คานา ก
รูปแบบการนิเทศภายในสู่กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนของครู โดยใช้ CIPP MODEL โรงเรียนศรีสองรักษ์วิทยา
อาเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเลย หนองบัวลาภู เป็นการรายงานผลการนิเทศภายใน
โรงเรยี น ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒-๒๕๖๓ ซ่ึงได้สรปุ การรายงานเป็น ๓ ตอน ไดแ้ ก่ ตอนที่ ๑ ข้อมูลท่วั ไปของสถานศึกษา ตอนที่ ๒
ผลการดาเนินงานดา้ นการนเิ ทศภายในของสถานศึกษาและตอนท่ี ๓ ข้อมูลอืน่ ๆ เพ่ิมเติม
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานการนิเทศภายในเล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาของคณะกรรมการ ในการ
พจิ ารณาคัดเลือกผลงานตามสภาพจริง โดยใหเ้ กิดความเรียบร้อย บรสิ ุทธ์ิ ยตุ ิธรรม บงั เกดิ ผลดีตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
มุ่งม่ันพัฒนาคุณภาพผู้เรียน พัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งส่งเสริมความก้าวหน้าในวชิ าชีพ และเป็น
ขวัญกาลังใจให้กับผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ปฏิบัติงานด้านการนิเทศภายในโรงเรียน ตลอดจนมุ่งประโยชน์ส่วนรวมและ
ราชการเป็นสาคญั ต่อไป ขอขอบพระคุณ นายไพโรจน์ พรหมสอน ผู้อานวยการสานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษาเลย
หนองบัวลาภู และ คณะศึกษานิเทศก์ กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
มัธยมศึกษาเลย หนองบัวลาภูทุกท่าน ท่ีได้กรุณาให้คาแนะนาในการดาเนินงานนิเทศภายใน ขอขอบคุณคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานฯ คณะกรรมการฝ่ายบริหาร คณะครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียนโรงเรียนศรสี องรักษ์วิทยาทกุ คน
ตลอดจนผู้มีส่วนเกย่ี วข้องทุกๆท่าน ท่ีให้ขอ้ มูลในการจัดทาเอกสารฉบับนี้สมบูรณ์ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ขอขอบพระคุณ
เป็นอยา่ งสงู มา ณ โอกาสน้ี
นายจิตตศิ กั ดิ์ นามวงษา
ผู้อานวยการโรงเรยี นศรสี องรักษ์วิทยา
สารบัญ ข
เร่อื ง หนา้
คานา........................................................................................................................................................ ก
สารบัญ..................................................................................................................................................... ข
รูปแบบการนเิ ทศภายในสู่กระบวนการวิจยั ในชั้นเรยี นของครู โดยใช้ CIPP MODEL……………………. ๑
ตอนที่ ๑ ขอ้ มลู ทั่วไปของสถานศึกษา....................................................................................... ๑
ตอนท่ี ๒ ผลการดาเนนิ งานด้านการนิเทศภายในของสถานศกึ ษา……………………………………. ๑
๒.๑ ชื่อรปู แบบ.............................................................................................................. ๑
๒.๒ สภาพปจั จุบนั /ปญั หา ข้อมลู พื้นฐานของสถานศกึ ษา............................................. ๑
๒.๓ รปู แบบ หรอื กระบวนการนเิ ทศภายในสถานศึกษา................................................ ๖
๒.๔ วิธดี าเนนิ การ.......................................................................................................... ๗
๒.๕ การกากบั ติดตาม ประเมินและรายงานผล............................................................ ๘
