้องกบั หลักธรรมาภบิ าล

3

อตั ลักษณข์ องผู้เรยี น
“คณุ ธรรมนาความรู้ อยู่อย่างพอเพียง”

เอกลกั ษณ์ของโรงเรียน
“”บรรยากาศนา่ อยู่ เรียนรู้หลากหลาย สวนปา่ มากมาย พรรณไมม้ ากม”ี
แผนที่โรงเรยี นปากแพรกวทิ ยาคม

ระบบโครงสรา้ งการบรหิ าร

4

ข้อมูลบุคลากรสถานศกึ ษา

คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ปกี ารศกึ ษา 2564

ที่ ชื่อ-สกลุ ตาแหนง่ ท่อี ย/ู่ เบอร์โทรศพั ท์
089-8734060
1 นายปราโมทย์ เพชรรตั น์ ประธานกรรมการ 087-2706295
0896506018
2 นางกิ้มสว้ น รอดแก้ว กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 081-0879694
099-3598953
3 นายสมปอง ชดู วง กรรมการผู้แทนองคก์ ารปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ 081-5855761
089-5883816
4 นางสาวเทวี โชตมิ ณี กรรมการผู้แทนองคก์ รชุมชน 081-9310991
081-1371455
5 พระอธกิ ารสมเจษฐ โกวิโท กรรมการผแู้ ทนพระภิกษสุ งฆ์

6 นายมนตรี อยมู่ ัน่ ธรรมา(เสยี ชีวติ ) กรรมการผู้แทนผ้ปู กครอง

7 นายกระทรวง เกิดกนั กรรมการผ้แู ทนศิษย์เกา่

8 นางจไุ รวรรณ เอ่ียมโคก กรรมการผแู้ ทนครู

9 นายณฐกรณ์ ดาชะอม กรรมการและเลขานุการ

จานวนบคุ ลากร ณ วันท่ี 1 ตุลาคม 2564

บุคลากร ผบู้ รหิ าร ข้าราชการครู พนกั งาน ครูอัตราจา้ ง เจา้ หนา้ ทอ่ี ื่นๆ รวม
ราชการ ทัง้ หมด

จานวน 1 17 1 5 3 27

จานวนนักเรยี น ณ วนั ท่ี 25 มถิ นุ ายน 2564

ตารางขอ้ มูลนกั เรียน (ณ วันที่ 25 มิถุนายน 2564)
จานวนนักเรยี นในโรงเรียนทง้ั สิ้น 285 คน จาแนกตามระดับชนั้ และเพศ

ระดับชน้ั ชาย หญิง รวมท้ังหมด
ม.1 24 31 55
ม.2 32 30 62
ม.3 18 28 46
ม.4 14 34 47
ม.5 16 26 42
ม.6 12 21 33
รวม 115 170 285

5

ข้อมูลลักษณะชุมชน

1) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลกั ษณะ เป็นชุมชนขนาดเล็ก มีประชากรประมาณ 12,499 คน
บรเิ วณใกล้เคยี งโดยรอบโรงเรยี น ไดแ้ ก่ สถานอี นามยั บ้านใน วดั เวฬวุ ัน สวนป่ากาญจนดิษฐ์ โรงเรียนองค์การ
อุตสาหกรรมป่าไม้ 9 อาชีพหลักของชุมชน คือ ทาสวนยางพารา สวนปาล์มน้ามัน และสวนผลไม้ เน่ืองจาก
ภูมิประเทศเป็นท่ีราบเชิงเขา ประเพณี/ ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นท่ีรู้จักโดยท่ัวไป คือ วันสารทไทย
(ส่งตา – ยาย) วนั สงกรานต์

2) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับประถมศึกษา อาชีพหลักคือ ทาสวนยางพารา สวนปาล์ม
น้ามันร้อยละ 90ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 99 ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลี่ยต่อปี 70,000
บาท

3) โอกาสและข้อจากดั ของโรงเรียนอยู่ใกล้แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น สวนป่ากาญจนดิษฐ์ ศูนย์วิจัยพันธุ์
ข้าวสุราษฎร์ธานี ศูนยว์ ิจยั พชื สวนสุราษฎร์ธานี สถานีอนามยั บ้านใน วัดเวฬุวัน โรงเรียนได้รับการสนับสนุนใน
ด้านต่าง ๆ เปน็ อย่างดี

ข้อมูลดา้ นอาคารสถานที่ แหล่งเรยี นรู้ ประเภท

1. อาคารเรยี นแลแะลอะากคาารรปใระชก้ อบ จานวน 13 หลัง ไดแ้ ก่
1) อาคารเรยี น จานวน 8 หลัง
2) อาคารเอนกประสงค์ จานวน 5 หลัง

5.2 จานวนหอ้ งเรยี นทัง้ หมด 12 ห้องเรยี น
5.3 ห้องสมุด มหี นังสือทั้งหมด 11,589 เลม่ จาแนกเปน็ 11
5.4 คอมพวิ เตอร์ จานวน 52 เครื่อง

ใชเ้ พอ่ื การบริหารจดั การ 11 เครือ่ ง
ใชเ้ พอ่ื การเรยี นการสอน 41 เครอื่ ง
ใช้เพอื่ สืบคน้ ข้อมลู ทางอินเทอรเ์ น็ต - เครอื่ ง

แหลง่ เรียนรใู้ นโรงเรยี น

ท่ี หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร จานวน
1. ห้องปฏิบตั ิการวทิ ยาศาสตร์ 3
2. หอ้ งปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร์ 2
3. หอ้ งปฏิบัตกิ ารทางภาษา 1
4. ห้องสมุด 1
5. ห้องศลิ ปะ 1

6

6. ห้องคหกรรม 1
7. ห้องโสตทศั นศึกษา 1
8. หอ้ งดนตรี 1
9. หอ้ งปฏิบตั ิการช่างอตุ สาหกรรมศิลป์ 1
10. หอ้ งประชาสัมพนั ธ์ -
11. หอ้ งแนะแนว -
12. เรอื นพยาบาล 1
13. หอ้ งประวตั ิศาสตร์ 1
14. หอ้ งอาเชี่ยน 1
15. หอ้ งเรยี นร่วม 1
16. ห้องทบู นี ัมเบอรว์ ัน 1
17. ห้องปฎิบัตกิ ารเกษตร 1
18 หอ้ งเกยี รตยิ ศ 1
19
รวมทัง้ สนิ้

แหลง่ การเรยี นรภู้ ายนอก ระดบั ชน้ั /จานวนคร้งั
โรงเรยี น ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6
--- 1 11
แหลง่ เรยี นรภู้ ายนอก 111 1 11
111 1 11
1. วัดสวนเวฬุวัน --- - --
2. สวนป่ากาญจนดิษฐ์ 111 1 11
3. น้าตกวภิ าวดี
4. ศูนยว์ ิจยั พชื สวนสุราษฎร์ธานี --- 1 11
5. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพอนามัย
ตาบลปากแพรก
6. นา้ ตกกลางทอง

7

7. เกาะพลวย --- - -1

8. เข่อื นรชั ประภา --- - --
111 1 11
9. วัดปากแพรก
--- - --
10. ค่าย ตชด. 416 (บ้านตาขุน) --- - -1
11. สานักสงฆ์เขาแดง

8

โรคโควดิ 19 คอื อะไร

โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVD-19) เป็น
ตระกูลของไวรัสที่ก่อให้อาการป่วยตั้งแต่โรคไข้หวัดธรรมดาไปจนถึงโรคท่ีมีความรุนแรงมาก เช่น โรคระบบ
ทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (MERS COV) โรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SAR5 COV) เป็น
สายพันใหม่ท่ีไม่เคยพบมาก่อนในมนุษย์ ก่อให้เกิดอาการป่วยระบบทางเดินหายใจในคนและสามารถแพร่เชื้อ
จากคนสู่คนได้ โดยเช้ือไวรัสนี้ พบการระบาดคร้ังแรกในเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน
ในช่วงปลายปี 2019 หลังจากน้นั ได้มีการระบาดไปทวั่ โลก องค์การอนามัยโลกจึงตั้งช่ือการติดเชื้อไวรัสโคโรนา
สายพันธ์ใหม่นี้ว่า โรคโควดิ 19
อาการของผปู้ ว่ ยโรคโควดิ 19 มอี าการอย่างไร

อาการทัว่ ไป ได้แก่ อาการระบบทางเดนิ หายใจ มีไข้ ไอ มีน้ามูก เจบ็ คอ หายใจลาบาก เหนื่อยหอบ
ไมไ่ ด้กลิ่น ลิ้นไม่รับรส ในกรณที ่อี าการรุนแรงมาก อาจทาใหเ้ กิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ปอดบวม ปอดอกั เสบ
ไตวาย หรอื อาจเสียชีวิต
โรคโควิด 19 แพรก่ ระจายเช้ือได้อย่างไร

โรคชนดิ นม้ี คี วามเปน็ ไปใด้ท่มี สี ตั ว์เป็นแหล่งรังโรค สว่ นใหญแ่ พรก่ ระจายผา่ น การสมั ผสั กับผู้ติดเชื้อผ่าน
ทางละอองเสมหะจาการไอ น้ามูก น้าลาย ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานสนับสนุนการแพร่กระจายเช้ือผ่านทางการ
พื้นผวิ สัมผัสทมี่ ีไวรัสแลว้ มาสัมผสั ปาก จมูกและตา สามารถแพร่เชื้อผ่านทางเช้ือที่ถูกขับถ่ายออกมากับอุจจาระ
เขา้ สูอ่ กี คนหนงึ่ โดยผา่ นเข้าทางปาก (Feco-oral route) ไดด้ ้วย

โรคโควดิ 19 รักษาได้อย่างไร
ยังไม่มียาสาหรับป้องกันหรือรักษาโรคโควิค 19 ผู้ท่ีติดเช้ืออาจต้องได้รับการรักษาแบบประคับประคอง

ตามอาการ โดยอาการท่ีมีแตกต่างกัน บางคนรุนแรงไม่มากลักษณะเหมือนไข้หวัดท่ัวไป บางคนรุนแรงมาก
ทาให้เกิดปอดอักเสบไต้ ต้องสังเกตอาการ ใกล้ชิดร่วมกับการรักษาด้วยการประดับประคองอาการจนกว่า
จะพน้ อาการช่วงนน้ั และยังไม่มยี าตวั ใดท่ีมหี ลกั ฐานชัดเจนวา่ รักษาโรคโควดิ 19 ได้โดยตรง

ใครบา้ งทเี่ สยี่ งสูงตอ่ การติดโรคโควิด 19
กลุ่มเสี่ยงโดยตรงที่อาจสัมผัสกันเชื้อ ได้แก่ ผู้ท่ีเพ่ิงกลับจากพ้ืนท่ีเส่ียง สัมผัสใกล้ชิด ผู้ป่วยสงสัยติดเช้ือ

กล่มุ เสยี่ งท่ีตอ้ งระวัง หากติดเชื้ออาจมีอาการรุนแรง ได้แก่ ผู้สูงอาย 70 ปีข้ึนไป ผู้ป่วยโรคเร้ือรัง เช่น เบาหวาน
ความดันโลหิตสงู หลอดเลอื ดหวั ใจ ภมู แิ พ้ เด็กเลก็ อายุต่ากว่า 5 ปี

9

สถานการณโ์ รคโควดิ 19
มีรายงานผู้ป่วยโรคโควิด 19 ในประเทศท่ีมีการระบาดท้ังประเทศจีน ประเทศในทวีปยุโรป ประเทศ

สหรัฐอเมริกาและประเทศไทย แสดงให้เห็นว่า เด็กติดเช้ือไวรัสโควิด 19 ได้ทุกอายุ แต่อุบัติการณ์น้อยกว่า
ผู้ใหญ่มาก เด็กมักมีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ท่ีติดเช้ือในครอบครัว เด็กที่ป่วยเป็นโรคไวรัสโควิด 19 จะมีเช้ือใน
ระบบทางเดินหายใจ บทบาทของเด็กในการเป็นผู้แพร่เชื้อยังไม่ชัดเจน แต่การที่พบเช้ือโคโรนาไวรัส ในทางเดิน
หายใจของผู้ป่วยเด็ก และยังสามารถพบเชื้อในอุจจาระได้ ทาให้เด็กมีโอกาส เป็นผู้แพร่เช้ือสู่ผู้อื่นได้

แม้รายงานส่วนใหญ่เด็กมักเป็นผู้รับเชื้อไวรัสโควิด 19 จากผู้อ่ืน มีรายงานว่าผู้ป่วยโควิด 19 ที่เป็นเด็ก
มีอาการไม่รุนแรง แต่อาจมีอาการรุนแรงถึงแก่ชีวิตในกรณีโรคอ่ืนอยู่ก่อน หรือเป็นผู้ที่มีภูมิคุ้มในระยะหลัง
มรี ายงานผู้ป่วยที่มีอาการคล้ายโรคคาวาซากิ (Kawasaki Disease) บางรายมีอาการช็อคและเสียชีวิต เกิดขึ้นใน
เด็กที่มิสุขภาพดีมาก่อน เป็นกลุ่มอาการ Hyperinflammatory syndrome ท่ีเก่ียวข้องกับการติดเชื้อโควิด 19
รายงานจากองั กฤษ สหรัฐอเมรกิ า อติ าลี จะเห็นได้วา่ โรคโควิด 19 เป็นโรคท่ีอุบัติข้ึนมาใหม่ไม่เป็นที่รู้จักมาก่อน
ความรู้ในด้านอาการ อาการแสดง ความรุนแรงของโรค ยังไม่เป็นท่ีรู้กันยังคงต้องศึกษาและมีการเปลี่ยนแปลง
ข้อมลู ตลอดเวลา

ที่มา : COVID-19 – safe return to schools. CORONAVIRUS (C0VID-19) UPDATE NO.26. WHO, 15 MAY 2020

สถานศึกษาเป็นสถานที่ท่ีมีนักเรียนอยู่ร่วมกันจานวนมาก มักจะมีความเส่ียงสูง หากมีระบบการจัดการ
ที่ไม่ดี อาจจะมีการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโควิด 19 ได้ในกลุ่มเด็ก เนื่องจากพบว่าการติดเช้ือไวรัสโควิด 19
ส่วนใหญ่จะไม่ค่อยมีอาการหรือมีอาการแสดงค่อนข้างน้อย ความรุนแรงจะน้อยมาก แต่เด็กนักเรียนจะเอา
เชอ้ื กลับบ้าน อาจทาให้การแพร่ระบาดเกิดข้ึนได้รวดเร็ว (Super spread) ไปยังบุคคลในบ้าน หากมีการระบาด
ในกลมุ่ เดก็ ขน้ึ จะมีผลกระทบในสงั คมหรอื ผู้ใกลช้ ดิ เช่น ครู พอ่ แม่ ผสู้ งู อายุ ท่ีตดิ เชื้อจากเด็ก

จากรายงานสถานการณ์โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ประเทศไทย พบว่า ผู้ป่วยยืนยันติดเช้ือสะสม
จานวน 3,017 ราย เดก็ อายุ 0 - 9 ปี เป็นผปู้ ว่ ยยนื ยนั ตดิ เช้ือสะสม จานวน 66 ร้าย คิดเป็นร้อยละ 19 เป็นเด็ก
อายุ 10 - 19 ปี เป็น ผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อสะสม จานวน 115 ชาย คิดเป็นร้อยละ 38 น้อยกว่ากลุ่มผู้ใหญ่
(ข้อมูล ณ 12 พฤษภาคม 2563) ไม่มีรายงานผู้ป่วยเด็กที่เสียชีวิตในประเทศไทย อย่างไรก็ตาม หากมีการเปิด

10

เรยี น มีโอกาสสงู ที่จะเกิดการตดิ เชื้อในกลมุ่ เดก็ เพมิ่ มากช้ิน ซึ่งเด็กเป็นกลุ่มท่ีต้องได้รับการดูแลและระมัดระวังใน
การกระจายเชื้อเป็นอย่างมาก มาตรการในการเปิดเทอม จึงมีความสาคัญมากในการควบคุมการระบาด
การวางแผนเปดิ เทอม จงึ ต้องมน่ั ใจวา่ ควบคมุ ไมใ่ ห้เกิดการระบาดของโรคในเดก็ นักเรยี นได้
สถานการณท์ ีก่ าลงั เผชิญเหตภุ ายในประเทศ

รายการสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในประเทศไทยปัจจุบัน (ข้อมูล ณ วันท่ี
1 เมษายน – 4 ตุลาคม 2564) พบว่า ผู้ป่วยยืนยันติดเช้ือสะสมจานวน 1,493,077 ราย ผู้ป่วยรายใหม่จานวน
9,930 ราย หายป่วยสะสมจานวน 1,493,077 ราย เสียชีวิตสะสมจานวน 17,017 ราย และปัจจุบันมีผู้ที่ได้รับวัคซีน
สะสมแล้วจานวน 55,150,481ราย

สถานการณโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ในประเทศไทย
ระหวา่ งวนั ท่ี 1 เมษายน ถงึ 16 ตลุ าคม 2564

11

ข้อมูลจานวนผู้ตดิ เชอ้ื รายใหมแ่ ละสะสมในเขตจังหวดั สุราษฎร์ธานี
(ขอ้ มลู ณ วันท่ี 4 ตุลาคม 2564)

รายการสถานการณ์โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ในจังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี พบว่า ผู้ป่วยยนื ยนั ตดิ เชือ้
สะสมจานวนทั้งหมด 13,252 ราย เสียชวี ิตสะสมจานวน 66 ราย รายละเอยี ดดังภาพ
(ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 4 ตลุ าคม 2564)

