The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการดูแลผู้สูงอายุ ในช่วงที่มีการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Maze sp, 2021-05-20 00:22:20

แนวทางการดูแลผู้สูงอายุ ในช่วงที่มีการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019

แนวทางการดูแลผู้สูงอายุ ในช่วงที่มีการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019

กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์





พมิ พ์ครัง้ แรก เมษายน 2563

โดย กรมกจิ การผสู้ ูงอายุ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
อาคารมหานครยิบซ่มั ชน้ั 20 ฝ่งั บี
เลขที่ 539/2 ถนนศรอี ยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
กองส่งเสริมสวัสดิการและคุ้มครองสทิ ธผิ ู้สงู อายุ
โทรศัพท/์ โทรสาร : 0 2642 4306 เว็บไซต์ : www.dop.go.th
Facebook : กรมกิจการผู้สงู อายุ Page Facebook : กรมกจิ การผู้สงู อายุ

ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) คอื อะไร 1
3
สถานการณ์การติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ของประเทศไทย 6
8
ทาไมจงึ ต้องใสใ่ จผู้สูงอายเุ ป็นพเิ ศษ 10

สงั เกตอยา่ งไรวา่ ผู้สูงอายุติดเชื้อ 18

จะปอ้ งกันเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ไมใ่ ห้แพร่สู่
ผู้สูงอายไุ ด้อยา่ งไร

ดแู ลผู้สงู อายอุ ย่างไร ไม่ให้เกดิ การถดถอยของร่างกาย สมอง
และเกดิ ความเครียดระหว่างท่ีผูส้ ูงอายุต้องเก็บตัวอยกู่ ับบ้าน



โคโรนา คือ เช้ือไวรัสท่ีมีรูปร่างคล้ายมงกุฎ
พบคร้ังแรกกลางทศวรรษที่ 1960 โดยมีเชื้อไวรัส
โคโรนาอยู่ 4 สายพันธุ์ใหญ่ๆ ด้วยกัน แต่ตัวที่ระบาด
มากที่สุดคือ SARS-CoV พบครั้งแรกที่ประเทศจีน
ปี ค.ศ. 2002-2003 ซ่ึงได้ระบาดไปทั่วโลกและมีอัตรา
การเสียชีวิตสูง ต่อมาพบเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ MERS-CoV เกิดข้ึนคร้ัง
แรกในประเทศซาอุดิอาระเบีย ในแถบตะวันออกกลาง

จนกระทั่งล่าสุดพบ “เชื้อไวรัสโคโรนา 2019” ที่เมืองอู่ฮ่ัน
เมืองหลวงของมณฑลหูเป่ย ตอนกลางของประเทศจีน โดยบริเวณที่พบ
ผู้ป่วยมากท่ีสุดและคาดว่าน่าจะเป็นรังของโรค คือ ตลาดอาหารทะเล
และสัตว์หายากในเมือง ซึ่งได้แพร่กระจายไปในหลายเมืองในประเทศจีน
และหลายประเทศ เช่น ไทย เกาหลีใต้ ไต้หวัน ฮ่องกง มาเก๊า ญี่ปุ่น
มาเลเซยี เวียดนาม สงิ คโปร์ สหรัฐอเมรกิ า เปน็ ต้น

ในประเทศไทย ผู้ป่วยรายแรกท่ีพบนั้นเป็นนักท่องเท่ียวหญิง
ชาวจีน อายุ 61 ปี จากเมืองอู่ฮ่ัน ซ่ึงมีอาการไข้ หนาวสั่น ปวดศีรษะ
และเจ็บคอ สามวันก่อนเดินทางมาท่ีประเทศไทย ต่อมาได้เดินทางมาพร้อม
ครอบครัวเพื่อท่องเที่ยว เมื่อเดินผ่านเครื่องตรวจจับความร้อนที่สนามบิน
(Thermo scan) จงึ พบว่ามีไข้ และถูกส่งตัวไปนอนรักษาท่ีโรงพยาบาลทันที
อีกสองวันต่อมา ทางโรงพยาบาลสามารถแยกเช้ือโดยวิธีการทางโมเลกุล
ไดว้ ่าเปน็ เชือ้ “ไวรสั โคโรนา 2019” จึงรายงานไปท่ีองคก์ ารอนามัยโลก