๒.๖ ผลสาเร็จทไ่ี ด้ และการนาผลไปใช้.......................................................................... ๙
ตอนท่ี ๓ ข้อมูลอน่ื ๆ เพ่ิมเตมิ ………………………………………………………………………………………. ๑๕
อา้ งอิง....................................................................................................................................................... ๒๗
รปู แบบการนเิ ทศภายในสกู่ ระบวนการวิจัยในช้ันเรียนของครู โดยใช้ CIPP MODEL ๑
โรงเรียนศรสี องรกั ษ์วทิ ยา อาเภอด่านซา้ ย จังหวดั เลย
สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษาเลย หนองบัวลาภู
ผูร้ ายงาน นายจิตติศกั ด์ิ นามวงษา ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการโรงเรยี นศรสี องรักษว์ ิทยา
ตอนที่ ๑ ขอ้ มลู ทั่วไปของสถานศึกษา
โรงเรียนศรีสองรักษ์วิทยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเลย หนองบัวลาภู
จดั การศกึ ษาตง้ั แต่ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ – ๖ มีนักเรียน จานวน ๑,๑๒๐ คน ขา้ ราชการครแู ละบุคลากร
ทางการศึกษา จานวน ๗๒ คน อยู่ห่างจากตัวจังหวัด ๙๑ กิโลเมตร มีชายแดนติดต่อกับประเทศสาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยประชาชนลาว วิสัยทัศนข์ องโรงเรียน “ภายในปี ๒๕๖๘ โรงเรียนศรีสองรักษ์วทิ ยา จัดการศึกษา
ขัน้ พน้ื ฐานตามมาตรฐานสากล สบื สานวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ นอ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
ตอนที่ ๒ ผลการดาเนนิ งานด้านการนิเทศภายในของสถานศึกษา
๒.๑ ช่อื รูปแบบ (ถ้าม)ี การนิเทศภายในสู่กระบวนการวจิ ัยในชนั้ เรียนของครู
โดยใช้ CIPP MODEL
๒.๒ สภาพปจั จบุ นั /ปัญหา ขอ้ มูลพื้นฐานของสถานศกึ ษา
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ในหมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศมาตรา
๒๕๘ จ.(๓) ให้มีกลไกและระบบการผลิตคัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์ให้ได้ผู้มีจิต
วิญญาณของความเป็นครู มคี วามรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ไดร้ ับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกบั ความสามารถ
และประสิทธภิ าพในการสอน รวมท้งั มกี ลไกสร้างระบบคณุ ธรรมในการบริหารงานบคุ คลของผู้ประกอบวิชาชีพ
ครู (๔) ปรับปรุงการจัดการเรยี นการสอนทุกระดับเพอ่ื ให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความถนัดและปรบั ปรุง
โครงสร้างของหนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้องเพอื่ บรรลุเป้าหมายดังกลา่ ว โดยให้สอดคลอ้ งกันทงั้ ในระดบั ชาติและระดับ
พ้ืนท่ี นอกจากน้ียุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทยเพ่ือให้ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทย มีความมั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศ
พัฒนาด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยยุทธศาสตร์ท่ี ๔.๓ ด้านการพัฒนาและ
เสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ มเี ป้าหมายการพัฒนาที่สาคญั เพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชว่ งวัยให้เป็นคนดี
คนเก่งและมีคุณภาพ มที ักษะท่จี าเป็นในศตวรรษท่ี ๒๑ (๔.๒) การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิตมงุ่ เน้นการพฒั นา
คนเชงิ คุณภาพในทุกชว่ งวัย (๔.๓) ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑
โดยมุ่งเน้นผูเ้ รียนให้มที ักษะการเรยี นรู้ และมีใจใฝ่เรียนรตู้ ลอดเวลา มกี ารออกแบบระบบการเรียนรู้ใหม่ การ