เกณฑ์การพิจารณากรอบการปฏิบัติตามตารางประสานสอดคล้องในการบริหาร สถานการณ์โควิด 19
ในสถานศกึ ษา

การพิจารณากรอบการปฏิบัติตามตารางประสานสอดคล้องในการบริหารสถานการณ์โควิด 19
ในสถานศึกษา จาแนกเป็น ระดับสี 5 ระดับสี ได้แก่ ขาว เขียว เหลือง ส้มและแดง (สอดคล้องกับเกณฑ์การ
พิจารณาระดับความรุนแรงของการระบาดของโรคโควิด 19 ระดับประเทศ) ซ่ึงมีรายละเอียดกรอบการปฏิบัติ
ตามระดับและระดบั การผอ่ นคลายกจิ การหรือกิจกรรมที่สาคัญ มดี งั น้ี

12

ระดบั การบรหิ ารสถานการณ์ : ระดบั ขาว
กรอบการปฏบิ ตั ิ

1. สามารถเดินทางข้ามจงั หวัดได้
2. ให้จัดกจิ กรรมรวมกลุ่มได้ แตต่ ้องปฏบิ ัตติ ามมาตรการป้องกันโรคท่กี าหนด
3. ให้ดาเนินกิจการหรือกิจกรรมได้ทุกประเภทตามปกติ ผู้ประกอบการหรือผ้จู ดั กจิ กรรม ตอ้ งมีการ
คดั กรอง ผใู้ ช้บริการและตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามมาตรการหลกั ได้แก่

- ทาความสะอาดพ้นื ผวิ ที่มกี ารสมั ผสั บอ่ ย ๆ
- การสวมหน้ากากของเจ้าหน้าทพ่ี นักงานผใู้ ช้บรกิ ารผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม
- ใหม้ จี ดุ บริการล้างมือด้วยสบู่หรอื แอลกอฮอล์เจลหรอื น้ายาฆ่าเช้อื โรค
- ใหม้ ีการควบคุมจานวนผู้ใชบ้ ริการมิให้แออัด
ตวั อย่างระดบั การผ่อนคลายกจิ การ/กิจกรรมที่สาคัญ
- โรงเรยี นเปิดการเรยี นการสอนทโ่ี รงเรยี น 100%
- สนามกีฬากลางแจง้ เปดิ ให้มีผูช้ มได้ 70% / 50% (5000)
- สนามกีฬากลางในร่มเปดิ ให้มีผู้ชมได้ 50% / 25% (2000/1000)
- ขนสง่ สาธารณะบรรทุกผโู้ ดยสารได้ 100%
- โรงภาพยนตรเ์ ปดิ ให้มผี ้ชู มได้ 100%

13

ตารางประสานสอดคลอ้ งในการบรหิ ารสถานการณโ์ รคโควดิ 19

ระดบั การบรหิ าร กรอบการปฏบิ ัติ ตวั อย่างระดับการผ่อนคลายกิจการ/
สถานการณ์ กจิ กรรมท่สี าคัญ

ระดบั ขาว o สามารถเดินทางข้ามจังหวดั ได้ - โรงเรียนเปดิ การเรยี นการสอนทโ่ี รงเรียน
100%
o ใหจ้ ัดกิจกรรมรวมกลุ่มไดแ้ ตต่ อ้ งปฏบิ ตั ติ ามมาตรการ - สนามกฬี ากลางแจ้งเปดิ ให้มผี ูช้ มได้
70%/50% (5000)
ปอ้ งกันโรคท่ีกาหนด - สนามกฬี ากลางในรม่ เปดิ ใหม้ ีผชู้ มได้
50%/25% (2000/1000)
o ให้ดาเนนิ กิจการหรือกจิ กรรมไดท้ กุ ประเภทตามปกติ - ขนสง่ สาธารณะบรรทกุ ผโู้ ดยสารได้ 100%
ผปู้ ระกอบการหรือผู้จดั กจิ กรรม ต้องมีการคดั กรอง - โรงภาพยนตร์เปิดใหม้ ีผ้ชู มได้ 100%

ผใู้ ช้บรกิ าร และตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามมาตรการหลัก ไดแ้ ก่
 ทาความสะอาดพน้ื ผิวท่ีมกี ารสมั ผสั บ่อย ๆ
 การสวมหนา้ กากของเจ้าหนา้ ท่ีพนกั งาน
ผู้ใช้บริการ ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม
 ใหม้ จี ุดบริการลา้ งมอื ด้วยสบหู่ รอื แอลกอฮอล์
เจลหรือน้ายาฆา่ เชื้อโรค
 ใหม้ กี ารควบคมุ จานวนผใู้ ช้บรกิ าร มิใหแ้ ออัด

ระดบั การบริหารสถานการณ์ : ระดบั เขยี ว
กรอบการปฏิบตั ิ

ตามขอ้ กาหนดฉบับที่ 13
1. ให้จดั กจิ กรรมรวมกลุ่มได้แต่ตอ้ งปฏิบตั ติ ามมาตรการป้องกนั โรคทีก่ าหนด
2. สามารถเดินทางข้ามจงั หวดั ได้
3. ให้ดาเนนิ กจิ การหรือกิจกรรมได้ทุกประเภท แต่ผูป้ ระกอบการหรือผู้จัดกิจกรรม ต้องมีการคัดกรอง
ผู้ใช้บรกิ าร และต้องปฏบิ ตั ติ ามมาตรการหลกั ได้แก่

- ทาความสะอาดพนื้ ผวิ ท่ีมกี ารสมั ผัสบ่อย ๆ
- การสวมหน้ากากของเจ้าหน้าทพ่ี นกั งานผใู้ ชบ้ ริการผู้เข้าร่วมกจิ กรรม
- ให้มีจุดบริการลา้ งมือดว้ ยสบหู่ รือแอลกอฮอลเ์ จลหรอื นา้ ยาฆา่ เช้ือโรค
- ใหม้ ีการควบคมุ จานวนผ้ใู ช้บริการมิใหแ้ ออดั
- ลงทะเบียนใช้งาน“ไทยชนะ”และแอปพลิเคชันที่รัฐกาหนด
* ผู้วา่ ราชการจังหวัด กาหนดมาตรการเพม่ิ เติมได้
ตวั อย่างระดับการผอ่ นคลายกจิ การ/กิจกรรมที่สาคัญ
- โรงเรยี นเปดิ การเรยี นการสอนท่โี รงเรียน 100%
- สนามกฬี ากลางแจง้ เปดิ ใหม้ ผี ชู้ มได้ 50% / 25% (3000/2000)
- สนามกีฬากลางในรม่ เปิดให้มผี ู้ชมได้ 25% / 15% (1000/500)
- ขนส่งสาธารณะบรรทุกผู้โดยสารได้ 100%
- โรงภาพยนตรเ์ ปดิ ให้มีผู้ชมได้ 70%
*ศบค ที่ 8/ 2563 หรอื ตามที่ คณะกรรมการเฉพาะกิจพจิ ารณาการผ่อนคลายฯ กาหนด

14

ตารางประสานสอดคล้องในการบริหารสถานการณโ์ รคโควดิ 19

ระดับการบรหิ าร กรอบการปฏบิ ัติ ตัวอย่างระดบั การผอ่ นคลายกจิ การ/
สถานการณ์ กิจกรรมท่สี าคัญ

ระดบั เขียว ตามขอ้ กาหนดฉบบั ท่ี 13 - โรงเรียนเปิดการเรียนการสอนที่

o ให้จดั กิจกรรมรวมกลมุ่ ไดแ้ ตต่ อ้ งปฏบิ ตั ิตามมาตรการ โรงเรียน 100%

ป้องกนั โรคทกี่ าหนด - สนามกีฬากลางแจ้งเปิดให้มีผู้ชมได้

o สามารถเดนิ ทางขา้ มจงั หวดั ได้ 50%/25% (3000/2000)

o ให้ดาเนนิ กิจการหรือกิจกรรมไดท้ กุ ประเภทแต่ - สนามกีฬากลางในร่มเปิดให้มีผู้ชมได้

ผ้ปู ระกอบการหรือผูจ้ ดั กจิ กรรมตอ้ งมีการคัดกรอง 25%/15% (1000/500)

ผ้ใู ช้บริการ และตอ้ งปฏบิ ตั ิตามมาตรการหลกั ไดแ้ ก่ - ขนส่งสาธารณะบรรทุกผู้โดยสารได้

 ทาความสะอาดพื้นผิวทีม่ กี ารสมั ผสั บอ่ ยๆ 100%

 การสวมหนา้ กากของเจ้าหน้าท่ี พนกั งาน ผูใ้ ชบ้ รกิ าร - โรงภาพยนตร์เปดิ ใหม้ ีผู้ชมได้ 70%

ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม

 ใหม้ จี ุดบรกิ ารลา้ งมือดว้ ยสบหู่ รือแอลกอฮอลเ์ จลหรอื

น้ายาฆ่าเชอ้ื โรค

 ให้มีการควบคมุ จานวนผู้ใช้บรกิ ารมิใหแ้ ออัด
 ลงทะเบียนใช้งาน “ไทยชนะ” และแอปพลิเคชันท่รี ัฐ

กาหนด

* ผ้วู ่าราชการจงั หวัด/กทม. สามารถกาหนดมาตรการเพ่ิมเตมิ ได้

ระดบั การบรหิ ารสถานการณ์ : ระดับเหลือง

กรอบการปฏบิ ตั ิ

ตามข้อกาหนดฉบบั ที่ 9

1. สามารถเดินทางข้ามจังหวัดได้

2. ให้ดาเนินการหรือทากิจกรรมด้านเศรษฐกิจและการดาเนินชีวิตตลอดจนด้านการออกกาลังกาย

หรือดูแลสุขภาพหรอื สนั ทนาการ ไดแ้ ก่ ผู้ประกอบการหรือผูจ้ ัดกจิ กรรม ตอ้ งมกี ารคัดกรองผู้ใช้บริการและต้อง

ปฏบิ ตั ิตามมาตรการหลัก

- ทาความสะอาดพน้ื ผิวท่ีมกี ารสมั ผสั บ่อย ๆ

- การสวมหน้ากากของเจ้าหนา้ ท่พี นักงานผู้ใช้บรกิ ารผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม

- ให้มีจดุ บรกิ ารลา้ งมอื ดว้ ยสบหู่ รือแอลกอฮอลเ์ จลหรือน้ายาฆ่าเชื้อโรค

- ให้มกี ารเวน้ ระยะหา่ งอย่างนอ้ ย 1 เมตร

- ใหม้ ีการควบคุมจานวนผูใ้ ช้บรกิ ารมใิ หแ้ ออดั

- ลงทะเบยี นใช้งาน“ไทยชนะ”และแอปพลเิ คชันท่รี ฐั กาหนด

* ผวู้ า่ ราชการจงั หวัด สามารถกาหนดมาตรการเพมิ่ เติมได้

ตัวอย่างระดับการผ่อนคลายกจิ การ/กจิ กรรมที่สาคัญ

- โรงเรยี นเปดิ การเรยี นการสอนท่ีโรงเรียน ไดแ้ ก่ ถ้ามีความแออดั ใหจ้ ดั นกั เรียนสลับนกั เรยี น

- สนามกฬี ากลางแจ้งเปิดให้มผี ู้ชมได้ 25%/15% (3000/1000)

- สนามกฬี ากลางในรม่ เปิดไม่ใหม้ ีผ้ชู มได้

- ขนสง่ สาธารณะทางอากาศและ BTS บรรทกุ ผ้โู ดยสารได้ 100%

- รถขนส่งสาธารณะบรรทกุ ผู้โดยสารได้ 70%

- โรงภาพยนตรเ์ ปิดให้มผี ชู้ มได้ 50%

15

- อ่นื ๆ ตามคาสง่ั ศบค ท่ี 3/2563, 4/2563, 5/2563 และ6/2563 หรือตามที่คณะกรรมการ
เฉพาะกจิ พจิ ารณาการผอ่ นคลายฯ กาหนด
ตารางประสานสอดคลอ้ งในการบรหิ ารสถานการณ์โรคโควดิ 19

ระดับการบริหาร กรอบการปฏิบัติ ตัวอยา่ งระดบั การผอ่ นคลายกจิ การ/
สถานการณ์ กิจกรรมทสี่ าคญั

ระดบั เหลอื ง ตามข้อกาหนดฉบบั ท่ี 9 - โรงเรียนเปิดการเรียนการสอนท่ี
โรงเรียน ได้แก่ ถ้ามีความแออัดให้
o สามารถเดนิ ทางข้ามจังหวดั ได้ จดั นักเรียนสลับนกั เรยี น
สนามกฬี ากลางแจง้ เปิดให้มีผู้ชมได้
o ใหด้ าเนินการหรือทากิจกรรมด้านเศรษฐกิจและการดาเนิน 25%/15% (3000/1000)
สนามกีฬากลางในร่มเปิดไม่ให้มี
ชีวิตตลอดจนด้านการออกกาลังกายหรือดูแลสุขภาพหรือ - ผชู้ มได้
ขนส่งสาธารณะทางอากาศและ
สันทนาการ ได้แก่ ผู้ประกอบการหรือผู้จัดกิจกรรม ต้องมี BTS บรรทกุ ผ้โู ดยสารได้ 100%
รถขนส่งสาธารณะบรรทุกผโู้ ดยสาร
การคัดกรองผูใ้ ชบ้ ริการและต้องปฏบิ ัติตามมาตรการหลัก - ได้ 70%
โรงภาพยนตรเ์ ปดิ ใหม้ ผี ู้ชมได้ 50%
- ทาความสะอาดพื้นผิวทีม่ กี ารสัมผัสบ่อย ๆ อื่น ๆ ตามคาส่ังศบค.ท่ี 3/2563,
4/2563, 5/2563 และ6/2563
- การสวมหน้ากากของเจ้าหน้าท่ีพนักงานผู้ใช้บริการ - หรอื ตามท่คี ณะกรรมการเฉพาะกจิ

ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม

- ให้มีจุดบริการล้างมือด้วยสบู่หรือแอลกอฮอล์เจลหรือ -

น้ายาฆ่าเชือ้ โรค

- ให้มีการเว้นระยะห่างอย่างน้อย 1 เมตร -

- ให้มกี ารควบคมุ จานวนผู้ใช้บรกิ ารมิใหแ้ ออัด -

- ลงทะเบียนใช้งาน“ไทยชนะ”และแอปพลิเคชันที่รัฐ

กาหนด

* ผวู้ ่าราชการจังหวดั สามารถกาหนดมาตรการเพิม่ เติมได้

ระดบั การบริหารสถานการณ์ : ระดับส้ม
กรอบการปฏบิ ัติ
ตามขอ้ กาหนด ฉบับที่ 6

1. จากัดการเดนิ ทางข้ามจงั หวัด
2. ใหด้ าเนินการหรอื ทากิจกรรมบางอย่างไดเ้ ฉพาะ เพือ่ เป็นการอานวยความสะดวกประชาชน ในการ
ทากิจกรรมด้านเศรษฐกจิ และการดาเนนิ ชวี ติ ตลอดจนดา้ นการออกกาลังกาย หรือดูแลสุขภาพหรือสันทนาการ
ทีไ่ มเ่ สยี่ งต่อการแพร่ระบาดและผู้ประกอบการ หรือผู้จัดกิจกรรมต้องมีการคัดกรองผู้ใช้บริการและต้องปฏิบัติ
ตามมาตรการหลัก ได้แก่
- ทาความสะอาดพ้นื ผิวที่มกี ารสัมผัสบ่อย ๆ
- การสวมหน้ากากของเจ้าหน้าทพี่ นักงานผใู้ ช้บรกิ ารผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม
- ให้มจี ุดบรกิ ารล้างมือด้วยสบูห่ รอื แอลกอฮอล์เจลหรือน้ายาฆ่าเช้ือโรค
- ให้มีการเวน้ ระยะหา่ งอย่างนอ้ ย 1 เมตร
- ใหม้ กี ารควบคมุ จานวนผใู้ ชบ้ ริการมใิ ห้แออดั
- ลงทะเบยี นใช้งาน“ไทยชนะ”และแอปพลิเคชันที่รัฐกาหนด
* ผูว้ า่ ราชการจงั หวดั สามารถกาหนดมาตรการเพ่ิมเติมได้

16

ตวั อย่างระดับการผ่อนคลายกจิ การ/กจิ กรรมที่สาคญั

- สถานศกึ ษาจดั การเรยี นการสอนออนไลนแ์ ละ/หรือออนแอร์

- รา้ นอาหารจาหนา่ ยอาหารและเคร่อื งดมื่ ได้ (เวน้ เครอ่ื งดื่มที่มแี อลกอฮอล์ในสถานทต่ี า่ ง ๆ )

- ปิดสถานบริการผับบาร์

- ร้านคา้ ปลีก/ตลาดนดั /ตลาดสดเปิดได้ แตต่ ้องปฏิบตั มิ าตรการที่กาหนด

- สนามกฬี า ลานกีฬา ประเภทกลางแจ้งและเปน็ กฬี าทไี่ มม่ ีการปะทะกัน สวนสาธารณะเปิดทาการได้

- อ่นื ๆ ตามคาส่งั ศบค. ที่ 2/2563 หรอื ตามท่ีคณะกรรมการเฉพาะกจิ พจิ ารณาการผ่อนคลายฯ กาหนด