ทีม่ า : อ. พญ.รพพี รรณ รตั นวงศ์นรา มอร์ด สาขาวิชาโรคติดเชื้อ ภาควชิ าอายุรศาสตร์ 2
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธบิ ดีมหาวทิ ยาลัยมหดิ ล



พนื้ ทท่ี ีพ่ บผูป้ ว่ ยยนื ยัน

1 ราย
2-10 ราย
11-50 ราย
51-100 ราย
> 100 ราย

ยอดผตู้ ิดเช้อื สะสมเพม่ิ ข้ึน

รกั ษาหายแล้ว รกั ษาอยู่ในโรงพยาบาล

เสียชวี ิต

ข้อมูล ณ วันท่ี 20 เมษายน 2563

ที่มา : กราฟิกมตชิ นรายวนั 19 เมษายน 2563 4
และศูนยป์ ฏิบตั กิ ารฉุกเฉนิ ด้านวิจยั และวชิ าการ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม

45% ของผ้เู สยี ชีวติ 21คน 60 ปขี ้นึ ไป มี 21 คน (45%)
เป็นผู้สูงอายุ 50 - 59 ปี มี 15 คน (32%)
ต่ากวา่ 50 ปี มี 11 คน (23%)

680วยั กอ่ นสูงอายุ + ผู้สูงอายุติดเชื้อ คน

แบง่ เป็นชว่ งอายุ 51 – 60 ปี จ่านวน 374 คน

306มากกวา่ 60 ปขี น้ึ ไป จา่ นวน คน

(11.06% ของผตู้ ิดเช้อื ) ขอ้ มลู ณ วันท่ี 20 เมษายน 2563

“คนหนุ่มสาว หรือคนวัยทางานจะมีพลังสารองค่อนข้างมาก เม่ือเวลา
เจ็บป่วย หรือมีการติดเชื้อโควิด-19 ซึ่งมีผลต่อระบบทางเดินหายใจ
กลุ่มหนุ่มสาวหรือคนวัยทางานที่มีพลังสารอง 50 มีพลังใช้จริง 50
จาก 100 เมื่อติดเช้ือโควิด-19 อาจจะไปทาลายพลัง 20-30 ก็ยังมีพลัง
สารองเหลือและมีพลังใช้จริง แต่สาหรับผู้สูงอายุ ไม่ได้มีพลังสารอง
เพราะบางคนอาจจะไม่มีพลังสารองเลย ทาให้ไม่สามารถทนต่อการ

ติดเช้ือได้มาก อีกท้ัง คนสูงอายุภูมิคุ้มกันจะต่าและมีโรค
ประจ่าตัวเยอะ เช่น บางคนมีโรคไต เบาหวาน หัวใจ
ยิ่งเปน็ ปจั จัยสง่ เสรมิ ใหป้ ่วยง่าย เสยี ชวี ติ ไดง้ า่ ย”

นายแพทย์สกานต์ บุนนาค

ผ้อู านวยการสถาบนั เวชศาสตร์สมเดจ็ พระสงั ฆราชญาณสังวรเพอ่ื ผสู้ งู อายุ
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ผู้ชว่ ยเลขานุการคณะกรรมการผู้สงู อายุแหง่ ชาติ (กผส.)

5 ที่มา : กลมุ่ นโยบายและยทุ ธศาสตร์ กองยทุ ธศาสตร์และแผนงาน กรมกจิ การผู้สงู อายุ

และเวบ็ ไซตก์ รงุ เทพธรุ กจิ มเี ดีย



มีร่างกายท่ีภูมิคุ้มกันลดลงตามวัย บางท่านมี
โรคประจาตัว เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคปอด
เร้ือรัง โรคไตเร้ือรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น จึงมีโอกาส
เสียชีวิตมากกว่าคนทั่วไป เม่ือได้รับเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)

7



เช่น อาจไม่มีไข้ หรืออาจมีอาการอ่อนเพลีย เบ่ืออาหาร
หรือรับอาหารทางสายยางไม่ได้ ความสามารถในการช่วยเหลือ
ตวั เองลดลงอย่างรวดเร็ว
*ควรรีบปรึกษาแพทย์ เพราะมีความเสี่ยงสูงที่อาการจะรุนแรง
มากกวา่ ในวยั อนื่ ๆ