เปลยี่ นบทบาทครูการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษาและการพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต
สอดคล้องกบั แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ในยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคน
ทกุ ชว่ งวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีเปา้ หมายใหผ้ ู้เรียนมที กั ษะและคุณลกั ษณะพื้นฐานของพลเมือง
ไทย ทักษะและคุณลักษณะท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะความรู้ความสามารถและสมรรถนะตาม
มาตรฐานการศกึ ษา มาตรฐานวิชาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพสถานศึกษาทกุ ระดับการศึกษา
สามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสตู รอยา่ งมีคณุ ภาพและมาตรฐาน รวมท้ังแหล่งเรียนรู้ ตารา
เรียนและนวัตกรรม ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไม่จากัดเวลา (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พ้นื ฐาน, ๒๕๖๒ : ๑)
การพัฒนาประเทศไทยในชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๑๒ ๒
(๒๕๖๐ -๒๕๖๔) อย่ใู นหว้ งเวลาของการปฏิรูปประเทศเพ่ือแก้ไขปัญหาพ้นื ฐานหลายดา้ นท่ีส่ังสมมานาน
ท่ามกลางสถานการณ์โลกทีเ่ ปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเร็วและเชอ่ื มโยงกนั ใกล้ชิดมากขน้ึ การแข่งขันดา้ นเศรษฐกิจ
จะเข้มขน้ มากขน้ึ สังคมโลกจะมคี วามเช่อื มโยงใกล้ชิดกันมากข้ึนเป็นสภาพไร้พรมแดน การพฒั นาเทคโนโลยี
จะมกี ารเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเร็ว และกระทบชีวติ ความเปน็ อยู่ในสังคมและการดาเนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
อยา่ งมาก ขณะทป่ี ระเทศไทยมขี ้อจากัดของปจั จยั พื้นฐานเชงิ ยุทธศาสตร์เกือบทกุ ด้าน และจะเป็นอปุ สรรคต่อ
การพัฒนาทช่ี ัดเจนข้นึ ชว่ งแผนพฒั นาฯ ฉบับที่ ๑๒ นับเป็นจังหวะเวลาทที่ ้าทายอย่างมากท่ีประเทศไทย ต้อง
ปรับตัวขนานใหญ่ โดยจะต้องเร่งพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรมให้เป็น
ปัจจัยหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนา ในทุกด้านเพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย
ท่ามกลางการแข่งขันในโลกท่ีรุนแรงข้ึนมากแต่ประเทศไทยมีข้อจากัดหลายด้าน อาทิ คุณภาพคนไทยยังต่า
แรงงานสว่ นใหญม่ ปี ญั หาท้งั ในเรอื่ งองค์ความรู้ ทักษะและทัศนะคติ สังคมขาดคุณภาพและมคี วามเหลอ่ื มลา้ สงู
ท่ีเป็นอุปสรรคต่อการยกระดับศักยภาพการพัฒนา โครงสร้างประชากรจะเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์
ภายในสิ้นแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี ๑๒ ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม กร็ ่อยหลอเสอ่ื มโทรมอยา่ งรวดเร็ว
ซ่ึงเป็นท้ังต้นทุนเชิงเศรษฐกิจและผลกระทบร้ายแรงต่อคุณภาพชีวิตประชาชน ในขณะที่การบริหารจัดการ
ภาครัฐยังด้อยประสิทธิภาพ ขาดความโปร่งใส และมีปัญหาคอรัปช่ันเป็นวงกว้าง จึงส่งผลให้การผลักดัน
ขับเคล่ือนการพัฒนาไม่เกิดผลสัมฤทธิ์เต็มท่ี บางภาคส่วนของสังคมจึงยังถูกทิ้งอยู่ข้างหลัง (สานักงาน
คณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ, ๒๕๕๙ : ๑)
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหม้ ีคุณภาพน้ัน สิ่งหนึ่งท่ีเป็นคุณภาพของผู้เรยี นที่เช่ือม่ันวา่ คุณภาพ
ผูเ้ รียนจะเกิดไดแ้ ละบรรลุหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ และมาตรฐานการเรียนรู้และ