ตารางประสานสอดคล้องในการบรหิ ารสถานการณ์โรคโควดิ 19

ระดบั การบริหาร กรอบการปฏบิ ัติ ตวั อยา่ งระดับการผ่อนคลายกิจการ/
สถานการณ์ กจิ กรรมทสี่ าคัญ

ระดับสม้ o จากดั การเดินทางขา้ มจังหวัด - สถานศึกษาจัดการเรียนการสอน

o ให้ดาเนินการหรือทากิจกรรมบางอย่างได้ ออนไลนแ์ ละ/หรอื ออนแอร์

เฉพาะ เพ่ือเป็นการอานวยความสะดวก - ร้านอาหารจาหน่ายอาหารและ

ประชาชน ในการทากิจกรรมด้านเศรษฐกจิ และ เครือ่ งดืม่ ได้ (เว้น เครอ่ื งด่ืมที่มี

การดาเนินชีวิตตลอดจนด้านการออกกาลังกาย แอลกอฮอล์ในสถานที่ต่าง ๆ )

หรือดูแลสุขภาพหรือสันทนาการท่ีไม่เส่ียงต่อ - ปดิ สถานบรกิ ารผบั บาร์

การแพร่ระบาดและผู้ประกอบการ หรือผู้จัด - รา้ นคา้ ปลกี /ตลาดนดั /ตลาดสด

กิจกรรมต้องมีการคัดกรองผู้ใช้บริการและต้อง เปดิ ได้ แต่ตอ้ งปฏบิ ตั ิมาตรการท่ี

ปฏิบตั ติ ามมาตรการหลัก ได้แก่ กาหนด

- ทาความสะอาดพ้ืนผิวทมี่ ีการสัมผัสบอ่ ย ๆ - สนามกฬี า ลานกีฬา ประเภท

- การสวมหน้ากากของเจ้าหน้าที่พนักงาน กลางแจง้ และเป็นกฬี าที่ไมม่ ีการ

ผ้ใู ชบ้ ริการผู้เข้าร่วมกิจกรรม ปะทะกัน สวนสาธารณะเปดิ ทา

- ให้มีจุดบริการล้างมือด้วยสบู่หรือแอลกอฮอล์ การได้ อน่ื ๆ ตามคาส่งั ศบค. ท่ี

เจลหรอื นา้ ยาฆา่ เชื้อโรค 2/2563 หรือ ตามท่คี ณะกรรมการ

- ให้มกี ารเวน้ ระยะหา่ งอยา่ งน้อย 1 เมตร เฉพาะกิจพจิ ารณาการผอ่ นคลายฯ

- ให้มีการควบคุมจานวนผใู้ ชบ้ รกิ ารมิให้แออดั กาหนด

- ลงทะเบียนใช้งาน“ไทยชนะ”และแอปพลิ

เคชนั ทีร่ ฐั กาหนด

* ผวู้ า่ ราชการจังหวัด สามารถกาหนดมาตรการ

เพิม่ เตมิ ได้

ระดบั การบริหารสถานการณ์ : ระดับสแี ดง
กรอบการปฏบิ ตั ิ

ตามข้อกาหนดฉบับที่ 1
- เน้นทีก่ ารห้ามเข้าพน้ื ที่เสี่ยงและการปดิ สถานท่ีเส่ยี งต่อการติดตอ่ โรค
- ปดิ ชอ่ งทางเขา้ มาในราชอาณาจักร เวน้ บุคคลบางประเภท
- ห้ามชมุ นุม ตามขอ้ กาหนดฉบับท่ี 2 และ 3
- หา้ มบุคคลใดทั่วราชอาณาจักรออกนอกเคหะสถาน เว้นบคุ คลท่มี ีเหตุจาเป็นตามข้อกาหนดฉบบั ท่ี 5
* ผูว้ ่าราชการจังหวดั สามารถกาหนดมาตรการเพิม่ เติมได้

17

ตวั อย่างระดบั การผ่อนคลายกิจการ/กิจกรรมท่สี าคญั
- สถานศกึ ษาจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ และ/หรือออนแอร์

- หา้ มการเดนิ ทางขา้ มจังหวัด ยกเว้นขนส่งสนิ ค้า
- ปิดกิจการ/กจิ กรรมต่าง ๆ ยกเวน้ กิจการทจี่ าเป็นต่อการดารงชวี ิต เช่น ธนาคาร โรงงาน

สถานบรกิ ารเชือ้ เพลิง บรกิ ารสง่ สนิ ค้าและอาหารตามสั่งหรือตามท่ีคณะกรรมการเฉพาะกิจ

พจิ ารณาการผ่อนคลายฯ ทกี่ าหนด

ตารางประสานสอดคล้องในการบริหารสถานการณ์โรคโควิด 19

ระดับการบริหาร กรอบการปฏิบัติ ตวั อย่างระดบั การผ่อนคลายกจิ การ/
สถานการณ์ กิจกรรมทส่ี าคญั

ระดบั สีแดง ตามข้อกาหนดฉบับที่ 1 - สถานศกึ ษาจัดการเรยี นการสอน
ออนไลน์ และ/หรือ ออนแอร์
- เนน้ ท่ีการหา้ มเข้าพืน้ ทเี่ สี่ยงและการปิด
- หา้ มการเดินทางข้ามจงั หวัด ยกเวน้
สถานที่เสย่ี งต่อการตดิ ต่อโรค ขนส่งสินค้า

- ปดิ ช่องทางเข้ามาในราชอาณาจักร เว้น - ปดิ กิจการ/กจิ กรรมต่าง ๆ ยกเวน้
กจิ การทีจ่ าเป็นต่อการดารงชีวิต เช่น
บคุ คลบางประเภท ธนาคาร โรงงาน สถานบริการ
เชื้อเพลงิ บริการสง่ สินค้าและอาหาร
- หา้ มชมุ นุม ตามสงั่ หรอื ตามทค่ี ณะกรรมการ
เฉพาะกจิ พจิ ารณาการผ่อนคลายฯ
ตามขอ้ กาหนดฉบับที่ 2 และ 3 กาหนด

- หา้ มบุคคลใดทั่วราชอาณาจกั รออกนอก

เคหะสถาน เวน้ บคุ คลทม่ี ีเหตจุ าเป็น

ตามข้อกาหนดฉบับที่ 5

* ผวู้ ่าราชการจงั หวดั สามารถกาหนดมาตรการ

เพิ่มเตมิ ได้

แนวปฏิบตั ิสาหรับสถานศึกษารองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19
จากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ที่มีความรุนแรงมากข้ึนท่ัวโลกและประเทศใกล้เคียง

อาทิ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ซึ่งประเทศไทยมีพ้ืนที่ชายแดนด้านเมียนมากาลังเป็นพื้นที่วิกฤตที่สุด
จานวนผู้ป่วยติดเช้ือสะสมเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง อาจเป็นภาวะเสี่ยงต่อการติดเช้ือโรคโควิด 19 ในเขตพื้นที่
ของชุมชนและสถานศึกษา อาจส่งผลกระทบต่อการจดั การเรยี นการสอน

ดังนั้น สถานศึกษามีแนวปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอนตามตารางประสานสอดคล้องตาม
สถานการณ์ความรนุ แรงของการแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ของสถานศึกษา มดี งั น้ี
1. กลุ่มนักเรยี น - สถานศกึ ษาจัดการเรียนการสอนตามปกติ (ครบคน ครบหอ้ ง ครบช้นั เรียน)
สขี าว - สีเขียว - สถานศึกษาท่ีต้ังอยู่ในพ้ืนที่ที่ไม่พบผู้ติดเชื้อไม่น้อยกว่า 90 วัน (พื้นที่สีเขียว)

ไดร้ ับการพจิ ารณาอนุญาตจากศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรคจังหวัด ให้จัดการเรียนการสอน
ไดต้ ามปกติ
- โรงเรียนมีมาตรการให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และเจ้าหน้าที่ทุกคน
สวมหน้ากากอนามัย มีอุปกรณ์ล้างมือและล้างมือบ่อย ๆ มีการทาความสะอาดห้องเรียน
ห้องปฏิบัติการ หรือโรงฝึกงาน และทาความสะอาดอุปกรณ์ท่ีใช้ในการเรียนการสอน
การฝึกปฏิบัติ ก่อนและหลังใช้งานทกุ ครัง้ ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข
สีเหลอื ง - สสี ม้ - สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน โดยมีการสลับวันเรียนแต่ละช้ันเรียน
หรอื มกี ารแบ่งจานวนนักเรียนให้เหมาะสมกบั การเวน้ ระยะห่าง (Social distancing)

18

- มีมาตรการให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และเจ้ากน้าท่ีทุกคน สวมหน้ากาก

อนามัย มีอุปกรณล์ ้างมือและล้างมือบอ่ ย ๆ

- มีการทาความสะอาดห้องเรียน ห้องปฏิบัติการหรือโรงฝึกงาน และทาความสะอาด

อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการเรยี นการสอน การฝกึ ปฏบิ ัติ ก่อนและหลังใช้งานทุกครัง้

สีแดง - สถานศกึ ษาจัดการเรยี นการสอนแบบ Online หรือ On air

ตารางประสานความสอดคล้องของสถานศึกษา

กลมุ่ กิจกรรม/กจิ การ สถานการณ์การแพร่ระบาด

นกั เรียน สถานศึกษา - สถานศึกษาท่ีตั้งอยู่ในพ้ืนท่ีท่ีไม่ - สถานศึกษาจัดการเรยี นการสอน - สถานศึกษา
จัดการเรยี นการสอน
พบผู้ติดเช้ือไม่น้อยกว่า 90 วัน แบบผสมผสานโดยมีการสลับวนั เรียน จัดการเรียน
ตามปกติ
(ครบคน ครบห้อง (พ้ืนที่สีเขียว) ได้รับการพิจารณา แต่ละช้นั เรยี นหรอื มีการแบ่งจานวน การสอนแบบ

ครบชนั้ เรยี น) อนุญ า ต จ า กศู นย์ ป ฏิ บั ติ กา ร นกั เรียนให้เหมาะสมกบั การเวน้ ระยะ Online หรือ

ควบคมุ โรคจังหวดั ใหจ้ ัดการเรียน ห่างระหวา่ งกัน (Social distancing) On air

การสอนได้ตามปกติ - มีมาตรการให้นักเรียน ครู บุคลากร

- โรงเรียนมีมาตรการให้นักเรียน ทางการศึกษา และเจ้ากน้าท่ีทุกคน

ครู บุคลากรทางการศึกษา และ สวมหน้ากากอนามัย มีอุปกรณ์ล้าง

เจ้าหน้าท่ีทุกคน สวมหน้ากาก มือและล้างมือบอ่ ย ๆ

อนามัย มีอุปกรณ์ล้างมือและล้าง - มีการทาความสะอาดห้องเรียน

มือบ่อย ๆ มีการทาความสะอาด ห้องปฏิบัติการหรือโรงฝึกงาน และ

ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการหรือโรง ทาความสะอาดอุปกรณ์ท่ีใช้ในการ

ฝึกงาน และทาความสะอาด เรียนการสอน การฝึกปฏิบัติ ก่อน

อุปกรณ์ท่ีใช้ในการเรียนการสอน และหลงั ใช้งานทกุ ครงั้

การฝกึ ปฏิบัติ กอ่ นและหลังใช้งาน

ทุ ก ค รั้ ง ต า ม ม า ต ร ก า ร ข อ ง

กระทรวงสาธารณสขุ

หมายเหตุ
การจัดทาบนั ทึกประจาวันการเดินทางของนกั เรียน
กาหนดให้นักเรียนบันทึกการเดินทางไปในสถานที่ต่าง ๆ ประจาวัน ลงในระบบของโรงเรียน

ผา่ นเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ ก่อนเวลา 21.00 น. ของทกุ วนั โดยการตดิ ตามของครทู ป่ี รกึ ษา

19

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในประเทศไทยยังไม่มีแนวโน้มคล่ีคลายเป็นไปในทางท่ีดี
ข้ึน สถานการณ์ทั่วโลกและประเทศใกล้เคียง ยังมีความรุนแรงอย่างต่อเน่ือง ในการเปิดภาคเรียนของ
สถานศึกษา ให้มีการเรียนการสอนตามปกติ 100% ดังน้ันจึงควรกาหนดให้มีแผนเผชิญเหตุรองรับ
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา เพื่อเป็นการเตรียมการและเตรียมพร้อมรองรับ
สถานการณ์ท่ีอาจจะเกิดข้ึนอันเป็นแนวปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19
อยา่ งเครง่ ครัด

แนวปฏิบัตแิ ผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด
ของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา

1. การป้องกนั เชอื้ โรคไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) าก า ร เ

-ท ทท (State Quarantine) วั

-ท

-ท G

- ท ท ทท

- ท Organizational Quarantine

-

2. การป้อ กนการ รร า ขอ โรคโค 19 ภายใน ร เ

-ท

-ท

-ท

- จัดทาแนวทางการจดั การเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19

- จัดทาแพสตฟอร์มการเรยี นรู้ ขดุ โปรแกรม และแพสตฟอร์มการเรียนรู้ครบวงจร

- จดั ทาแนวทางการบริหารจัดการสาหรับโรงเรียนเพอ่ื ป้องกนั และควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19

- แผนการเตรียมการรองรับนักเรียนจากต่างประเทศ ที่กลับเข้ามาเรียนในประเทศไทยของสถานศึกษา

ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564

- แนวทางรับมอื ตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉนิ กรณกี ารระบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศึกษา

3. การเฝา้ ระวงั และการสอบสอนโรค

- คัดกรองนกั เรยี น ผูบ้ รหิ าร ครู บุคลากร และผเู้ ก่ียวขอ้ งมีการสวมหน้ากาก ล้างมือ การเว้นระยะห่าง

20

การทาความสะอาด (ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน อาคารเรียน โรงอาหาร หอพักนักเรียน
พน้ื ทีส่ ว่ นกลาง) และลดความแออดั
- มีแนวปฏิบตั สิ าหรับผู้บริหาร ครู และบุคลากรในสถานศึกษาในการดาเนินการเก่ียวกับโรคโควิด 19
เช่น จัดทาแนวทางการบริหารจัดการสาหรับโรงเรียน เพ่ือป้องกันและควบคุม การแพร่ระบาดของ
โรคโควิด 19 มาตรการคัดกรองสุขภาพด้านสาธารณสุข การดาเนินการเมื่อมีกลุ่มเสี่ยงหรือผู้ป่วย
ยืนยันในสถานศกึ ษา
- การปิดสถานศกึ ษาท่เี กิดการระบาดและควบคุมการระบาดในสถานศกึ ษา
- รายงานการประเมนิ สถานการณผ์ ลการดาเนินงาน ปัญหาอุปสรรคและให้ข้อเสนอแนะแก่หน่วยงาน
ตน้ สงั กัด และคณะกรรมการโรคติดตอ่ ระดบั จังหวัดเพื่อการตดั สนิ ใจ
4. การสร้างความร่วมมือจากทุกภาคสว่ น
- มศี ูนย์ประสานงานและติดตามขอ้ มูลระหว่างสถานศึกษาและหน่วยงานตา่ ง ๆ
- สถานศึกษาจับคู่โรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลในความร่วมมือ ป้องกันการ
แพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19
- สถานศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่
สาธารณสขุ เจา้ หน้าท่ีองคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ ฝ่ายปกครอง คณะกรรมการ สถานศกึ ษา

แนวปฏิบัติสาหรับโรงเรยี นปากแพรกวทิ ยาคม
โดยจัดรปู แบบการเรียนการสอนออนไลน์ 100%

โรงเรยี นปากแพรกวิทยาคม มีการจัดประชุมวางแผนในการเตรียมความพร้อมในการเปิดภาคเรียน
โ ด ย จั ด รู ป แ บ บ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น อ อ น ไ ล น์ 100% โ ด ย ส รุ ป ก า ร แ ผ น เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร้ อ ม
เป็น 3 ระยะ ดงั นี้

ระยะที่ 1 เตรียมความพร้อม
ระยะท่ี 2 การทดลองการจดั การเรยี นรู้
ระยะท่ี 3 การเรียนออนไลน์เต็มรปู แบบ

21

ขน้ั ตอนการเตรียมการสอน Online

ประชมุ ชแ้ี จงคณะกรรมการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ
ในการจดั โครงการรายวชิ าทจ่ี าเปน็ ในการ

จัดตารางสอนของครแู ละนกั เรยี นในรูปแบบออนไลน์

สารวจความพร้อมทางการเรยี นออนไลน์
ของนักเรยี น

อบรมเตรยี มความพรอ้ มครูผสู้ อนในการใช้ Google
Classroom และพฒั นาครูในการอบรมการเรยี น
การสอนให้ Active learning กอ่ นเปิดภาคเรียน

ครูสร้างห้องเรยี นออนไลน์
นารหัสชน้ั เรียนส่งผ่านครูทปี่ รึกษา

ในการประชาสมั พันธ์

มกี ารทดลองการจัดการเรียนร้ใู นระยะที่ 2
เพอื่ สารวจการเรียนการสอนเบื้องต้น

มีการเช็คชื่อ
รายงานการเข้าชน้ั เรยี น และมีคณะกรรมการนเิ ทศ

ตดิ ตามการเรียนการสอนออนไลน์

สรุปรายงานการเขา้ ช้ันเรียนรายวนั /รายสัปดาห์
เสนอผูบ้ ริหารและสานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา

สุราษฎรธ์ านี ชุมพร

วิเคราะหผ์ ลการเข้าเรยี นชน้ั เรียน ติดตามนักเรยี น
กรณีพบนกั เรยี นมปี ญั หาจากการเรียน
ด้วยรูปแบบออนไลน์

ส่งขอ้ มูลนักเรียนกลมุ่ มีปัญหาทางการเรียนให้กลุม่ กิจการ
นักเรียนได้ดาเนินการเยยี่ มบ้านชว่ ยเหลือนักเรยี นเปน็
รายบุคคลซึ่งเปน็ ส่วนหน่ึงของระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น

ตอ่ ไป

22

23

แนวปฏบิ ัติสาหรบั โรงเรียนปากแพรกวิทยาคม
ในการเปิดภาคเรียนให้นักเรยี นมาเรียนในห้องเรียน หรือ on Site 100%

1. ประชมุ คร/ู บคุ ลากรทาความเขา้ ใจกระบวนการเรียนการสอน/กระบวนการดูแลตามแผนคู่มือและเผชิญเหตุ
รองรบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019

2. มีการประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ สร้างความเข้าใจ ผู้ปกครอง โดยผ่านครูที่ปรึกษาทางไลน์กลุ่มผู้และเฟซบุ๊ก
ของโรงเรียนปากแพรกวิทยาคม

3. ส่งเสรมิ ให้ครแู ละบุคลากรในโรงเรยี นปากแพรกวิทยาคมฉีดวคั ซนี
4. จัดทาตารางการจัดการเรียนการสอนแบบ on-site
5. จัดห้องเรยี นให้มีการเว้นระยะหา่ ง 1-2 เมตร ตามมาตรการการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019
6. ใหเ้ ปิดประตูหนา้ ต่าง ทุกบานเพื่อชว่ ยระบายอากาศ และใหอ้ ากาศถ่ายเทได้สะดวก
7. มีมาตรการการคัดกรองอย่างเขม้ ขน้ ดงั น้ี

7.1 จดั ตงั้ จดุ /บริเวณคดั กรองบรเิ วณทางเขา้ สถานศึกษา วดั อณุ หภูมิ (> 37.5° C ถอื วา่ มีไข้)
7.2 ทาความสะอาด/ฆ่าเช้อื ในบรเิ วณโรงเรยี น ห้องเรยี น
7.3 เตรยี มความพร้อมหอ้ งเรียนต่างๆ โตะ๊ เกา้ อนี้ กั เรียน
7.4 เตรยี มอุปกรณ์การคัดกรองนักเรียนทุกบริเวณทใี่ ชส้ ่วนรวม
7.5 มจี ุดทิง้ ขยะตดิ เชื้อ (สาหรบั ท้ิงหน้ากากอนามัยทใ่ี ช้แล้ว)
7.6 มจี ุดบรกิ ารลา้ งมอื ครอบคลุมท่วั ท้งั บริเวณโรงเรียน ให้ผถู้ กู คดั กรองล้างมอื ดว้ ยสบแู่ ละนา้ หรือเจลแอลกอฮอล์
7.7 มีการสง่ เสรมิ และตรวจสอบการสวมหนา้ กากของบคุ คลทุกคนทเี่ ข้ามาในสถานศึกษา
7.8 ซักประวัติเส่ียง อาการทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง (มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหน่ือยหอบ

ไม่ไดก้ ลิน่ ไมร่ ูร้ ส) และบนั ทึกผลในแบบบนั ทกึ การตรวจคัดกรองสขุ ภาพ
 กรณี วัดอุณหภูมิกาย < 37.5° C ไม่มีอาการทางเดินหายใจ ไม่มีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วย
ยืนยันให้ตดิ สัญลกั ษณ์หรอื สติ๊กเกอร์ เขา้ เรียน/ปฏิบัตงิ านไดต้ ามปกติ
 กรณี วดั อุณหภูมิกาย > 37.5° C ขน้ึ ไป ร่วมกับอาการทางเดินหายใจอยา่ งใดอย่างหนึ่ง และ/หรือมี
ประวตั สิ มั ผัสใกลช้ ิดกบั ผปู้ ว่ ยยืนยัน ให้แยกนักเรยี นไว้ในห้องหรือบริเวณท่ีจัดเตรียมไว้ แจ้งผู้ปกครอง
แจ้งเจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสุขสอบสวนโรค และดาเนินการตามคาแนะนา
8. มมี าตรการประจาจุดตา่ งๆในบรเิ วณโรงเรียน ดงั น้ี
8.1 ห้องเรียน ห้องปฏบิ ัติการ หอ้ งคอมพวิ เตอร์ และห้องดนตรี
1) จัดโตะ๊ เกา้ อหี้ รือท่ีนัง่ ใหม้ ีการเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร และจัดทา
สญั ลักษณแ์ สดงจุดตาแหนง่ ชดั เจน การใช้พ้นื ทใ่ี ชส้ อยบรเิ วณสถานศึกษาโดยยึดหลกั Social distancing
2) จดั ใหม้ กี ารเหลื่อมเวลาเรยี น เน้นให้นักเรยี นสวมหนา้ กากผา้ หรือหน้ากากอนามัยขณะเรยี ตลอดเวลา
3) จดั ให้มีการระบายอากาศท่ีดีใหอ้ ากาศถ่ายเทสะดวก เช่น เปิดประตู หนา้ ตา่ ง และทาความสะอาด
อย่างสมา่ เสมอ
4) จดั ให้มเี จลแอลกอฮอล์ใช้ทาความสะอาดมือสาหรบั นักเรียนและครูประจาทุกห้องเรียน
5) มกี ารทาความสะอาดโตะ๊ -เก้าอแี้ ละอุปกรณ์ทส่ี ัมผัสเส่ียง เช่น ลูกบดิ ประตู ของใชร้ ว่ มกัน อยา่ งน้อย

24

วันละ 2 ครงั้ เช้ากอ่ นเรียนและพกั เท่ียงหรือกรณีมกี ารย้ายหอ้ งเรยี น ตอ้ งทาความสะอาดโตะ๊ เก้าอกี้ ่อนและ
หลงั ใช้งานทุกครั้ง

8.2 ห้องสมุด
1) จดั โตะ๊ -เกา้ อี้หรือทีน่ ่งั ใหม้ ีการเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตรและทาสญั ลกั ษณ์

แสดงจุดตาแหน่งชัดเจน
2) จดั ให้มีการระบายอากาศที่ดใี ห้อากาศถ่ายเทสะดวก เช่น เปิดประตู-หนา้ ต่าง และทาความสะอาดอย่าง

สม่าเสมอ
3) มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทาความสะอาดมือสาหรับครู บรรณารักษ์ นักเรียน และผู้ใช้บริการบริเวณ

ทางเขา้ ด้านหน้าและภายในหอ้ งสมุดอยา่ งเพียงพอ
4) ทาความสะอาดโตะ๊ -เกา้ อี้ อุปกรณ์และจุดสัมผัสเส่ียง เช่น ลูกบิดประตู ช้ันวางหนังสือ เป็นประจา

ทกุ วนั วนั ละ 2 ครง้ั เชน่ ตอนเช้าก่อนให้บรกิ ารและชว่ งพักเที่ยง
5) จากัดจานวนคนและเวลาในการเข้าใช้บริการห้องสมุด ให้นักเรียนและผู้ใช้บริการทุกคนสวม

หนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามัยขณะใชบ้ ริการห้องสมุดตลอดเวลา
8.3 ห้องประชมุ หอประชุม

1) จัดให้มีการคัดกรองตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายก่อนเข้าห้องประชุม หอประชุม หากพบผู้มีอาการไข้
ไอ เจบ็ คอ หายใจลาบาก เหนอื่ ยหอบ จมูกไม่ไดก้ ลิน่ ล้นิ ไม่รูร้ ส ให้งดรว่ มประชุมและแนะนาให้ไปพบแพทย์โดยทนั ที

2) จัดโต๊ะ-เก้าอ้ี หรือท่ีนั่ง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล 1 - 2 เมตร และจัดทาสัญลักษณ์
แสดงจุดตาแหน่งชดั เจน

25

3) ผู้เขา้ ประชุมทกุ คนสวมหน้ากากผา้ หรอื หนา้ กากอนามัยขณะประชมุ ตลอดเวลา
4) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทาความสะอาดมือสาหรับผู้เข้าประชุม บริเวณทางเข้าภายในอาคาร
หอประชุม บริเวณทางเขา้ ดา้ นหน้าและดา้ นในของหอ้ งประชุมอยา่ งเพยี งพอและท่ัวถึง
5) งดหรือหลกี เลีย่ งการให้บรกิ ารอาหารและเครอ่ื งดื่มภายในหอ้ งประชุม
6) ทาความสะอาดโต๊ะ-เก้าอ้ี อุปกรณ์และจุดสัมผัสเสี่ยง เช่น ลูกบิดประตู รีโมท อุปกรณ์ต่าง ๆ ก่อน
และหลังใช้ห้องประชุมทกุ ครง้ั
7) จัดให้มีระบบระบายอากาศทด่ี ี ถา่ ยเทสะดวก เช่น เปดิ ประตู-หน้าต่าง ก่อนและหลังใช้ห้องประชุม
ทุกครัง้ หลีกเลย่ี งการใชเ้ ครอื่ งปรบั อากาศ และทาความสะอาดอย่างสม่าเสมอ

8.4 ห้องนา้ /ห้องสว้ ม
1) จดั เตรียมอุปกรณ์ทาความสะอาดให้เพียงพอ ได้แก่ น้ายาทาความสะอาดหรือน้ายาฆ่าเชื้อ ถังขยะ

ถังน้า ไม้ถูพ้ืน ไม้คีบด้ามยาวสาหรับเก็บขยะ ผ้าเช็ดทาความสะอาด และอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันเช้ือโรคท่ี
เหมาะสมกบั การปฏบิ ตั งิ าน เช่น ถุงมอื หน้ากากผ้า เสอื้ ผ้าทจี่ ะนา้ มาเปลยี่ น หลังทาความสะอาด

2) การทาความสะอาดหอ้ งนา้ ห้องส้วม อย่างน้อยวันละ 2 คร้งั
3) ผู้ปฏิบัติงานท่ีดูแลความสะอาดและผู้ปฏิบัติงานเก็บขยะ ให้สวมถุงมือยาง หน้ากากผ้า เส้ือกันฝน
หรอื ผา้ ยางกนั เปื้อน รองเท้ายางหุ้มสงู ถึงหน้าแข้ง และใช้อุปกรณ์ปากคีบด้ามยาวเก็บขยะ ใส่ถุงขยะปิดปากถุง
ใหม้ ิดชิด นาไปพกั ไว้ที่พักขยะ แลว้ ลา้ งมอื ให้สะอาดทุกคร้งั ภายหลงั ปฏิบตั งิ าน

8.5 หอ้ งพักครู
1) จัดโต๊ะ-เก้าอี้ หรือท่ีน่ังให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร คานึงถึงสภาพ

ห้องและขนาดพื้นที่ และจัดทาสัญลักษณ์แสดงจุดตาแหน่งชัดเจน โดยถือปฏิบัติตามหลัก Social distancing
อยา่ งเคร่งครดั

2) ให้ครสู วมหนา้ กากผ้าหรอื หนา้ กากอนามัยตลอดเวลาท่ีอยู่ในสถานศกึ ษา

26

3) จัดให้มีการระบายอากาศท่ีดีและถ่ายเทสะดวก เช่น เปิดประตู-หน้าต่าง งดใช้เคร่ืองปรับอากาศ
ควรเปิดประต-ู หน้าต่างให้ระบายอากาศ และทาความสะอาดอยา่ งสม่าเสมอ

4) มีการทาความสะอาดโต๊ะ-เกา้ อ้ี อปุ กรณ์ และจดุ สมั ผัสเสี่ยง เช่น ลูกบิดประตู อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
เป็นประจาทุกวนั อยา่ งนอ้ ยวนั ละ 2 คร้ัง

5) จัดเตรียมเจลแอลกอฮอล์ใช้ทาความสะอาดมือสาหรับครูและผู้มาติดต่อบริเวณประตูทางเข้าและ
ภายในห้องอย่างเพยี งพอและท่ัวถึง

8.6 หอ้ งพยาบาล
1) จัดให้มคี รหู รือเจ้าหน้าที่เพอ่ื ดแู ลนกั เรียน ในกรณีทมี่ นี กั เรยี นป่วยมานอนพกั รอผู้ปกครองมารบั
2) มีพืน้ ท่ีหรือห้องแยกอยา่ งชดั เจน ระหว่างนกั เรียนป่วยจากอาการไข้หวัดกับนักเรียนป่วยจากสาเหตุ

อื่น ๆ เพือ่ ป้องกันการแพร่กระจายเช้ือโรค
3) ทาความสะอาดเตยี งและอุปกรณ์ของใช้ทกุ วนั
4) จัดเตรียมเจลแอลกอฮอลใ์ ช้ทาความสะอาดมอื บรเิ วณทางเขา้ หน้าประตูและภายในหอ้ งพยาบาลอยา่ งเพยี งพอ

9. จดั ประชุมรถรบั ส่งนักเรียน/ตรวจคัดกรองเบ้ืองตน้ /จัดทาทะเบยี นรถรับส่ง/มีมาตรการก่อนนักเรียนขน้ึ รถรับสง่
10. จดั ประชมุ ผู้ประกอบการโรงอาหาร/จดั ทาทะเบยี นแม่ค้า/ตรวจคดั กรองเบื้องตน้
11. มีการเย่ยี มบ้านออนไลน์
12. ผรู้ บั ผดิ ชอบรวบรวมข้อมลู รายงานผลใหผ้ ู้บริหารสถานศกึ ษาทราบ

แนวปฏบิ ัติสาหรับกรณเี กิดการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
ในโรงเรียนปากแพรกวทิ ยาคม

กจิ กรรมการเฝ้าระวังก่อนการระบาด
1) ใหม้ ีการตรวจสอบการลาป่วยของนักเรยี นและบุคลากรในสถานศกึ ษา หากพบว่าผู้ป่วยมาก ผิดปกติ ให้
รายงานเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสุขในพื้นท่ีทราบ
2) ใหม้ ีการคดั กรองไขบ้ รเิ วณทางเขา้ โรงเรียนทุกวัน หากพบว่า มเี ดก็ ทมี่ ีไข้จานวนมากผิดปกติให้ แจง้
เจ้าหน้าทอี่ าสาสาธารณสุขหมบู่ า้ น (อสม.)
3) ใหเ้ จา้ หน้าทห่ี อ้ งพยาบาลของโรงเรียนบันทกึ รายชื่อและอาการของนักเรยี นทป่ี ่วย

กจิ กรรมเมื่อมกี ารระบาด
27

1) ปิดสถานศกึ ษา/ช้ันปี/ชั้นเรียน เพือ่ ทาความสะอาดเปน็ ระยะเวลา 3 วนั
2) เปลี่ยนรูปแบบการจดั การเรียนการสอนจากรูปแบบ On-site เปน็ รูปแบบ Online
3) ผู้รบั ผดิ ชอบตดิ ตามอาการนักเรียนและรายงานผลให้ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้ที่เกี่ยวขอ้ งรบั ทราบ
และประเมนิ สถานการณ์ต่อไป
4) โรงเรียนประสานความรว่ มมือภาคีเครือข่ายทกุ ภาคสว่ น เชน่ ผู้ปกครองนักเรียน อาสาสมัครสาธารณสุข
หมู่บ้าน(อสม.)ภายในพ้ืนที่ โรงพยาบาลดอนสัก สานักงานสาธารณสุขอาเภอดอนสัก และศูนย์ข้อมูล
สถานการณ์การแพร่ระบาดโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จงั หวดั สุราษฎร์ธานี และสานักงานเขต
พ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร เพ่ือให้ดาเนินการติดตามและเฝ้าระวังผู้บริหาร ครู บุคลากร
และนกั เรยี นทต่ี ดิ เช้อื และมคี วามเสยี่ ง
5) โรงเรยี นติดตามและรายงานผลต่อภาคีเครือข่ายทกุ ภาคส่วน

ขั้นตอนการดาเนินการคดั กรองและสง่ ตอ่ นักเรียนและบคุ ลากรในสถานศกึ ษา
ในการป้องกนั ควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019

28

แนวปฏิบตั ิสาหรบั มาตรการการรบั ประทานอาหารทีโ่ รงอาหาร

ข้ันเตรยี มการ
1. มีการจัดโต๊ะเรียน เก้าอ้ีนั่งเรียน ที่นั่งในโรงอาหาร ที่น่ังพัก โดยจัดเว้นระยะห่าง ระหว่างกันอย่าง

นอ้ ย 1-2 เมตร มที ก่ี นั้ สาหรบั นักเรียนนั่งรบั ประทานอาหาร (ยึดหลกั Social distancing)

งานทีไ่ ดป้ ฏิบัติ
การจดั ท่นี ัง่ โรงอาหาร

 จดั ระยะห่างในการเข้าแถวรบั อาหารจากฝา่ ยบริการอาหารของโรงเรียน โดยยึดหลกั Social distancing
 จัดโตะ๊ ที่น่ังในโรงอาหาร โตะ๊ ละ 2 คน อยู่คนละมุม ห่าง 1 เมตร โดยยึดหลัก Social distancing
 เว้นระยะหา่ งในการเกบ็ ภาชนะ เม่อื รบั ประทานอาหารเสร็จเรียบรอ้ ย