9



ผู้ที่เสี่ยงติดเช้ือ เช่น มีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับ
ผู้ป่วยท่ีได้รับการยืนยันว่าติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) ต้องแยกตัวออกจากผู้อื่น
แ ล ะ ไ ม่ เ ข้ า ไ ป ใ ก ล้ ชิ ด ห รื อ สั ม ผั ส ผู้ สู ง อ า ยุ
และเด็ก อย่างเด็ดขาด โดยให้สังเกตอาการ
อย่างน้อย 14 วนั

ห้าม!! ไม่ให้ผู้ท่ีมีไข้ตัวร้อน หรือมีอาการ
ผิดปกติทางระบบทางเดินหายใจอย่างใด
อย่างหน่ึง เช่น ไอ เจ็บคอ มีน้ามูก หายใจเร็ว
หายใจเหน่ือย หายใจสาบากเข้าเย่ียมผู้สูงอายุ
โดยเดด็ ขาด

11

งด/ลด การมาเยี่ยมจากคนนอกบ้านให้น้อย
ท่ีสุด โดยแนะนาให้ใช้การเยี่ยมทางโทรศัพท์
หรอื สือ่ สังคมออนไลน์ต่างๆ แทน

ในขณะเข้าเยี่ยมผู้สูงอายุ ให้ใส่หน้ากาก
อนามัยหรือหน้ากากผ้าทุกครั้ง ลดการเข้าใกล้
หรือสัมผัสกับผู้สูงอายุลงเหลือเท่าท่ีจาเป็น
โดยรกั ษาระยะหา่ งอย่างนอ้ ย 2 เมตร

2 เมตร 2 เมตร

12

ควรจัดให้มีผู้ดูแลหลักคนเดียว โดยเลือก
คนท่ีสามารถอยู่บ้านได้มากและจาเป็นต้องออกไป
นอกบ้านน้อยที่สุด แต่สามารถสลับสับเปลี่ยนผู้ดูแล
หลักได้แต่ไม่ควรเปล่ียนบ่อย และต้องแน่ใจว่าผู้ที่
จะมาเปน็ ผู้ดูแลหลกั คนใหม่ตอ้ งไม่ใช่ผทู้ เ่ี สี่ยงติดเช้อื

ผู้ดูแลหลักและผู้สูงอายุควรเก็บตัวอยู่แต่ในบ้าน
ให้มากท่ีสดุ

ผู้ดูแลหลักและผู้สูงอายุควรหลีกเล่ียงการคลุกคลี
กับเด็ก

13

หากผู้สูงอายุหรือผู้ดูแลต้องออกนอกบ้าน
ค ว ร เ ลื อ ก เ ว ล า อ อ ก จ า ก บ้ า น ที่ ไ ม่ เ จ อ กั บ
ความแออัด หลีกเล่ียงการใช้ขนส่งสาธารณะ
และการไปในที่แออัด ต้องรีบทาธุระให้เสร็จ
โดยเร็ว ให้สวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากาก
ผ้าทุกครั้งพกแอลกอฮอล์เจลไปด้วยโดยทา
ความสะอาดมือทุกคร้ังหลังจับส่ิงของ และ
กอ่ นเขา้ บ้าน

เมือ่ กลับถึงบ้าน!!
ควรอาบน้าสระผมทาความสะอาดร่างกายและ
ของใชท้ ่ตี ดิ ตวั กลบั มาจากนอกบา้ น
เปลีย่ นเส้อื ผ้าใหมท่ ันที

14

หากผูส้ ูงอายุต้องไปพบแพทยต์ ามนดั
ในกรณีท่ีอาการคงท่ี และผลการตรวจล่าสุด

ปกติ ใหต้ ดิ ต่อโรงพยาบาลเพื่อเล่ือนนัด หรือไปรับ
ยาแทนหรอื รบั ยาใกลบ้ า้ น

ในกรณีท่ีอาการแย่ลง หรือผลการตรวจ
ล่าสุดผิดปกติ ควรปรึกษาแพทย์หรือพยาบาล
เพอ่ื นดั หมายไปตรวจดว้ ยชอ่ งทางทปี่ ลอดภัยท่สี ดุ