ตัวช้ีวัด(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) และหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.๒๕๖๐ น้ัน จะต้องมีกระบวนการสู่
ความสาเร็จ มีองคป์ ระกอบและปจั จัย คือ คณุ ภาพของผเู้ รยี นที่โรงเรียนต้องประกนั คณุ ภาพตอ่ ผูป้ กครอง และ
ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสยี ว่า ผู้เรียนจะต้องมีคุณภาพและมาตรฐานตามหลักสูตร มที ักษะท่ีจาเปน็ ในศตวรรษที่ ๒๑
ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน จะต้องมีกระบวนการสู่ความสาเร็จในการพัฒนา ๓ กระบวนการ คือ
กระบวนการบริหาร กระบวนการเรียนการสอน และกระบวนการนิเทศการศึกษา ซึ่งกระบวนการนิเทศ
การศึกษาเป็นภารกิจจาเปน็ ต่อการจัดการศกึ ษาทต่ี ้องอาศยั ความรว่ มมอื จากบุคคลหลายฝา่ ย โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งทางด้านการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน บุคลากรที่เกี่ยวข้องในหน่วยงานจัดการศึกษา จาเป็นต้อง
พฒั นาและปรับปรุงตนเอง ให้ทนั ตอ่ การเปล่ียนแปลง เพอื่ ใหก้ ารปฏิบตั ิงานเปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซ่งึ การ
นิเทศการศึกษาเปน็ กระบวนการท่มี จี ดุ ม่งุ หมายเพื่อช่วยเหลือ ชแ้ี นะและพฒั นางานให้ประสบผลสาเรจ็ ทันต่อ
สภาพการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กดิ ขน้ึ อีกท้งั เป็นองค์ประกอบสาคัญทชี่ ่วยเหลือสนบั สนนุ ใหก้ ระบวนการบริหารและ
กระบวนการเรียนการสอนมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของประเทศ ทงั้ ยังเป็นส่วนสาคัญในการส่งเสริม
ระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ทีต่ อ้ งพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นให้มที ักษะทจี่ าเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ เพ่ือเขา้ สู่การ
ปฏิรูปการศึกษาและการจัดการศึกษายุคไทยแลนด์ ๔.๐ ตลอดทั้งมาตรฐานการศึกษาของชาติที่มุ่งเน้นให้
ผู้เรียนมีคุณภาพ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีทักษะวิชาการ ทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต ทักษะการเป็นผู้นา
และทักษะการนาไปสู่การสร้างนวัตกร กระบวนการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน การ
นิเทศการศึกษาจึงมีความสาคัญต่อการพัฒนา ปรับปรุงและ เพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาใน
สถานศึกษา เพ่อื ให้ผู้บรหิ ารและครผู ู้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจดา้ นการบรหิ ารจัดการ ด้านหลักสตู ร การจัดกจิ กรรม
การเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพรวมท้ังการปฏิบัติงานอ่ืนๆ ที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
(สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน, ๒๕๖๒ : ๑-๒)
นับตั้งแต่มีการปฏริ ูปการศกึ ษาตามพระราชบัญญัติการศกึ ษา พ.ศ.๒๕๔๒ โดยคานงึ ๓
ถึงหลกั ทว่ี า่ ผเู้ รยี นจะต้องมีความสาคัญทีส่ ดุ สามารถพัฒนาตนเองเตม็ ตามศักยภาพ ตามมาตรา
ที่ ๒๒ โดยสถานศึกษาจะต้องดาเนินงานจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัด ฝึกทักษะ
กระบวนการคิด การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง บูรณาการความรู้ด้านต่าง ๆ ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้สอน
จัดการเรียนท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้ นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ตามมาตรา ๒๔
(กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๔๖ : ๑๑-๑๒) ซง่ึ ในการปฏิรูปการศกึ ษาใหป้ ระสบความสาเร็จตามพระราชบญั ญตั ิ
การศกึ ษาแห่งชาตินนั้ จาเปน็ อยา่ งยงิ่ ทจ่ี ะตอ้ งมกี ารพัฒนาครูให้ปรับพฤติกรรมการสอนจากเดิมๆ เปน็ แบบใหม่
เป็นอันดบั แรก แต่การพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้ประสบความสาเร็จน้ัน ต้องอาศัยความร่วมแรง
ร่วมใจจากบุคลากรที่เกี่ยวข้องท่ีสาคัญต้องมีความเข้าใจพ้ืนฐานท่ีตรงกันในการพัฒนาและส่ิงท่ีต้องเร่ง
ดาเนินการโดยด่วน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาการเรียนการสอนก็คือ การพัฒนาคุณภาพของครู (อรรณพ
พงษ์วาท, ๒๕๓๙ : ๑๖-๑๗) กระบวนการหนึ่งท่ีใช้ในการสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพครู ตลอดจนพัฒนา
คณุ ภาพการเรยี นการสอนให้บรรลุตามที่ต้องการคือ กระบวนการนิเทศการศึกษา เพราะการนเิ ทศการศกึ ษาจะ
ช่วยกระตนุ้ สง่ เสริมและปรับปรุงกระบวนการการสอนของครูให้บรรลุตามจุดมุ่งหมายของหลกั สูตรท่ีกาหนด
และการนิเทศการศกึ ษาภายในโรงเรียนกเ็ ปน็ กระบวนการหนงึ่ ที่จะชว่ ยใหค้ รูสามารถพฒั นาการเรียนการสอน
ของตนได้ตรงตามสภาพของปัญหาและความต้องการที่แท้จริงของผู้เรยี นโดยอาศยั ความร่วมมือของผู้บรหิ าร
โรงเรยี นและครูเพื่อก่อใหเ้ กิดการพัฒนาตนเอง พฒั นางานและนาไปสกู่ ารพัฒนาผู้เรยี นในท่ีสุด (สานกั งานการ
ประถมศกึ ษาแหง่ ชาติ, ๒๕๔๐ : ๔ )
ในการจดั การศึกษาที่ผ่านมาประสบความสาเร็จในด้านปรมิ าณแต่ในด้านคณุ ภาพของการศกึ ษากาลัง
น่าเป็นห่วง ความร้คู วามสามารถของเด็กไทยอ่อนลงรวมท้งั คุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องนกั เรียนในด้านคุณธรรม
จริยธรรม ระเบียบวนิ ยั การทางานเปน็ หมู่คณะ ในดา้ นคุณภาพครูพบว่าครผู ้สู อนระดบั ข้ันพื้นฐานมคี ุณภาพตา่ ลง
ครูส่วนใหญ่ใช้วิธีการสอนแบบเดิม คือ บรรยาย ไม่เน้นกระบวนการให้ผู้เรียนได้พัฒนาความคิดวิเคราะห์
สงั เคราะห์ การแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองและใช้สื่อการสอนไม่มากนัก (สานกั งานคณะกรรมการการประถมศึกษา
แห่งชาติ, ๒๕๔๓ : ๒) สอดคล้องกบั ผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา โดยสานักงานรบั รองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) พบว่า มาตรฐานด้านผู้เรียน มาตรฐานที่ ๔ คือ ผู้เรียนมี
ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดสงั เคราะหม์ ีวจิ ารณญาณ มีความคดิ สร้างสรรค์ คดิ ไตรต่ รอง และมีวสิ ัยทัศน์
อยู่ในระดับปรับปรุงเสียส่วนใหญ่ จากการสรุปการประเมินผลของ สมศ. ครั้งสุดท้ายจากสถานศึกษา จานวน
๑๗,๕๖๒ แห่ง มีสถานศึกษาเพียงร้อยละ ๑๑.๑ ท่ีมีผลการประเมินอยู่ในระดับดี (มีผู้เรียนร้อยละ ๗๕ ขึ้นไป)
ได้ผลการประเมนิ ต่าทีส่ ดุ จากมาตรฐานทง้ั หมด ๑๔ มาตรฐาน หมายถึง โดยภาพรวมของการจดั การศึกษา ผู้เรยี น
มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมี
วิสยั ทศั น์ ในมาตรฐานที่ ๔ มีผู้เรียนบรรลุผลน้อยมาก (สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา, ๒๕๔๙ : ๑)
การนิเทศภายในของโรงเรียนเป็นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของบุคลากรทุกฝ่ายในโรงเรียน อัน
สง่ ผลในการทจ่ี ะพัฒนาบุคลากรทุกคน ให้สามารถทางานเก่ียวกับการพัฒนาผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ การ
นิเทศภายในมิใช่การตรวจสอบ จับผิด แต่เป็นการช่วยเหลือส่งเสริมเติมส่วนที่ขาดให้กันและกัน การนิเทศ