แนวปฏบิ ตั สิ าหรบั มาตรการการรบั ประทานอาหารทโี่ รงอาหาร
2. มีการจัดเหล่ือมเวลาทากจิ กรรมนักเรียน เหลอ่ื มเวลารับประทานอาหารกลางวัน
3. มกี ารกาหนดใหใ้ ชข้ องใช้สว่ นตัว ไม่ใช้สง่ิ ของรว่ มกบั ผูอ้ นื่ เชน่ แกว้ น้า ช้อน ส้อม แปรงสีฟัน ยาสฟี ัน

งานทไี่ ดป้ ฏบิ ตั ิ
 ในการรับประทานอาหารใช้กล่องอาหาร ใช้แก้วน้าดื่ม ช้อน ท่ีมีคุณภาพ ใช้แล้วท้ิง เพ่ือไม่ให้ใช้
ภาชนะซ้ากัน
 นักเรียนเข้าแถวเว้นระยะห่าง ตามสัญลักษณ์ลูกศรที่กาหนดไว้ เพ่ือเข้าแถวในรับอาหารและน้า
ด่มื จากฝ่ายบรกิ ารอาหาร
 เมื่อนักเรียนรับอาหาจากฝ่ายบริการอาหาร และน้าดื่ม ของทางโรงเรียนเรียบร้อยแล้ว เดินตาม
สัญลักษณล์ กู ศรท่กี าหนดไว้ไปยังโตะ๊ น่งั รับประทานอาหาร (หา้ มนง่ั ทม่ี ีสญั ลกั ษณ์กากบาทสแี ดง)

แนวปฏิบตั สิ าหรับมาตรการการรับประทานอาหารท่โี รงอาหาร
4. มีการจัดอ่างล้างมือ บรเิ วณทางเข้าโรงอาหาร

29

แนวปฏบิ ตั สิ าหรบั การจัดอ่างล้างมือ บริเวณทางเขา้ โรงอาหาร
ขน้ั ดาเนินการ

1) นักเรียนทุกคนต้องผ่านจุดคัดกรองก่อนเข้าโรงอาหาร โดยล้างมือตรงอ่างล้างมือ วัดอุณหภูมิ
ล้างเจลแอลกอฮอล์

2) นกั เรียนเดนิ ตามลูกศรเข้าโรงอาหาร โดยเวน้ ระยะหา่ งอย่างเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย
3) นกั เรยี นน่ังประจาที่ ซึง่ มีทก่ี ้ันระหว่างบุคคลในการรับประทานอาหาร
4) แม่คา้ ในโรงอาหารทกุ คนสวมหน้ากากอนามยั
5) แม่ค้าในโรงอาหารทาความสะอาด เช็ดถูบรเิ วณโรงอาหารทกุ ครั้งทนี่ ักเรียนสลับรอบมาทานอาหาร
และฉีดยาฆา่ เช้อื บรเิ วณโรงอาหารวันเว้นวนั

30

การเตรียมความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรยี น (Reopening)

ทาไมตอ้ งเปิดเรยี น
การหยุดชะงักของการเรียนการสอน อาจส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อความสามารถในการเรียนรู้

ของนักเรียน โดยเฉพาะกลุ่มเด็กด้อยโอกาสหรือเด็กกลุ่มเปราะบาง หากหยุดเรียนนาน แนวโน้มจะกลับคืน
สถานศึกษาก็ย่ิงลดลงเด็กทามาจากครอบครัวยากจนมีแนวโน้มออกจากสถานศึกษาสูงกว่าเด็กทามาจาก
ครอบครัวร่ารวยเกือบห้าเท่าการออกจากระบบการศึกษาเพิ่มความเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และการ
แสวงหาประโยชน์ทางเพศ รวมท้ังปัญหา ความรุนแรงและการคุกคามอ่ืน ๆ นอกจากนี้ การปิดสถานศึกษา
ยาวนานมาก ทาให้บริการสุขภาพที่สาคัญต่าง ๆ ที่ใช้โรงเรียนเป็นฐานต้องหยุดชะงักด้วย เช่น การฉีดวัคซีน
การประเมินภาวะโภชนาการโครงการอาหารกลางวัน และการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตและจิตสังคม
ทาให้นักเรียนเครียดและวิตกกังวลเนื่องจากขาดการมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนและไม่ได้ทากิจวัตรประจาวัน
ตามปกติ ผลกระทบเซิงลบเหล่านี้จะย่ิงรุนแรงมากข้ึนในกลุ่มเด็กด้อยโอกาส เช่น เด็กพิการ เด็กในพื้นท่ีเฉพาะ
หรือพื้นท่หี ่างไกล เด็กที่ถกู บังคับใหโ้ ยกยา้ ยถิ่นฐาน ชนกลุ่มน้อยและเด็กในความดูแลของสถานสงเคราะห์ต่าง ๆ
ท้งั น้ี การเปดิ เรียนจะต้องคานงึ ถึงความปลอดภัยและสอดคล้องกบั มาตรการดา้ นสาธารณสุข ในการป้องกันการ
แพรร่ ะบาดชองโรคโควิด 19 พร้อมทั้งปฏิบัติตามมาตรการท่ีเหมาะสมทุกประการสาหรับผู้บริหารสถานศึกษา
นกั เรยี น ครู บคุ ลากรสถานศึกษาและผปู้ กครอง

ควรเปดิ เรียนเมือ่ ไหร่ ทไี่ หนและสถานศกึ ษาใดบา้ ง
การเลือกเวลาทีเ่ หมาะสมทสี่ ุดในการเปิดภาคเรียน ควรพิจารณาถึงประโยชน์สูงสุดชองนักเรียนเป็น

สาคัญ รวมทั้งข้อควรพิจารณาด้านสาธารณสุขโดยรวม บนพ้ืนฐานชองการประเมินคุณประโยชน์และความ
เส่ียงท่ีเก่ียวช้อง ประกอบกับหลักฐานจากภาคส่วนต่าง ๆ และบริบทเฉพาะรวมถึงปัจจัยท่ีส่งผลต่อการศึกษา
สาธารณสุข เศรษฐกิจ และสังคม การวิเคราะห์ส่ิงเหล่าน้ีจะช่วยจัดลาดับความสาคัญชองมาตรการลดความ
เสี่ยงต่าง ๆ นอกจากนี้ ควรให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระดับท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ เพื่อให้การ
ดาเนินงานสอดคลอ้ งกับผลการวเิ คราะห์ บริบทของท้องถ่ินอย่างแท้จริง โดยคานึงถึงประโยชน์ฃองการจัดการ
เรียนการสอนในห้องเรียนเปรียบเทียบกับ การจัดการเรียนการสอนทางไกล และพิจารณาปัจจัยเสี่ยงของการ
เปดิ สถานศกึ ษา รวมทัง้ หลักฐานซ่ึงยังไมไ่ ดส้ รุปแน่ซัด เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างความเส่ียงชองการติดเช้ือ
กับการเข้าเรียน ประกอบดว้ ย

1. การเรยี นการสอนในห้องเรียนจาเปน็ เพียงใดต่อการบรรลุผลการเรียนรู้ท่ีต้องการ (ความรู้พ้ืนฐาน
ความรู้ ถา่ ยทอดได้ความรูด้ จิ ิทลั ความรู้เฉพาะสาขาอาชพี ) โดยตระหนักถึงประเด็นต่าง ๆ เช่น ความสาคัญของ
การมีปฏสิ มั พนั ธโ์ ดยตรงกับครูในการเรียนรู้ผ่านการเลน่ ของเด็กเลก็ และการพัฒนา ทกั ษะพ้นื ฐาน

31

2. ความสามารถในการเข้าถึงและความพร้อมในการเรียนการสอนทางไกลท่ีมีคุณภาพมีมากน้อย
เพยี งใด (ทงั้ ในดา้ นผลการเรียนรู้ และความเหมาะสมกับกลุ่มอายุตา่ ง ๆ รวมทัง้ กลุ่มเด็กดอ้ ยโอกาส)

3. รูปแบบการเรียนการสอนทางไกลในปัจจุบัน รวมถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้และสุขภาวะทาง
อารมณ์และสังคมจะยั่งยืนเพียงใด หากผู้ดูแลเด็กได้รับแรงกดดันในครอบครัวและปัจจัยเชิงบริบทอ่ืน ๆ

4. ผู้ดูแลเด็กมีเคร่ืองมือท่ีจาเป็นในการปกป้องคุ้มครองเด็กจากการถูกคุกคามและการใช้ความ
รนุ แรงทางเพศในโลกออนไลน์ เมือ่ เดก็ เรยี นผ่านแพลตฟอรม์ ออนไลนห์ รือไม่

5. จุดเปลี่ยนผ่านสาคัญบนเส้นทางของการศึกษา (ความพร้อมในการเข้าเรียน การสาเร็จ
ชั้นประถมศึกษาและเรียนต่อระดับมัธยมศึกษา หรือการสาเร็จช้ันมัธยมศึกษาและเรียนต่อระดับอุดมศึกษา)
ไดร้ บั ผลกระทบ จากการระบาดของโรคอย่างไร และมมี าตรการตอบสนองอยา่ งไร

6. ครูและบุคลากรสถานศึกษา มีความพร้อมและสามารถปรบั ตัวเข้ากับวิถีการเรียนรู้และการบริหาร
จัดการท่แี ตกต่างออกไปมากน้อยเพียงใดและมีความพร้อมและสามารถดาเนินมาตรการเพื่อป้องกันและควบคุม
การแพร่ระบาดหรือไม่

7. การที่นักเรียนไม่ได้ไปเรียนในสถานศึกษา มีความเสียงด้านการคุ้มครองเด็กหรือไม่ เซ่น ความ
เสียง ด้านความรุนแรงในครอบครัวที่เพิ่มข้ึน หรือการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็กขายและเด็กหญิง

8. การปดิ สถานศกึ ษาเปน็ อปุ สรรคตอ่ โครงการช่วยเหลอื ต่าง ๆ สถานศึกษามบี รกิ ารใหก้ ับนักเรยี น หรือไม่
9. การท่ีนักเรียนไมไ่ ด้ไปเรียนในสถานศึกษาส่งผลกระทบด้านสังคม เศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของ
นกั เรียนอย่างไร สถานศึกษามีศักยภาพเพียงใดในการปฏิบัติตามมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา
เพ่ือลดความเสี่ยง เช่น การเว้นระยะห่างทางสังคม (จานวนนักเรียนต่อขนาดของห้องเรียน) ส่ิงอานวยความ
สะดวกและแนวปฏบิ ตั ิ ด้านน้า สุขาภิบาล และสขุ อนามัย เปน็ ตน้
10. สมาชกิ ของสถานศกึ ษามีโอกาสตดิ ตอ่ สมั ผัสกบั กลมุ่ ท่ีมคี วามเสี่ยงสูงกว่า เช่น ผู้สูงอายุ และผู้ท่ีมี
โรคประจาตัว มากน้อยเพียงใด และหากมีโอกาสติดต่อสัมผัสสูง สถานศึกษามีการดาเนินงานอย่างเพียงพอเพื่อ
ลดโอกาส ดงั กล่าวลงหรือไม่
11. สมาชิกของสถานศึกษาเดนิ ทางไป - กลบั อย่างไร
12. ปัจจัยเสีย่ งทเี่ กย่ี วข้องกบั ชมุ ซนมอี ะไรบ้าง โดยพจิ ารณาถึงปจั จัยทางระบาดวิทยา ศักยภาพด้าน
สาธารณสุขและการดูแลสุขภาพ ความหนาแน่นของประชากร การปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยที่ดีและการเว้น
ระยะห่างทางสังคม การวิเคราะห์คุณประโยซน์และความเสี่ยงโดยคานึงถึงบริบทเฉพาะจะช่วยให้สถานศึกษาสามารถ
12.1) ความเข้าใจเกี่ยวกับการแพร่เช้ือโรคโควิด 19 และความรุนแรงของโรคในประชากรวัยเรียน
12.2) สถานการณ์และการระบาดของโรคโควิด 19 ในพนื้ ทีท่ ีส่ ถานศกึ ษาตง้ั อยู่
12.3) บริบทและความพร้อมของสถานศึกษาในการป้องกันและควบคมุ โรคในสถานศึกษา
12.4) การประเมินผลกระทบท่ีอาจเกิดข้นึ กับนักเรยี น หากสถานศกึ ษาปิด
(อาทิ ความเสี่ยงต่อการไม่กลับมาเรียนของนักเรียน การเพ่ิมข้ึนของความเหล่ือมล้าในการได้รับการศึกษาการ
ขาดแคลนอาหาร ความรุนแรงในครอบครัวที่เพิ่มสูงข้ึนจากความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ) และความจาเป็นท่ี
จะต้องเปิดสถานศึกษา อย่างน้อยเป็นบางส่วนให้แก่นักเรียนท่ีผู้ปกครองทางานในภาคส่วนท่ีมีหน้าที่ควบคุม

32

สถานการณ์โรคหรือบรกิ ารสาธารณะทจี่ าเป็นของประเทศ
13. หากเป็นไปได้ควรมีเวลาอย่างน้อย 14 วัน ระหว่างแต่ละระยะ (phase) ของการยกเลิกข้อห้าม

ตา่ ง ๆ เพื่อใหม้ ีเวลาเพียงพอในการติดตามผลและวางแผนปรบั มาตรการต่าง ๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
มาตรการการเตรยี มความพร้อมกอ่ นเปดิ ภาคเรียน (Preparation before reopening)

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ส่งผลกระทบอย่างมากต่ อทุกภาคส่วน
เม่ือสถานการณ์เป็นไปในทางที่ดีขึ้น การเปิดสถานศึกษาหลังจากปิดจากสถานการณ์ โควิด 19 มีความจาเป็น
อย่างยิ่งในการเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา การปฏิบัติตนของนักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษา
เพอื่ ลดโอกาส การตดิ เช้อื และปอ้ งกนั ไมใ่ ห้เกิดการติดเช้ือโรคโควดิ 19 ให้เกิดความปลอดภัยแก่ทุกคน จึงควรมี
การประเมินความพร้อมการเปิดภาคเรยี นของสถานศึกษา

ซ่ึงองค์การเพ่ือเด็กแห่งสหประชาชาติ และองค์กรภาคี ได้เสนอ กรอบแนวทาง 6 มิติ ได้แก่
การดาเนินงานเพื่อความปลอดภัย การเรียนรู้ การครอบคลุมถึงเด็กด้อยโอกาส สวัสดิภาพและการคุ้มครอง
นโยบาย และการบริหารการเงิน จึงมีแนวคิดในการสร้างความเช่ือมโยงกับ มาตรการป้องกันโรคเพื่อป้องกัน
การแพร่ระบาดของโควิด 19 ของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(โควิด 19) (คบค.) อันจะเป็นการวางแผนท่ีจะช่วยสร้างเสริมความเข้มแข็ง ด้านการคุ้มครองสุขภาพ
และความปลอดภัยของนักเรียน โดยมีมาตรการควบคุมหลักในมิติการดาเนินงาน เพ่ือความปลอดภัยจากการ
ลดการแพร่เชอ้ื โรค 6 ขอ้ ปฏบิ ัติในสถานศึกษา ได้แก่

โดยมีรายละเอียดแนวปฏิบัติแต่ละมาตรการ มาตรการควบคุมหลักในมิติอื่น อาทิ การเรียนรู้
การครอบคลุมถึงเด็กด้อยโอกาส สวัสดิภาพและการคุ้มครอง นโยบาย และการบริหารการเงิน ตลอดจน
มาตรการเสริมในแต่ละมิติ ดังน้ัน จึงมีความเช่ือมโยงตามกรอบแนวทาง 6 มิติกับมาตรการการป้องกันโรค
เพ่อื ป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโควิด 19 ในการเตรยี มความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรยี น มดี งั น้ี

33

ความเชอ่ื มโยง 6 มิตกิ บั มาตรการการเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเปิดภาคเรยี น

มติ ิ มาตรการควบคุมหลัก มาตรการเสรมิ

1. ความปลอดภยั 1. มีมาตรการคัดกรองวัดไข้และ อาการเสี่ยง ก่อน 1. ทาความสะอาดพ้ืนท่ีที่นักเรียน
จากการลดการแพร่
เช้ือโรค เข้าสถานศึกษา พร้อมสังเกตอาการไข้ไอ มีน้ามูก ไข้ร่วมกัน ก่อนและหลังไข้งาน ทุกคร้ัง

2. การเรียนรู้ เจ็บคอ หายใจลาบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กล่ิน ไม่รู้รส เช่น ห้องคอมพิวเตอร์ หองดนตรี ลิฟต์

สาหรับนักเรียน บุคลากรสถานศึกษาและผู้มาติดต่อ อุปกรณ์กีฬา

ทกุ คน 2. วัดให้มีพื้นท่ีในการเข้าแถวทา

2. ใหน้ กั เรยี น บคุ ลากรและผูเ้ ขา้ มาในสถานศึกษาทุก กิจกรรมหรือเล่นกลุ่มย่อยเว้นระยะห่าง

คนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ระหว่างบคุ คล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร

ตลอดเวลาเมื่ออยใู่ นสถานศกึ ษา 3. ให้นักเรียนใช้ของใช้ส่วนตัว ไม่ใช้

3. ให้จุดบริการล้างม้ือด้วยสบู่และน้าหรือเจล ส่ิงของร่วมกับผู้อ่ืน เช่น แก้วน้า ช้อน

แอลกอฮอล์อย่างเพียงพอในบริเวณต่างๆ เช่น สอ้ ม แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ผ้าเช็ดหนา้