ลา้ งมือดว้ ยการฟอกสบู่อยา่ งนอ้ ย 20 วินาที
แล้วลา้ งออกด้วยน้าสะอาด หรอื ทาความสะอาดมอื
ด้วยแอลกอฮอล์เจล โดยทิ้งไว้ให้ชุ่มไม่แห้งเร็วกว่า
20 วนิ าที ทกุ คร้ังเม่อื กลบั เข้าบ้าน
ก่อนเตรียมอาหารกอ่ นรบั ประทาน
อาหาร หลงั การไอจาม
และหลงั เข้าห้องนา้ ทกุ คร้ัง

15

หลีกเลย่ี งการรับประทานอาหารร่วมกัน
แต่หากมีการมาร่วมรับประทานอาหารด้วยกัน
ควรแยกรับประทานของตนเอง ไม่รับประทาน
อาหารร่วมสารับ หรอื ใช้ภาชนะเดียวกัน
หรอื ใช้ชอ้ นกลางร่วมกัน

ผสู้ ูงอายุควรแยกหอ้ งพกั และของใชส้ ่วนตวั
หากแยกห้องไม่ได้ ควรแยกบริเวณท่ีนอนให้ห่าง
จากคนอื่นมากท่ีสุด ท่ีพักอาศัยและห้องพัก
ควรเปิดหน้าต่างให้อากาศถ่ายเท ไม่ควรนอน
ร่วมกนั ในหอ้ งปดิ ท่ใี ช้เคร่อื งปรบั อากาศ

16

หม่ันทา่ ความสะอาดพ้นื ผวิ ทถ่ี กู สมั ผัสบ่อยๆ
ด้วยน้ายาฆ่าเช้ือต่างๆ เช่น แอลกอฮอล์ 70%,

แอลกอฮอล์เจล, นา้ ยาซกั ผ้าขาว เชด็ ตามสวิตช์ไฟ ลูกบิดหรือ
มือจับประตู โต๊ะ ราวจับ รีโมท โทรศัพท์ พื้น โถส้วม ปุ่มกด
น้าชักโครก ก๊อกน้า ระวังพลัดตกหกล้มโดยเฉพาะบริเวณ
พน้ื ทเ่ี ปยี กน้าหรอื พน้ื ลื่นท่เี ป็นผิวมนั

17



19

รับประทานอาหารทีส่ ะอาด
ถูกสขุ ลกั ษณะปรุงสกุ ใหม่ๆ
ไม่รับประทานอาหารท่ีหวานหรือเค็มเกินไป เน้นอาหาร
ที่มีโปรตีนสูงเสริมภูมิคุ้มกัน และควรให้รับประทานอาหาร
ท่ีหลากหลายครบ 5 หมู่ เพ่ือให้ได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน
ตามความต้องการของร่างกายและสมอง และแยกสารับ
อาหารเฉพาะบุคคล

ซึ่งส่งผลต่อการรับประทานอาหาร
เพื่อลดความเสี่ยงที่ต้องออกมาพบ
ทันตแพทยใ์ นชว่ งวกิ ฤตนี้ ขอแนะนา
ผู้สูงอายุให้รักษาสุขภาพช่องปาก
โดยใช้สูตร 2 - 2 - 2

20

21

ชวนผู้สูงอายุออกกาลังกายด้วยท่าง่ายๆ
เชน่ การเดนิ หรือแกว่งแขนออกกาลังกาย
ในบ้านอย่างสม่าเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์
ละ 5 วัน วันละประมาณ 30 นาที หรือ
เทา่ ทท่ี าไดต้ ามสภาพของผู้สงู อายุ

หยดุ รบั ขา่ วสารท่มี ากเกินไป
โดยอาจติดตามข้อมูลประมาณ วันละ
2 ครั้ง ในตอนเช้าและตอนเย็นหรือ
ตอนกลางคืน เพ่ือป้องกันภาวะวิตก
กังวล จากการรับข่าวสารมากเกินไป

ปรึกษาผู้รู้ใจหรือไว้ใจได้ เช่น ครอบครัว
ลูกหลาน ญาติ หรือเพ่ือน เพื่อระบายความไม่สบายใจ
ความกังวลและความกลวั เก่ียวกับเหตุการณ์ทีเ่ กดิ ขน้ึ