ภายในโรงเรียนจงึ ควรจัดให้มีขึ้นอยา่ งมีระบบ มกี ารวางแผนรายละเอยี ดรว่ มกัน แต่ละขั้นตอนบอกระยะเวลา
ในการนิเทศ ทางปฏิบัติ ผลทีค่ าดวา่ จะได้รับและขณะดาเนินการ ควรมีการบันทึกผลเพ่ือปรับปรุงเป็นระยะ
(นพิ นธ์ กินาวงศ,์ ๒๕๒๖ : ๖) การนเิ ทศภายในทปี่ ระสบผลสาเรจ็ จะทาใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมการ
สอนของครูและบุคลากรทุกฝ่ายจะร่วมมือกันในการพัฒนาตนเองตามศักยภาพ ชื่นชมกับความสาเร็จของ
ตนเองส่งผลตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพของผู้เรยี น หัวใจของการนเิ ทศภายในนน้ั คอื การเรียนรูข้ องครเู พ่อื การ
พัฒนาตนเองใหม้ คี วามร้ทู ี่ทนั สมยั ทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ จนเข้าใจวิธีการต่าง ๆ ได้อย่างชดั เจนและมอง ๔
ภาพอนาคตไดอ้ ยา่ งตลอดแนว วิธีการท่ที าใหค้ รสู ามารถพฒั นาตนเองไดม้ หี ลายวิธี การแลกเปลี่ยน
เรยี นรู้ระหว่างเพื่อนครู และบุคคลที่เก่ียวขอ้ งกบั การเรียนรู้ของนักเรียน มีโอกาสไดร้ ับความรู้ ถ่ายทอดความ
ความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ และร่วมคดิ วเิ คราะหป์ ัญหาเก่ียวกับการจดั การเรียนรทู้ ้งั ปัญหาของตนเอง เพอื่ น ครู
และพ่อแม่หาแนวทางแก้ปญั หารว่ มกนั (สานักงานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแห่งชาติ, ๒๕๔๑ : ๘๗)
ภาระงานของผบู้ ริหารเขตพ้ืนที่การศึกษาและผู้บริหารสถานศกึ ษา ชี้ให้เห็นว่า การพัฒนาคณุ ภาพ
การศกึ ษา จะสาเร็จไดต้ ามเป้าหมาย กระบวนการจดั การเรียนรู้ กระบวนการนิเทศและกระบวนการบริหาร
จดั การ จาเปน็ ตอ้ งพัฒนาและร่วมกนั สนับสนุนส่งเสริมไปดว้ ยกันในลกั ษณะของ “เกลียวเชือก” กระบวนการ
นิเทศการศึกษา (Supervision) เปน็ กระบวนการทที่ าให้เกดิ การพฒั นาและปรบั ปรงุ กระบวนการเรียนการสอน
ของครูโดยการทางานรว่ มกบั บุคคลทเ่ี กีย่ วขอ้ ง มงุ่ ใหเ้ กดิ การเรียนรทู้ ี่มปี ระสิทธิภาพสง่ ผลถึงคณุ ภาพของผู้เรยี น
กระบวนการนเิ ทศการศึกษช่วยทาให้เกดิ การพัฒนาคน พัฒนางาน สร้างการประสานสัมพนั ธ์ และขวัญกาลงั ใจ
ผู้บริหารสถานศึกษา คือ บุคคลที่ทาหน้าที่ นิเทศการศึกษาโดยตาแหน่ง ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับงานวิชาการ
สง่ เสรมิ สถานศึกษาให้บริหารหลักสตู ร จัดกระบวนการเรยี นรู้ มีระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศกึ ษาตาม
มาตรฐานการศกึ ษาแห่งชาติ มีวิจัยวิเคราะห์ ตรวจสอบประเมนิ ผลจากสภาพการดาเนินงานตามภาระงานของ
สถานศึกษา ตามนโยบายท่ีกระทรวงศึกษาธิการกาหนดในปัจจุบัน สถานศึกษายังไม่สามารถปฏิบัติงานให้
บรรลุผลสาเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยพิจารณาความก้าวหน้าสภาพปัญหาและอุปสรรคของการจัด
การศึกษาที่ปฏิบัติในโรงเรียน(อุทัย บญุ ประเสริฐ, ๒๕๔๖ : ๒๔) กล่าวคือปัญหาท่ีเกิดจากนโยบายการศกึ ษา
ชาตทิ ี่มักจะเปล่ยี นแปลงไปตามเหตผุ ลทางการเมอื ง มีการเปล่ยี นแปลง ผบู้ ริหารระดบั กระทรวงหรือในระดับ
กรมทาให้นโยบายทางการการศึกษาต้องเปลี่ยนไป ส่งผลให้การปฏิบัติในสถานศึกษาเปล่ียนด้วย บุคลากร
ในสถานศึกษาต้องรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง และประการสาคัญ คือ ข้อจากัดของบุคลากรในด้านความรู้
ความสามารถท่ีแตกต่างกัน จึงทาให้เกิดปัญหาตามมา (ชารี มณีศรี, ๒๕๔๒ : ๑๕) นอกจากน้ีบุคลากร
ขาดความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน ประสิทธิภาพการสอนและการปฏิบัติงานต่าเมื่อได้รับ
การพัฒนาไปแล้ว ไม่มีผู้นิเทศติดตาม เพ่ือให้เกิดการพัฒนาที่ต่อเน่ืองและยั่งยืน ขาดความชานาญ
ในการนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพของงาน สิ่งเหล่านี้ทาให้เป็นอุปสรรค
ในการพัฒนางาน ปญั หาดังกลา่ วส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการดาเนนิ งานด้านการบรหิ ารจัดการนิเทศ
การศึกษา (ธีระ รุญเจรญิ , ๒๕๔๕ : ๑๒๐-๑๒๒)
โรงเรียนศรีสองรักษ์วิทยา อาเภอด่านซ้าย จังหวดั เลย สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต ๑๙ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนขนาดกลาง จัด
การศึกษา ๒ ช่วงช้ัน คือช่วงช้ันที่ ๓ (ม.๑- ม.๓) และช่วงช้ันที่ ๔ (ม.๔-ม.๖) ปีการศึกษา ๒๕๖๔ มี
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จานวน ๗๒ คน นักเรียน จานวน ๑,๑๒๐ คน การจัดการศึกษาของ
โรงเรียนได้ยึดตามแนวนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพื้นฐาน เป็นหลัก เพื่อให้เด็กและ
เยาวชน มีความสามารถและทักษะในการคดิ วิเคราะห์ ทักษะการใชภ้ าษา ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
ตลอดจนมีคุณธรรม และครู คือ หัวใจสาคัญของการจัดการเรียน การสอน โรงเรียนได้จัดทากรอบแนวคิดใน
การดาเนินงานของโรงเรยี นศรีสองรกั ษ์วิทยา สู่มาตรฐานสากลมีการวางแผนพัฒนางาน พัฒนาบุคลากรให้มี
คุณภาพ มปี ระสทิ ธิภาพสามารถจดั การเรยี นการสอนโดยเน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั เพือ่ ให้นกั เรยี นเปน็ คนดี คนเกง่
และมีความสุข มีการนเิ ทศ กากับ ติดตาม ประเมนิ ผล อย่างตอ่ เน่ือง แตก่ ารบริหารงานวิชาการยังไมป่ ระสบ
ผลสาเร็จตามเปา้ หมายท่ีกาหนด
๕
จากการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกสถานศกึ ษาโดยสานกั งานรบั รองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน) พบว่า มาตรฐานด้านผเู้ รยี น มาตรฐานท่ี ๔ คอื ผูเ้ รยี น
มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมี
วิสยั ทศั น์ อยู่ในระดับพอใช้ มาตรฐานที่ ๕ คือ ผู้เรียนมีความร้แู ละทักษะที่จาเปน็ ตามหลกั สตู ร อยู่ในระดบั พอใช้
(สานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา, ๒๕๔๗ : ๕) และมาตรฐานดา้ นครู มาตรฐานท่ี ๒๒ ครู
มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนสาคัญ อยู่ในระดับดีและ
คณะกรรมการประเมินคณุ ภาพภายนอกไดใ้ หข้ อ้ เสนอแนะไว้วา่ โรงเรยี นควรจดั อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารในเรอ่ื งการวัด
และประเมินผลตามสภาพจรงิ และสอนให้นักเรยี นสามารถในการคิดวเิ คราะห์ และสังเคราะห์ การจัดทาวจิ ัยใน
ช้นั เรียนและนาผลมาปรบั ปรุงการเรยี นไดจ้ ริง ส่งเสริมให้ครมู ีความรู้ ทักษะด้านการใช้เทคโนโลยี และการไปทัศน
ศกึ ษาท้ังในและต่างประเทศ เพื่อส่งผลให้ผูเ้ รียนมีผลสัมฤทธ์ิสูงข้ึน และจากผลการประเมินการปฏิบัติงานของ
ฝา่ ยบริหารงานวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ พบว่าครมู ีความสามารถในการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รียนเป็น
สาคญั อยู่ในระดับคณุ ภาพดี และสิง่ ทค่ี วรดาเนินการ คอื จัดอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการในการผลิตส่ือเทคโนโลยี ในการ
จัดการเรียนการสอน การวัดประเมินผลตามสภาพจริง ส่งเสริมการทาวิจัยในช้ันเรียนให้มีคุณภาพและใช้
แกป้ ัญหาผู้เรยี นไดจ้ ริง และจดั อบรมเชิงปฏบิ ัติการการจัดการเรยี นร้ทู ่ีเน้นทักษะการคิด และจากผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ และช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ ปี