ทางเข้าอาคาร หอ้ งเรยี น โรงอาหาร 4. วัดให้มีห้องพยาบาลสาหรับแยกผู้มี

4. ให้วัดเว้นระยะห้างระหว่างบุคคล อย่างน้อย1-2 อาการป่วยระบบทางเดินหายใจออก

เมตร ระหว่างโต๊ะเรียน ท่ีน่ังเรียน ท่ีน่ังในโรงอาหาร จากผู้มีอาการป่วยระบบอื่น ๆ หรือ

ที่นั่งพัก ทางเดิน จุดรอคอย ห้องนอนเด็กเล็ก กรณี พจิ ารณาส่งไปสถานพยาบาล

ห้องเรียนไม่เพียงพอในการ จัดเร้นระยะห้างระหว่าง 5. นัดให้มีการสื่อสารความรู้การป้องกัน

บุคคล ควรวัดให้มีการสลับวันเรียนแต่ละขั้นเรียน โรคโควิด19 แก่นักเรียน บุคลากร

การแบ่งจานวน นักเรียน หรือการใช้พ้ืนที่ใช้สอย เพ่ือให้สามารถล้างมือ สวมและถอด

บริเวณสถานศึกษา ตามความ เหมาะสม ทั้งนี้อาจ หน้ากากอย่างถูกวิธีการเก็บรักษา

พจิ ารณวิธี ปฏบิ ัติอืน่ ตามบริบทความเหมาะสม หน้ากาก ช่วงพักเที่ยงและการทาความ

5. เปิดประตู หน้าต่างให้อากาศถ่ายเท ทาความ สะอาดสถานท่ีและอุปกรณ์ของใช้ที่ถูก

สะอาดห้องเรียนและบริเวณต่าง ๆ โดยเช็ดทาความ สุขลักษณะ ตลอดจนจัดให้มีนักเรียน

สะอาดพื้นผิวสัมผัสของโต๊ะ เก้าอี้และวัสดุอุปกรณ์ แกนนาด้านสุขภาพ นักเรียนท่ีมีจิต

ก่อนเข้าเรียน พักเที่ยงและหลังเลิกเรียนทุกวัน อาสาเป็นอาสาสมัครในการช่วยดูแล

รวมถึงจัดให้มีถังขยะมูลฝอยแบบมีฝาปิด รวบรวม สุขภาพเพ่ือนนักเรียนด้วยกันหรือดูแล

ขยะออกจากห้องเรียนเพอ่ื นาไปกาจดั ทกุ วัน รุน่ นอ้ งดว้ ย

6. ให้พิจารณาควบคุมจานวนนักเรียนท่ีมาร่วม 6. กรณี มีรถรับ - ส่งนักเรียนเน้นให้

กิจกรรมลดแออัดหรือลดเวลาทากิจกรรมให้พ้ืนลง ผู้โดยสารทุกคนสวมหน้ากากผ้าหรือ

เท่าท่ีจาเป็นหรือเหลือเวลาทากิจกรรมโดยถือหลัก หน้ า ก าก อ น ามั ย ท าค ว า มส ะ อ า ด

หลกี เลย่ี ง การติดตอ่ สัมผัสระหว่างกัน ยานพาหนะและบริเวณจุดสัมผัสร่วมกัน

เช่น ราวจับ เบาะนั่ง ที่วางแขน ก่อนรับ

และหลังจากส่งนักเรียนแล้วทุกคร้ัง ลด

การพูดคุยหรือเล่นกันบนรถ ตลอดจน

การจดั เวน้ ระยะหา่ ง ระหว่างทน่ี ง่ั

1. จัดหาส่ือความรู้ในการปอ้ งกนั ควบคมุ โรคโควิด 19 1. กรณีเด็กเล็กไม่แนะนาให้ใช้ส่ือการ

สาหรับใช้ในการเรียนการสอน การเรียนรู้ นอก เรียนการสอนแบบออนไลน์ โดยขาด

34

มิติ มาตรการควบคุมหลัก มาตรการเสรมิ

ห้องเรียนหรือกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน ในรูปแบบของ ปฏิสมั พนั ธก์ ับผูส้ อนครู ผปู้ กครอง

ส่ือออนไลน์ : VTR , Animation, Infographic และ 2. ไม่ปล่อยให้เด็กและวัยรุ่นอยู่กับสื่อ

สื่อสิ่งพมิ พ์ : โปสเตอร์ แผ่นพับ คมู่ อื แนวปฏบิ ัติ ออนไลน์ (ที่ไม่ใช่ส่ือการเรียนการสอน)

2. เตรียมความพร้อมด้านการเรียนรู้ ของเด็กตามวัย นานเกนิ ไป โดยทว่ั ไปกาหนดระยะเวลา

และสอดคล้องกับ พัฒนาการด้านสังคม อารมณ์ - 1 ชั่วโมงต่อวนั สาหรับเดก็ เลก็ /

และสติปัญญา ประถมศึกษา

3. สร้างความเข้มแข็งของระบบดูแลช่วยเหลือ - 2 ชัว่ โมงต่อวัน สาหรบั เด็กโต /

นักเรียน โดยบูรณาการกิจกรรมส่งเสริมพัฒนา มัธยมศึกษา

นักเรียน ด้านทักษะชีวิต และความเข้มแข็ง ทางใจ 3. สง่ เสริมใหส้ ถานศึกษาและนกั เรยี น

เข้าในการเรียนการสอนปกติ เพื่อช่วยให้นักเรียน ประเมนิ ตนเองในการเตรียมความพร้อม

จัดการ ความเครียดและรับมือกับการ เปลี่ยนแปลง ก่อนเปดิ ภาคเรียนรองรบั สถานการณ์

ได้อย่างเหมาะสม การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 รวมถึง

มีการตรวจคัดกรองสุขภาพนักเรยี น

อยา่ งต่อเน่อื ง

4. สนบั สนุนใหน้ กั เรียนใช้สื่อรอบรู้ ด้าน

สขุ ภาพในรปู แบบและผา่ นช่องทาง

หลากหลายที่สามารถเขา้ ถึงได้ อนั จะ

ชว่ ยสง่ เสริมใหเ้ กิดความรอบรู้ดา้ น

สขุ ภาพ นาไปสู่การปฏิบัติตนด้าน

สุขภาพทเ่ี หมาะสม สะทอ้ นถึงการมี

พฤติกรรมสขุ ภาพที่พึงประสงค์ ลดโรค

และปลอดภัย

3. การครอบคลมุ ถงึ 1. จัดหาวัสดุส่ิงของเคร่ืองใช้และอุปกรณ์ล้างมือเช่น 1. ประสานและแสวงหาการสนบั สนุน

เดก็ ดอ้ ยโอกาส สบู่ เจลแอลกอฮอล์ หน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย วสั ดุอปุ กรณ์การป้องกนั โรคโควดิ 19

ก. เด็กพิเศษ อย่างเพียงพอ สาหรับนักเรียนและบุคลากรใน จากหนว่ ยงานของจังหวัดและผู้เกย่ี ว

ข. เดก็ ในพื้นท่ี สถานศึกษา ควรมีสารองโดยเฉพาะเด็กเล็กที่ติดเชื้อ ข้อง เช่น คบค.จ.ท้องถน่ิ เอกชน บริษทั

เฉพาะห่างไกลมาก ง่ายเพราะถา้ ช้นื แฉะจะไม่สามารถป้องกันเช้อื ได้ ห้างรา้ น ภาคประซาซน เปน็ ต้น

2. มกี ารปรับรูปแบบการเรียน การสอนให้สอดคล้อง 2. ประสานการดาเนนิ งานตามแนวทาง

กบั บริบทการเข้าถึงการเรียนร้สู ถานการณ์การระบาด พัฒนากิจกรรมผู้เรียนของกระทรวง

ของโรคโควดิ 19 ศึกษาธิการ กรณีมขี ้อจากดั ด้าน

3. มมี าตรการสง่ เสรมิ ใหน้ ักเรียนได้รับบริการสุขภาพ เทคโนโลยที างการศึกษา

ขัน้ พืน้ ฐานอยา่ งท่ัวถึง 3. ใช้สือ่ สร้างความเข้าใจเร่ือง โรคโควิด

4. มีมาตรการการทาความสะอาดและจัดสภาพ 19 และแนวทางการดูแลตัวเอง โดย

แวดล้อมของท่ีพกั และเรือนนอนใหถ้ ูกสขุ ลักษณะ คานึงถึง ข้อจากัดทางภาษาและสังคม

5. มีมาตรการการทาความสะอาดและจัดสภาพ กลุ่มนักเรียน พิการเรียนร่วม เลือกใช้

แวดลอ้ มให้สอดคล้องกับข้อบัญญัตกิ ารปฏบิ ตั ิดา้ น สื่อที่เป็นรูปภาพ หรือ เสียงที่เข้าใจง่าย

35

มิติ มาตรการควบคมุ หลัก มาตรการเสริม

ศาสนกิจ มากกว่าใช้ตัวอกั ษรเพียงอยา่ งเดยี ว

6. มีมาตรการดูแลนักเรียนที่มีความบกพร่องด้าน

พัฒนาการ การเรียนรู้ หรือด้านพฤติกรรม อารมณ์

สามารถเรียนรว่ มกับเดก็ ปกติ ได้แก่นักเรียนที่มีภาวะ

บกพร่องทางสติปัญญา บกพร่องทางการเรียนรู้

บกพร่องด้านพฤติกรรมอารมณ์ รวมถึงภาวะสมาธิ

สั้นและเดก็ ออทิสติก

4. สวัสดิภาพและ 1. จัดเตรียมแผนรองรับด้านการเรียนการสอน 1. สื่อสารทาความเข้าใจกบั บุคคลทุก
การคุ้มครอง
สาหรับนักเรียนป่วยกักตัวหรือกรณีปิดสถานศึกษา ฝา่ ยให้ขอ้ มูลที่ใหค้ วามเชื่อมนั่ ใน

ชว่ั คราว มาตรการป้องกันและการดแู ลตามระบบ

2. จัดเตรียมแนวปฏิบัติเพ่ือลดการรังเกียจและการ การดูแลช่วยเหลือ ในสถานศึกษา

ตตี ราทางสงั คม (Social stigma) โดยเฉพาะการระมัดระวัง การสื่อสาร

3. นัดเตรียมแนวปฏิบัติด้านการจัดการความเครียด และคาพดู ท่ีมีผลต่อทัศนคติ เพื่อลดการ

ของครแู ละบคุ ลากร รงั เกียจ การตีตราทางสงั คม (Social

4. ตรวจสอบประวัติเส่ียงของบุคลากรและนักเรียน stigma) กรณีที่อาจพบบคุ ลากร ใน

ตรวจสอบเรื่องการกักตัวให้ครบ 14 วัน ก่อนมาทา สถานศึกษา นกั เรยี น ผู้ปกครองตดิ โรค

การเรียนการสอนตามปกติและทุกวนั เปดิ เรยี น โควิด 19

5. กาหนดแนวทางปฏิบัติตามระเบียบสาหรับ 2. กรณีนักเรียนหรือบุคลากรป่วยจริง

บุคลากรและนักเรียนท่ีสงสัยติดเชื้อหรือป่วย ด้วย ต้องให้หยุดรักษาจนกว่าจะหายเป็น

โรคโควิด 19 โดยไม่ถอื เปน็ วันลาหรือวนั หยดุ เรยี น ปกติ โดยนาหลักฐานใบรับรองแพทย์มา

ยืนยัน เพ่ือกลับเข้าเรียนตามปกติ โดย

ไมถ่ ือว่าขาดเรยี นหรอื ขาดงาน

3. กักตัวผู้ใกล้ชิดกับผู้ป่วยตามเกณฑ์

ควบคุมโรคและดาเนินการช่วยเหลือ

เช่นเดียวกบั ผ้ปู ่วย

36

มิติ มาตรการควบคมุ หลกั มาตรการเสริม
5. นโยบาย
1. สื่อสารประชาสัมพันธ์แก่ครูและบุคลากรใน 1. จดั ระบบให้นกั เรียนสามารถเขา้ ถึง

สถานศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับ การศึกษาท่ีมคี ณุ ภาพอย่างต่อเน่อื งกรณี

โรคโควิด 19 ทักษะการล้างมือ การสวมหน้ากากผ้า ขาดเรียน ลาป่วย ปิดสถานศึกษา เชน่

หรือหน้ากากอนามัย สุขลักษณะส่วนบุคคลที่ดี จัดรูปแบบการเรยี นออนไลน์ผา่ นสือ่

รวมทั้งการทาความสะอาดอย่างถกู วธิ ี อิเลก็ ทรอนกิ ส์ การติดตอ่ ทางโทรศัพท์

2. ประชมุ ช้ีแจงคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน Social media การตดิ ตามเป็นรายวนั

แบบออนไลน์ หรือกลุ่มย่อยตามความจาเป็น หรอื รายสัปดาห์

3. มีแผนงานโครงการและกิจกรรมรองรับนโยบาย 2. พจิ ารณาปดิ สถานศกึ ษาตาม

และแนวทางการป้องกันโรคโควิด19 ของสถานศึกษา สถานการณ์และความเหมาะสม กรณี

4. แต่งตั้งคณะทางานรับผิดชอบเก่ียวกับโรคโควิด นกั เรียน ครูหรือบุคลากรในสถานศึกษา

19ในสถานศึกษา ประกอบด้วย ครู บุคลากร อยู่ในกล่มุ เส่ียงหรือเป็นผู้ปว่ ยยืนยนั ติด

สถานศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่ เช้อื เข้ามาในสถานศึกษาใหป้ ระสาน

สาธารณสุข และผเู้ ก่ยี วขอ้ ง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพอ่ื ทา

5. กาหนดบทบาทหน้าท่ี โดยมอบหมายครู ครู ความสะอาดอาคารสถานที่ ท้ังภายใน

อนามัยหรือบุคลากรสถานศึกษา ทาหน้าท่ีคัดกรอง ภายนอกอาคารและส่ิงของเครื่องใช้

วัดไข้นักเรียนสังเกตสอบถามอาการเสียงแ ละ รวมทง้ั รีบแจง้ หน่วยงานสาธารณสุขใน

ประสานงาน เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขในพ้ืนท่ีให้บริการ พนื้ ทเ่ี พือ่ ทาการสอบสวนโรค

ในห้องพยาบาล รวมทั้งการดูแลทาความสะอาดใน 3. ส่อื สารใหม้ คี วามร้เู กยี่ วกบั การสงั เกต

บริเวณ สถานศึกษาและบรเิ วณจุดเสยี่ ง อาการเสย่ี ง การมีแนวโนม้ เสี่ยงตอ่ การ

6.สื่อสารทาความเข้าใจผู้ปกครองและนักเรียน โดย ติดเชือ้ โควดิ 19 ได้งา่ ย ไดแ้ ก่ เดก็ ที่มี

เตรียมการก่อน เปิดภาคเรียนหรือวันแรกของการ อาการสมาธิสั้น (เปน็ โรคท่ีมีอาการแสดง

เปิดเรียนเก่ียวกับแนวทางการป้องกันโรคโควิด 19 ดา้ นพฤติกรรม : ซนเกนิ ไป ใจลอย รอ

และมซี ่องทางการติดตอ่ สื่อสาร คอยไม่ได้ รอคอยได้นอ้ ย) ทาให้เด็กกล่มุ

7. สถานศึกษามีการประเมินตนเอง เพ่ือเตรียมความ น้ี เส่ยี งต่อการสมั ผัสกบั บุคคลอ่นื ล้วง

พร้อมก่อนเปิดเรียนผ่านระบบออนไลน์ของ แคะ สมั ผสั ใบหน้า จมูก ปาก ตัวเอง

กระทรวงศึกษาธิการ/Thai STOP COVID รวมท้ังหลงลมื การใส่ หน้ากากผา้ หรอื

กรมอนามัยหรือตามแบบประเมินตนเองสาหรับ หน้ากากอนามยั

สถานศึกษาในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาค

เรียนเพ่ือเฝ้าระวัง และป้องกันการแพร่ระบาดของ

โรคโควิด 19

8. มีมาตรการการวัดการด้านความสะอาดรถ รับ -

ส่งนักเรียนและขี้แจงผู้ประกอบการเพื่อป้องกันการ

แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 โดยถือปฏิบัติอย่าง

เครง่ ครดั

9. เสริมสร้างวัคซีนชุมชนในสถานศึกษาโดย

มาตรการ “4 สร้าง 2 ใช้”

37

มิติ มาตรการควบคุมหลกั มาตรการเสรมิ

- สรา้ งสถานศกึ ษาทรี่ สู้ ึก “ปลอดภัย” (safety)
- สรา้ งสถานศกึ ษาท่ี “สงบ” (calm)
-สรา้ งสถานศึกษาที่มี “ความหวัง” (Hope)
- สรา้ งสถานศึกษาท่ี “เข้าใจ เหน็ ใจและให้โอกาส”
(De-stigmatization)
-ใช้ศกั ยภาพสถานศกึ ษาและชมุ ซน (Efficacy)
เช่น ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบ่งเป็นทรัพยากร
ในชมุ ชน
-ใชส้ ายสมั พนั ธ์ในสถานศกึ ษา (Connectedness)