22

การทากิจกรรมท่ีผู้สูงอายุช่ืนชอบ มีความถนัด
มีความภูมิใจ เช่น ทาอาหาร เล่นดนตรี วาดรูป อ่านหนังสือ
ดโู ทรทศั น์ ปลกู ต้นไม้ ทาสวน ฯลฯ

หัวใจส่าคัญท่ีสุด คือ ต้องรู้ก่อนว่าผู้สูงอายุในบ้านของเรา
ชอบอะไรแล้วหากิจกรรมทีส่ อดคล้องกบั ทีท่ ่านชนื่ ชอบ

สร้างความสุขให้ตนเองและสมาชิกในครอบครัว
ทาส่ิงท่ีเพลิดเพลินและมีความสุข พูดคุยเรื่องท่ีทาให้มี
ความสุข สนุกสนาน ดูรูปภาพที่เป็นความสุขของครอบครัว
หากยังไม่ได้ผลให้ใช้เทคนิคจัดการความเครียด เช่น การฝึก
หายใจคลายเครียด การผ่อนคลายกล้ามเน้ือการนวดคลาย
เครียดด้วยตนเอง (สามารถติดตามรายละเอียดเพ่ิมเติมได้ท่ี
www.thainmentalhealth.com)

หลีกเลี่ยงการด่ืมสุรา ยาเสพติด

23

โทรปรึกษาสายด่วนกรมสุขภาพจิต
โทร. 1323 ถ้าพบว่ามีความผิดปกติ
ด้านอารมณ์ หงุดหงิด ฉุนเฉียว โกรธง่าย
สมาธิไม่ดี มีความคิดในแง่ลบ หมกมุ่น
แต่เรื่องการระบาด และกลัวว่าตนเอง
จะติดเช้ือ นอนไม่หลับ ต้องพ่ึงเหล้า บุหรี่
ยาและยาเสพตดิ มากขน้ึ

ผู้สูงอายุต้องพักผ่อนให้เพียงพอ
กา ร นอ น ส าคั ญ มา ก คว ร ให้น อ น
ประมาณไม่เกิน 3 ทุม่ เพื่อให้พักผ่อนได้
เต็มที่ยาวนาน นอนหลับพักผ่อนให้
เพียงพอ 7 - 9 ชวั่ โมง/วัน

24

ระหว่างมีการระบาดท้ังผู้สูงอายุ และผู้ดูแล
ควรเก็บตัวอยู่แต่ในบ้านให้มากที่สุด รักษา
ระ ยะ ห่าง อ ย่า งน้ อ ย 2 เ มต ร แ ล ะค ว ร
ใส่หน้ากาก อนามัยหรือหน้ากากผ้าทุกครั้ง
ที่เข้าไปพูดคยุ กบั ผู้สงู อายุ

หากกังวลใจหรือมีอาการสงสัยเส่ียงต่อ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 โทรปรึกษาสาย
ดว่ นกรมควบคมุ โรคโทร 1422

รูปแบบการออกกาลังกายที่ใช้กล้ามเนื้อทุกสัดส่วน บริหาร
อยา่ งต่อเนื่อง 30 นาที โดยไมใ่ ช้อุปกรณ์ โดยกรมอนามัย

https://www.youtube.com/watch?v=F1r4QDjKssc#action=share

บริหารสมองในชีวิตประจาวันป้องกันสมองเส่ือม : Smart 60
สงู วัยอยา่ งสง่า โดยมหาวทิ ยาลยั มหิดล

https://www.youtube.com/watch?v=lKDg8O3ovrw

การฝกึ บรหิ ารสมอง (Brain Exercise) 16 ขัน้ ตอน
โดยกรมการแพทย์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โรงพยาบาล
รามาธิบดี และสมาคมผ้ดู แู ลผปู้ ว่ ยสมองเสื่อม

https://www.youtube.com/watch?v=DQ_fPO2Eh5s&feature=youtu.be

25

ทม่ี า

* สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสงั ฆราชญาณสังวรเพื่อผ้สู งู อายุ
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ
* สานักอนากรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ
* กองสง่ เสรมิ และพฒั นาสุขภาพจิตกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
* สมาคมพฤฒาวทิ ยาและเวชศาสตรผ์ สู้ งู อายุไทย
* สมาคมผ้ดู แู ลผู้ป่วยสมองเสอ่ื ม


Click to View FlipBook Version