6. การบริหาร 1. พิจารณาการใช้งบประมาณของการเงิน 1. ประสานงานและแสวงหาแหลง่ ทุน
การเงิน สถานศึกษาสาหรับกิจกรรมการป้องกันการระบาด และการสนบั สนนุ จากหน่วยงานองค์กร
ของโรคโควดิ 19 ตามความจาเปน็ และเหมาะสม หรอื ภาคเอกชน เซ่น ท้องถน่ิ บริษัท ห้าง
2. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ป้องกัน โรคโควิด 19 สาหรับ รา้ น NGO เปน็ ต้น เพ่อื สนับสนนุ กจิ กรรม
นกั เรียนและบคุ ลากรในสถานศึกษา เช่น หน้ากากผ้า การป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคใน
หรอื หนา้ กากอนามยั เจลแอลกอฮอล์ สบู่ เปน็ ตน้ สถานศกึ ษา

2. พิจารณาสรรหาบุคลากรเพ่ิมเตมิ ใน
การดแู ลนกั เรยี นและการจดั การ
สงิ่ แวดล้อมในสถานศกึ ษา

แนวปฏบิ ตั ิสาหรับสถานศกึ ษาระหว่างเปดิ ภาคเรยี น
ผูท้ มี่ ีประวัติไขห้ รือวัดอณุ หภูมิรา่ งกายได้ ต้งั แต่ 37.5 องศาเซลเซยี ส ขึ้นไป รว่ มกับอาการทางเดินหายใจ

อย่างใดอย่างหนึ่ง (มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส) และมีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับ
ผูป้ ่วยยืนยนั ในช่วง 14 วันกอ่ นมีอาการ ถอื วา่ เป็นผู้สัมผัสความเส่ียง (กลุ่มเส่ยี ง) ตอ้ งรบี แจ้งเจา้ หนา้ ที่ สาธารณสุข
ดาเนนิ การตอ่ ไป

หลักปฏิบตั ิในการของกนั การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศกึ ษา
1) คัดกรอง (Screening) : ผทู้ เี่ ข้ามาในสถานศึกษาทุกคนต้องไดร้ ับการคัดกรองวัดอุณหภูมิร่างกาย
2) สวมหนา้ กาก (Mask) : ทกุ คนตอ้ งสวมหนา้ กากผ้าหรอื หน้ากากอนามัย ตลอดเวลาทีอ่ ยู่ในสถานศกึ ษา
3) ล้างมือ : ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้านานอย่างน้อย 20 วินาทีหรือไข้เจลแอลกอฮอล์ (Hand Washing)
หลีกเลี่ยงการสมั ผสั บริเวณจดุ เสย่ี ง เช่น ราวบันได ลูกบิดประตู เป็นต้น รวมทั้งไม่ใช้มือสัมผัส ใบหน้า ตา ปาก
จมกู โดยไมจ่ าเป็น
4) เว้นระยะห่าง:เวน้ ระยะห่างระหวา่ งบคุ คลอยา่ งน้อย1-2เมตรรวมถึงการจัดเวน้ ระยะหา่ งๆ(SocialDistancing)ของสถานที่

38

5) ทาความสะอาด : เปิดประตู หน้าต่างให้อากาศถ่ายเท ทาความสะอาดห้องเรียนและบริเวณต่าง ๆ
(Cleaning) โดยเช็ดทาความสะอาดพนื้ ผิวสัมผสั ของโต๊ะ เก้าอี้ และวัสดอุ ปุ กรณ์ ก่อนเขา้ เรยี นช่วงพักเท่ียงและ
หลังเลิกเรียนทุกวัน รวมถึงจัดให้มีกังขยะมูลฝอยแบบมีฝาบิด และรวบรวมขยะออกจากห้องเรียน เพ่ือนาไป
กาจัดทุกวัน
6) ลดแออัด (Reducing) : ลดระยะเวลาการทากจิ กรรมให้สั้นลงเทา่ ท่ีจาเปน็ หรือเหล่ือมเวลาทากิจกรรมและ
หลีกเล่ียงการทากจิ กรรมรวมตวั กนั เปน็ กลุ่มลดแออดั

เพ่ือให้แนวปฏิบัติสาหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 เกิดประโยชน์
และมีผลกระทบในทางท่ีดีต่อบุคลากรที่เก่ียวข้อง ได้แก่ ผู้บริหาร เจ้าของสถานศึกษา ครู ผู้ดูแลนักเรียน
ผู้ปกครองนักเรียนและแม่ครัว ผู้จาหน่ายอาหาร ผู้ปฏิบัติงานทาความสะอาด ดังนั้น จึงกาหนดให้มีแนวปฏิบัติ
สาหรับบคุ ลากรของสถานศกึ ษาสาหรบั ใชเ้ ป็นแนวทางการปฏบิ ตั ติ นอย่างเครง่ ครดั มดี ังน้ี

แนวปฏบิ ัตสิ าหรบั ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา

1. ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศกึ ษา
2. จัดต้ังคณะทางานดาเนินการควบคุมดูแลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19
ประกอบด้วย ครู นกั เรยี น ผปู้ กครอง เจ้าหนา้ ทสี่ าธารณสขุ หอ้ งถน่ิ ชุมซนและผเู้ กยี่ วขอ้ งพร้อมบทบาทหนา้ ที่
3. ทบทวน ปรับปรุง ซ้อมปฏิบัติตามแผนฉุกเฉินของสถานศึกษาในภาวะทีมีการระบาดของโรคติดเช้ือ
(Emergency operation for infectious disease outbreaks)
4. ส่ือสารประซาสัมพันธ์การป้องกันโรคโควิด 19 เก่ียวกับนโยบาย มาตรการ แนวปฏิบัติและการ
จัดการเรียนการสอนให้แก่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา ผ่านช่องทางสื่อที่เหมาะสม
และตดิ ตามข้อมูลขา่ วสารทเ่ี ก่ยี วข้องกับโรคโควดิ 19 จากแหล่งขอ้ มูลท่เี ชื่อถือได้
5. ส่ือสารทาความเข้าใจเพ่ือลดการรังเกียจและลดการตีตราทางสังคม (Social stigma) กรณีอาจ
พบบุคลากรในสถานศึกษา นักเรยี นหรือผปู้ กครองติดเชอื้ โรคโควิด 19
6. มีมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคน บริเวณจุดแรกเข้าไปในสถานศึกษา (Point of entry) ให้แก่
นักเรียน ครู บุคลากร และผู้มาติดต่อและจัดให้มีพื้นที่แยกโรค อุปกรณ์ป้องกัน เช่น หน้ากากผ้าหรือหน้ากาก
อนามัย เจลแอลกอฮอล์ อย่างเพียงพอ รวมถึงเพิ่มซ่องทางการส่ือสารระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง
และเจา้ หน้าท่ี สาธารณสขุ ในกรณีท่พี บนกั เรียนกลุ่มเส่ยี งหรอื สงสยั
7. ควรพิจารณาการจัดให้นักเรียนสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนทีมีคุณภาพเหมาะสมตามบริบท
ได้อย่างต่อเน่ือง ตรวจสอบติดตาม กรณีนักเรียนขาดเรียน ลาป่วย การปิดสถานศึกษา การจัดให้มีการเรียน
ทางไกล สื่อออนไลน์ การตดิ ต่อทางโทรศพั ท์ Social media โดยติดตามเป็นรายวนั หรือสัปดาห์

39

8. กรณพี บนักเรยี น ครู บุคลากรหรือผูป้ กครองอยใู่ นกลุ่มเส่ียงหรือผู้ป่วยยืนยันเข้ามาในสถานศึกษา
ให้รีบแจ้งเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขในพ้ืนที่ เพื่อดาเนินการสอบสวนโรคและพิจารณาปิดสถานศึกษาตามแนวทาง
ของกระทรวงสาธารณสุข

9. มีมาตรการใหน้ ักเรียนไดร้ ับอาหารกลางวันและอาหารเสรมิ นมตามสิทธิท่ีควรได้รับ กรณีพบอยู่ใน
กลมุ่ เสย่ี ง หรือกกั ตัว

10. ควบคุม กากับ ติดตาม และตรวจสอบการดาเนินงานตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของ
โรคโควิด 19 ในสถานศกึ ษาอย่างเครง่ ครัดและต่อเน่ือง

แนวปฏิบตั ิสาหรบั ครแู ละบุคลากร

1. ตดิ ตามขอ้ มลู ข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค พื้นทีเส่ียง คาแนะนาการป้องกันตนเอง
และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของเช้ือโรคโควดิ 19 จากแหลง่ ข้อมลู ทเี่ ชื่อถือได้

2. สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมอี าการไข้ ไอ มนี ้ามูก เจบ็ คอ หายใจลาบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้
กลิ่น ไม่รู้รส ให้หยุดปฏิบัติงาน และรีบไปพบแพทย์ทันที กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคโควิด 19 หรือ
กลับจากพื้นที่เส่ียงและอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามคาแนะนาของเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด

3. แจ้งผู้ปกครองและนกั เรยี น ใหน้ าของใช้ส่วนตัวและอุปกรณ์ป้องกันมาใช้เป็นของตนเอง พร้อมใช้
เขน่ ชอ้ น ส้อม แก้วนา้ แปรงลีฟนั ยาสีฟนั ผา้ เช็ดหนา้ หน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามยั เปน็ ตน้

4. ส่ือสารความรู้คาแนะนาหรือจัดหาสื่อประชาสัมพันธ์การป้องกันและลดความเส่ียงจากการ
แพร่กระจาย โรคโควิด 19 ให้แก่นักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง การสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากาก
อนามัย คาแนะนาการปฏิบัติตัว การเว้นระยะห่างทางสังคม การทาความสะอาด หลีกเล่ียงการทากิจกรรม
รว่ มกนั จานวนมากเพื่อลดความแออดั

5. ทาความสะอาดส่ือการเรียนการสอนหรืออุปกรณ์ของใช้ร่วมที่เป็นจุดสัมผัสเล่ียง ทุกครั้งหลังใช้งาน
6. ควบคุมดูแลการจัดที่น่ังในห้องเรียน ระหว่างโต๊ะเรียน ท่ีน่ังในโรงอาหาร การจัดเว้นระยะห่าง
ระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตรหรือเหลื่อมเวลาพักกินอาหารกลางวันและกากับให้นักเรียน
สวมหนา้ กากผ้าหรอื หนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาและล้างมอื บอ่ ย ๆ
7. ตรวจสอบ กากับ ติดตามการมาเรียนของนักเรียนขาดเรียน ถูกกักตัวหรืออยู่ในกลุ่มเส่ียงต่อการ
ติดโรคโควดิ 19 และรายงานตอ่ ผู้บรหิ าร
8. ทาการตรวจคัดกรองสุขภาพทุกคนท่ีเช้ามาในสถานศึกษาในตอนเช้า ทั้งนักเรียน ครู บุคลากร
และผู้มาติดต่อ โดยใช้เครื่องรัดอุณหภูมิร่างกาย พร้อมสังเกตอาการและสอบถามอาการของ ระบบทางเดิน
หายใจ เช่น ไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กล่ินไม่รู้รส โดยติดสัญลักษณ์ สต๊ิกเกอร์
หรอื ตราปมั๊ แสดงให้เห็นชัดเจนวา่ ผ่านการคดั กรองแลว้
9. กรณีครูสังเกตพบนักเรียนที่มีปัญหาพฤติกรรม เซ่น เด็กสมาธิส้ัน เด็กท่ีมีความวิตกกังวลสูง
อาจมีพฤติกรรม ดูดนิ้วหรือกัดเล็บ ครูสามารถติดตามอาการและนาเข้าข้อมูลที่สังเกตพบในฐานข้อมูล
ด้านพฤติกรรมอารมณ์ สังคมของนักเรียน(หรือฐานข้อมล HERO) เพื่อให้เกิดการดแลช่วยเหลือร่วมกับ
ผู้เชี่ยวชาญดา้ นสขุ ภาพจติ ต่อไป
10. วิธีการปรับพฤติกรรมสาหรับนักเรียนที่ไม่ร่วมมือปฏิบัติตามมาตรการที่ครูกาหนด ด้วยการ
แก้ปญั หาการเรยี นรู้ใหม่ให้ถูกต้อง คือ “สรา้ งพฤติกรรมท่ีพึงประสงค”์ หรือ “ลดพฤติกรรมทไี่ มพ่ ึงประสงค”์
11. ครูสื่อสารความรู้เก่ียวกับความเครียด ว่าเป็นปฏิกิริยาปกติท่ีเกิดข้ึนได้ในภาวะวิกฤติท่ีมีการแพร่
ระบาด ของโรคโควิด 19 และนากระบวนการการจัดการความเครียด การผักสติให้กลมกลืนและเหมาะสมกับ

40

นักเรียนแต่ละวัย ร่วมกับการผักทักษะชีวิตท่ีเสริมสร้างความเข้มแข้งทางใจ (Resilience) ให้กับนักเรียน ได้แก่
ทักษะชีวิตดา้ นอารมณ์ สงั คม และความคดิ เป็นต้น

12. ครูสังเกตอารมณ์ความเครียดของตัวท่านเอง เน่ืองจากภาระหน้าท่ีการดูแลนักเรียนจานวนมาก
และ กากบั ให้ปฏบิ ตั ิตามมาตรการป้องกันการติดโรคโควิด 19 เป็นบทบาทสาคัญ อาจจะสร้างความเครียด วิตก
กังวล ทงั้ จากการเฝ้าระวงั นกั เรยี นและการป้องกนั ตัวท่านเองจากการสมั ผัสกับเช้ือโรค

แนวปฏบิ ตั สิ าหรับนักเรียน

1. ติดตามขอ้ มลู ขา่ วสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 พ้ืนที่เสี่ยงคาแนะนาการป้องกัน
ตนเองและลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของโรคโควดิ 19 จากแหล่งขอ้ มลู ทเี่ ชอ่ื ถอื ได้

2. สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหนื่อยหอบ
ไม่ไดก้ ลน่ิ ไม่รู้รส รบี แจ้งครหู รอื ผ้ปู กครองให้พาไปพบแพทย์ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยโรคโควิด 19 หรือกลับ
จากพน้ื ทเ่ี ส่ียงและอยใู่ นช่วงกักตัว ใหป้ ฏิบัตติ ามคาแนะนาของเจ้าหน้าทีส่ าธารณสุขอยา่ งเครง่ ครัด

3. มีและใช้ของใช้ส่วนตัว ไม่ใช้ร่วมกับผู้อื่น เช่น ช้อน ส้อม แก้วน้า แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ผ้าเช็ดหน้า
หน้ากากผา้ หรือหนา้ กากอนามยั และทาความสะอาดหรือเก็บให้เรียบร้อย ทกุ ครัง้ หลังการใชง้ าน

4. กรณีนักเรียนด่ืมน้าบรรจุขวด ควรแยกเฉพาะตนเองและทาเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์เฉพาะไม่ให้
ปะปนกับของคนอนื่

5. หม่ันล้างมือบ่อยๆ ด้วยวิธี 7 ข้ันตอน อย่างน้อย 20 นาที ก่อนกินอาหาร หลังใช้ส้วมหลีกเล่ียงการ
ใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จาเป็นรวมถึงการสร้างสุขนิสัยท่ีดีหลังเล่นกลับเพ่ือนเม่ือกลับถึงบ้าน
ตอ้ งรบี อาบน้า สระผม และเปลี่ยนเส้ือผ้าใหมท่ นั ที

6. เว้นระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างน้อย 1-2 เมตร ในการทากิจกรรมระหว่างเรียน ช่วงพัก และหลัง
เลิกเรียน เชน่ น่งั กนิ อาหาร เลน่ กบั เพ่อื น เข้าแถวต่อคิวระหว่างเดนิ อยูบ่ นรถ

7. สวมหนา้ กากผ้าหรอื หน้ากากอนามัยตลอดเวลาทอี่ ยสู่ ถานศึกษา
8. หลกี เลย่ี งการไปสถานท่แี ออดั หรอื แหลง่ ชุมชนท่ีเสีย่ งต่อการติดโรคโควดิ 19
9. ดแู ลสขุ ภาพใหแ้ ข็งแรงโดยการกินอาหารปรงุ สกุ รอ้ น สะอาด
10. กรณีท่ีนักเรียนขาดเรียนหรือถูกกักตัว ควรติดตามความคืบหน้าต่อการเรียนสม่าเสมอ ปรึกษาครู
เชน่ การเรียนการสอน สื่อออนไลน์ อ่านหนงั สอื ทบทวนบทเรียนและทาแบบฝกึ หัดทีบ่ ้าน
11. หลีกเล่ียงการล้อเลียนความผิดปกติหรืออาการไม่สบายของเพื่อน เนื่องจากอาจก่อให้เกิดความ
หวาดกลวั มากเกินไปต่ออาการปว่ ยหรือการติดโรคโควิด 19 และเกิดการแบง่ แยกกดี กนั ในหมูน่ กั เรยี น

บทบาทหนา้ ที่ของนกั เรยี นแกนนาสารวตั โควดิ
นกั เรียนท่ีเปน็ จติ อาสาเปน็ อาสาสมัครช่วยดแู ลสุขภาพเพ่ือให้นักเรยี นดว้ ยกันหรอื ร่นุ น้องดว้ ย เช่น

สภานักเรยี น
1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค พ้ืนที่เสี่ยง คาแนะนาการป้องกนั ตนเอง

และลดความเสยี่ งจากการแพรก่ ระจายของโรคโควดิ 19 จากแหลง่ ข้อมลู ท่เี ชื่อถือได้
2. ช่วยครตู รวจคัดกรองวดั อุณหภมู ริ ่างกายของนักเรยี นทุกคนที่มาเรยี น ในตอนเช้า ทางเขา้ โดยมีครู

ดแู ลใหค้ าแนะนาอยา่ งใกล้ชดิ เน้นการจดั เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1-2 เมตร
3. ตรวจดูความเรียบร้อยของนกั เรยี นทกุ คนท่ีมาเรียน ต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหนา้ กากอนามัย

หากพบนักเรียนไมไ่ ดส้ วม ให้แจ้งครผู ู้รับผิดชอบ เพ่ือจัดหาหนา้ กากผา้ หรือหน้ากากอนามัยสารองให้

41

4. เฝ้าระวังสงั เกตอาการของนกั เรยี น หากมีอาการไข้ ไอ มีนา้ มกู เจ็บคอ หายใจลาบาก เหนอ่ื ยหอบ
ไม่ไดก้ ลิ่น ไมร่ รู้ ส ให้รีบแจ้งครูทันที

5. จัดกิจกรรมสื่อสารให้ความรู้คาแนะนาการป้องกันลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายโรคโควิด 19
แก่เพ่ือนนักเรียน เช่น สอนวิธีล้างมือที่ถูกต้อง การสวมหน้ากากอนามัย การสวมหน้ากากผ้า การถอดหน้ากาก
ผ้า กรณีเก็บไว้ใช้ต่อการทาความสะอาดหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล จัดทาป้ายแนะนาต่าง ๆ

6. ตรวจอุปกรณ์ของใช้ส่วนตัวของเพ่ือนและรุ่นน้อง ให้พร้อมใช้งาน เน้นไม่ใช้ร่วมกับผู้อื่น เช่น
จาน ชอ้ น สอ้ ม แปรงสีฟนั ยาสฟี ัน ผ้าเช็ดหนา้ ผา้ เช็ดมอื ของตนเอง

7. จดั เวรทาความสะอาดห้องเรียน ห้องเรียนร่วม และบริเวณจุดสัมผัสเสสี่ยงทุกวัน เช่น ลูกบิดประตู
กลอนประตู ราวบนั ได สนามเดก็ เลน่ อุปกรณ์กฬี า เครอื่ งดนตรี คอมพิวเตอร์

8. เป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคโควิด 19 ด้วยการสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากาก
อนามัย ล้างมือ บ่อย ๆ กินอาหาร ใช้จาน ช้อน ส้อม แก้วน้าของตนเอง การเว้นระยะห่าง เป็นต้น โดยถือ
ปฏิบัตเิ ป็นสุขนสิ ัยกิจวตั รประจาวันสมา่ เสมอ

แนวปฏบิ ัติสาหรับผูป้ กครอง

1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่กระจายของโรคโควิด 19 พ้ืนท่ีเส่ียง คาแนะนาการ
ปอ้ งกันตนเองและลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายของโรค จากแหล่งข้อมูลทสี่ ามารถเช่อื ถือได้

2. สังเกตอาการป่วยของบุตรหลาน หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหน่ือยหอบ
ไม่ไดก้ ล่ิน ไมร่ ู้รส ให้รบี พาไปพบแพทย์ ควรแยกเดก็ ไมใ่ ช้ไปเล่นกับผู้อ่ืน ให้พักอยู่ที่บ้านจนกว่าจะหายเป็นปกติ
กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรค 19 หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยงอยู่ในช่วงกักตัวให้ปฏิบัติตามคาแนะนาของ
เจา้ หน้าท่สี าธารณสุขอย่างเครง่ ครดั

3. จดั หาของใชส้ ว่ นตัวใหเ้ พียงพอในแต่ละวัน ทาความสะอาดทุกวัน เช่น หน้ากากผ้า ช้อน ส้อม แก้ว
นา้ แปรงสีฟัน ยาสีฟนั ผา้ เช็ดตวั ผา้ เช็ดหนา้

4. จัดหาสบูห่ รอื เจลแอลกอฮอล์ และกากับดูแลให้บุตรหลานล้างมือบ่อย ๆ ก่อนกินอาหารหลังใช้ส้วม
หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จาเป็นและสร้างสุขนิสัยที่ดี หลังเล่นกับเพ่ือน
และเมอ่ื ถึงบา้ นควรอาบน้า สระผม และเปลยี่ นเสื้อผา้ ใหม่

5. ดแู ลสุขภาพบตุ รหลาน จดั เตรยี มอาหารปรงุ สกุ ใหม่ สง่ เสรมิ ให้กินอาหารร้อน สะอาด อาหารครบ 5
หมู่และผัก ผลไม้ 5 สี และควรจัดกล่อง (box set) ให้แก่นักเรียนในช่วงเช้าแทนการซ้ือจากโรงเรียน
(กรณีไม่ได้กินอาหารเช้าจากที่บ้าน) เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ออกกาลังกายอย่างน้อย 10 นาทีทุกวัน
และนอนหลับอยา่ งเพียงพอ 9-11 ชวั่ โมงตอ่ วนั

6. หลีกเล่ียงการเพาบุตรหลานไปสถานที่เสี่ยงต่อการติดโรค 19 สถานที่แออัดท่ีมีคนจานวนมาก
หากจาเป็นต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ 7 ข้ันตอน ด้วยสบู่และน้า นาน 20 วินาที
หรอื ใช้เจลแอลกอฮอล์

7. กรณีมีการเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ ผู้ปกครองให้ความร่วมมือกับครูดูแลจัดการเรียนการ
สอนแกน่ ักเรียน เช่น ทาการบ้าน การรว่ มทากจิ กรรม เป็นต้น

แนวปฏิบตั ิสาหรับแมค่ รัว ผูจ้ าหนา่ ยอาหารและผปู้ ฏิบตั ิงานทาความสะอาด

1. ติดตามข้อมูลข่าวสารการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 พื้นท่ีเสียง คาแนะนาป้องกันตนเองและ

ลดความเสีย่ งจากการแพรก่ ระจายของโรค จากแหล่งขอ้ มูลท่ีเช่อื ถือได้

42

2. สังเกตอาการป่วยของตนเองหากมีอาการไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้
กลิ่น ไม่รู้รส ให้หยุดปฏิบัติงานและให้ไปพบแพทย์ทันที กรณีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคโควิด 19 หรือกลับ
พืน้ ทีเ่ สย่ี งและอยูใ่ นชว่ งกกั ตวั ใหป้ ฏิบัติตามคาแนะนาของเจ้าหนา้ ทข่ี องสาธารณสุข อย่างเคร่งครดั

3. ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้า ก่อน–หลังปรุงและประกอบอาหาร ขณะจาหน่ายของอาหารหลัง
สัมผัสสง่ิ สกปรก เม่ือจบั เหรียญหรอื ธนาบัตร หลังใช้ส้วม ควรล้างมือด้วยสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์และหลีกเล่ียง
การใชม้ อื สัมผสั ใบหน้า ตา ปาก จมกู หากไมจ่ าเป็น

4. ขณะปฏิบัติของผู้ประกอบอาหารต้องสวมหมวกคลุมผม ผ้ากันเปื้อนถุงมือ สวมหน้ากากอนามัย
หรอื หน้ากากผา้ และปฏิบัติตามสขุ อนามยั ส่วนบุคคลทีถ่ กู ต้อง

5. ปกปดิ อาหาร ใสถ่ งุ มือและใชท้ ี่คบี หยิบอาหาร หา้ มใชม้ ือจับอาหารพร้อมกินโดยตรง และจัดให้แยก
กิน ส่วนกรณีร้านจาหน่ายอาหารสาเร็จรูปพร้อมกิน ไม่ควรใช้มือสัมผัสลงในถุงบรรจุอาหารก่อนตักอาหาร

6. จัดเตรียมอาหารให้ครบ 5 หมู่ และผลไม้ 5 สี เพ่ือสร้างภูมิคุ้มกัน ปรุงสุกใหม่ ให้นักเรียนกิน
ภายในเวลา 2 ช่ัวโมง หากเกินเวลาดังกล่าวให้นาอาหารไปอุ่นจนเดือด แล้วนามาเสิร์ฟใหม่ กรณีท่ีไม่สามารถ
จัดเหล่ือมเวลาสาหรับนกั เรียนในม้ือกลางวนั ให้จดั เตรยี มอาหารกล่องแทนและทานท่โี ตะ๊ นักเรียน

7. จัดเตรียมกระดาษสาหรับสั่งรายการอาหารหรือสื่อสารช่องทางอ่ืน ๆ เพื่อลดการพูดคุยและสัมผัส
8. ผู้ปฏิบัติงานทาความสะอาด ผู้ปฏิบัติงานเก็บขยะ ต้องใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เช่นสวมหน้ากาก
ผ้าหรือหนา้ กากอนามัย สวมถงุ มือยาง ผ้ายางกนั เป้ือน รองเท้ายางห้มุ แขง็
9. การเก็บขยะ ควรใช้ปากคีบด้ามยาวเก็บขยะ ใส่ถุงขยะปิดถุงให้มิดชิด และนาไปรวบรวมไว้ท่ีขยะ
10. ปฏบิ ัติงานเสร็จทกุ คร้ัง ต้องลา้ งมอื บ่อย ๆ และเมอ่ื กลับถงึ บา้ น ควรอาบน้าสระผม เปลย่ี นเส้อื ผ้าทนั ที

มาตรการปอ้ งกันการแพร่ระบาดชว่ งโรคโควดิ 19 กรณีเกิดการระบาด

กรณีเกิดการระบาดในสถานศึกษา
นิยามเหตุการณ์การระบาด หมายถึง เม่ือพบผู้ป่วยยืนยันอย่างน้อย 1 ราย ที่คิดว่าอาจมีการ

แพร่กระจายเช้อื ในสถานศกึ ษา
1) ผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์ต้องสอบสวบ (PUI = Patient Under Investigation) หมายถึง ผู้ท่ีมีประวัติไข้

หรือวัดอุณหภูมิกายไต้ตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียส ช้ืนไป ร่วมกับอาการทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง
(ไอ น้ามกู เจ็บคอ หายใจเร็วหรือหายใจเหน่ือยหรือหายใจลาบาก) และมีประวัติสัมผัส ใกล้ชิดกับผู้ป่วยยืนยัน
ในชว่ ง 14 วนั ก่อนมีอาการ

2) ผปู้ ่วยยนื ยัน หมายถึง ผทู้ ่ีมผี ลตรวจทางห้องปฏบิ ตั กิ าร พบวา่ ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
3) ผู้สัมผัสที่มีความเสียงต่อการติดเช้ือสูง (High risk contact) หมายถึง ผู้สัมผัสใกล้ชิด ตามลักษณะ
ขอ้ ใดขอ้ หนง่ึ ดงั นี้
- ผูท้ ่เี รยี นร่วมห้อง ผูท้ ี่นอบร่วมห้อง หรอื เพ่ือนสนิททค่ี ลกุ คลกี นั
- ผู้สัมผัสใกล้ชิดหรือมีการพูดคุยกับผู้ป่วยในระยะ 1 เมตร นานกว่า 5 นาที หรือถูกไอ จาม รดจาก
ผู้ป่วย โดยไม่มีการปอ้ งกัน เช่น ไมส่ วมหนา้ กากอนามัย
- ผูท้ อ่ี ยู่ในบริเวณทีป่ ดิ ไมม่ กี ารถา่ ยเทอากาศ เช่น ในรถปรับอากาศ ในห้องปรับอากาศ ร่วมกับผู้ป่วย
และอยหู่ า่ งจากผปู้ ่วยไม่เกิน 1 เมตร นานกวา่ 15 นาที โดยไม่มกี ารปอ้ งกัน

43

4) ผู้สมั ผสั ที่มีความเสียงต่อการติดเชื้อต่า (Low risk contact) หมายถึง ผู้ที่ทากิจกรรมอ่ืน ๆ ร่วมกับ
ผู้ปว่ ย แต่ไมเ่ ข้าเกณฑค์ วามเส่ียง

5) ผู้ไม่ไดส้ มั ผัส หมายถงึ ผ้ทู อ่ี ยู่ในสถานศึกษาแต่ไม่มกี จิ กรรมหรือพบผปู้ ว่ ยในชว่ ง 14 วัน ก่อนปว่ ย
6) ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการป่วยรุนแรง (Underlying condition) หมายถึง ผู้ท่ีมีภูมิต้านทานต่าหรือ
มโี รคประจาตัว หรือผูส้ งู อายุ
กจิ กรรมการเฝ้าระวงั ก่อนการระบาด
1) ให้มีการตรวจสอบการลาป่วยของนักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษา หากพบว่าผู้ป่วยมาก
ผดิ ปกติ ให้รายงานเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขในพื้นที่ทราบ
2) ให้มีการคัดกรองไข้บริเวณทางเข้าสถานศึกษาทุกวัน หากพบว่า มีเด็กท่ีมีไข้จานวนมากผิดปกติให้
แจง้ เจ้าหน้าที่
กจิ กรรมเมือ่ มีการระบาด
1) ปิดสถานศกึ ษา/ชั้นป/ี ชั้นเรยี น เพ่ือทาความสะอาด เปน็ ระยะเวลา 3 วัน
2) สารวจคัดกรองนักเรียนและบุคลากรทุกคน บริเวณทางเข้าสถานศึกษา โดยใช้ Handheld
thermometer และดาเนนิ การ ตามแผนผัง
♦ หากพบผ้เู ขา้ เกณฑ์สอบสวบ (PUI) ใหเ้ ก็บตัวอยา่ ง NP swab สง่ ตรวจหาเชอื้
3) ผู้สมั ผสั กลุ่ม High riskให้ดาเนนิ การเกบ็ ตวั อย่าง NP swab สง่ ตรวจเชื้อ
4) ผู้สัมผัสกลุ่ม Low risk ไม่ต้องเก็บตัวอย่าง แต่ให้แยกตัวอยู่ที่บ้าน และรายงานอาการ (Self -report)
ทุกวัน หากพบว่า มอี าการเข้าเกณฑ์ PUI ใหด้ าเนินการแบบผ้ปู ว่ ย PUI
5) เมื่อเปิดเทอม ให้มีการคัดกรองไข้ทุกวัน หากพบมีอาการเข้าได้คับ PUI ให้เก็บตัวอย่าง และ
พจิ ารณาความเสยี งเพื่อตดั สินใจวา่ จะใหผ้ ู้ป่วยดูอาการทบี่ า้ น หรือต้องแยกตวั ในโรงพยาบาล
6) ทีมสอบสวบโรคทาการติดตามผู้สมั ผัสทกุ วัน จนครบกาหนด

44

การสรา ค า ร อ าก กภาคส น

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่ส่งผลกระทบต่อ

วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนในวงกว้าง โรงเรียนปากแพรกวิทยาคม ได้ดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติการเพื่อ

ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น ท่ี ไ ด้ รั บ ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก ม า ต ร ก า ร ป้ อ ง กั น แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า โ ร ค ติ ด เ ชื้ อ ไ ว รั ส

โคโรนา 2019 (COVID–19) ภายใต้แนวคิด Good HEALTH เป็นกรอบสาหรับขับเคล่ือนการดาเนินงาน

ให้เกดิ ผลดใี น 6 ด้าน

โดยมีการแต่งต้ังคณะกรรมการขึ้นมาวางแนวทางและอาศัยกลไกความร่วมมือจากทุกภาคส่วน

ในจังหวัด ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ร่วมวางแผน และกาหนดวิธีการป้องกัน

และแก้ไขปัญหาอันเกิดจากโรคระบาดครอบคลุมในทุกมิติ โดยมีการระดมความคิดและการมีส่ วนร่วม

ในการให้ข้อมูล เพ่ือกาหนดยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวช้ีวัด เป้าหมาย กลยุทธ์ แผนงาน โครงการและ

มาตรการ ให้มีความสอดคล้องกับแนวทางการดาเนินงาน เพื่อให้สอดรับกับสถานการณ์และความท้าทาย

ในปัจจบุ นั กรอบสาหรบั การขบั เคลื่อนดาเนินงานใน 6 ด้าน ประกอบดว้ ย

H : Health Care การบริการด้านสุขภาพ/สาธารณสุขในการป้องกัน (Prevention) การค้นหาผู้ป่วย

(Detection) และการดแู ลรกั ษาผปู้ ว่ ย (Response)

E : Economics Problem Solving การแกไ้ ขปญั หาเศรษฐกจิ ในระดบั พ้นื ที่

A : Adaptation การปรบั ตัวเพ่ือการอย่รู อด มุง่ ประเดน็ ดา้ นการสร้างความมน่ั คงทางอาหาร : Food Security

L : Law Enforcement การบังคบั ใชร้ ะเบียบกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง

T : Technology การนาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมมาใชใ้ นการทางาน

H :Help andSupportการช่วยเหลอื และเยยี วยาผ้ไู ด้รบั ผลกระทบจากมาตรการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาCOVID–19

นอกจากนโ้ี รงเรยี นปากแพรกวิทยาคม ได้ การจัดตัง้ ข
คู่

9ส ท
ทท

45

กรอบการขบั เคล่ือนดาเนินงานมาตรการป้องกันแก้ไขปัญหาโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID–19

ข่าวประชาสมั พันธ์ขอความรว่ มมอื จากผู้ปกครอง นักเรียนและหน่วยงาน
ทเี่ กี่ยวขอ้ งในการเฝา้ ระวังและป้องกนั โคโรนา 2019 (COVID–19)
46

การสรา้ งความร่วมมือจากทกุ ภาคส่วนในการปอ้ งการการแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019
47


Click to View FlipBook Version