การศึกษา ๒๕๖๑ โรงเรียนศรีสองรักษ์วิทยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๙ ในภาพรวมมี
ค่าเฉลี่ยไมถ่ ึงรอ้ ยละ ๕๐ และตา่ กว่าคา่ เฉลีย่ ระดบั เขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา (โรงเรยี นศรีสองรักษ์วทิ ยา, ๒๕๖๒)
ผู้รายงานในฐานะทดี่ ารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา โรงเรียนศรีสองรกั ษว์ ทิ ยา และปฏิบัติหนา้ ท่ี
เป็นคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.) สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มัธยมศกึ ษา เขต ๑๙ มหี นา้ ท่ีโดยตรงในการนิเทศ กากับ ติดตามและประเมินผลการดาเนนิ งาน ได้ตระหนักและ
มองเห็นจุดด้อยท่ีตอ้ งพัฒนา จงึ ได้ศึกษา วิเคราะห์สภาพ ปัญหา และความตอ้ งการของโรงเรยี น จึงไดข้ ้อสรุปว่า
โรงเรียนควรมีการนิเทศภายในอย่างเป็นระบบ เพ่ือให้การจัดการกระบวนการเรียนรู้ของครูมีประสิทธภิ าพและ
เกิดประสทิ ธิผล ใหส้ อดคล้องกบั พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และทแี่ ก้ไขเพ่ิมเตมิ ทกุ ฉบบั และ
เพื่อให้การดาเนินงานของโครงการมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลทั้งระบบได้นั้น จะต้องมีการประเมินการ
ดาเนินงานเป็นระยะ ตั้งแต่เริ่มดาเนินงานตามโครงการ คือ การประเมินความเหมาะสมของสภาพแวดล้อม ความ
พร้อมของของปัจจัยเบื้องต้นในการดาเนินงานเมื่อดาเนินการไประยะหนึ่งให้มีการประเมินความเหมาะสมในการ
ดาเนินการด้านกระบวนการ และเม่ือส้ินปีการศึกษาให้มีการประเมินผลผลิตของโครงการ นาผลการประเมินไป
ปรับปรงุ และพัฒนาหรือแก้ปัญหาตา่ ง ๆ อย่างเปน็ รูปธรรม ท่ีจะส่งผลต่อการพฒั นาครูให้เปน็ ครูมอื อาชีพ สามารถ
พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีสูงข้ึนตาม
เป้าหมายท่ีโรงเรียนกาหนด มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) และหลกั สูตรของสถานศกึ ษา
ในปีการศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรียน จึงได้จัดทาโครงการนิเทศภายในโรงเรียนศรีสองรักษ์วิทยา ใน
แผนปฏิบัติการประจาปี เพื่อให้สอดคล้องตามนโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ี
กาหนดให้ “ปี ๒๕๖๒ เป็นปีทองแห่งการนิเทศภายใน โดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานเพ่ือพัฒนาคุณภาพ
ของผู้เรียน” ซ่งึ เป็นการพัฒนาครใู หม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ท่เี นน้ ผู้เรียน
เปน็ สาคญั มีทกั ษะในการผลิตสือ่ และสามารถนาสอ่ื ไปใช้ในการจดั การเรียนการสอน มีความรคู้ วามสามารถใน
การวดั ผลและประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ และมีความสามารถแก้ปัญหาและพฒั นาการเรียนการสอน ๖
ด้วยกระบวนการวิจัย ดงั น้ันผ้รู ายงานจงึ ไดป้ ระเมนิ โครงการนเิ ทศภายในโรงเรยี นศรสี องรักษ์วิทยา
เพื่อทราบว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการหรือไม่เพ่ือจะได้นาข้อมูลที่ได้เป็นแนวทาง
พัฒนาดา้ นการจัดการเรยี นการสอน และพฒั นาการนเิ ทศใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพตอ่ ไป รายงานการประเมนิ โครงการ
ภายในโรงเรียนศรีสองรกั ษ์วิทยาครั้งนี้ ผูร้ ายงานใชร้ ปู แบบ CIPP Model อาศัยรปู แบบการประเมินโครงการ
ของ Danial L.Stufflebeam หรอื แบบจาลอง CIPP Model มาใชใ้ นการประเมิน
๒.๓ รปู แบบ หรอื กระบวนการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา
กระบวนการนิเทศภายในโรงเรยี นศรีสองรกั ษว์ ิทยา โดยใช้รปู แบบ CIPP MODEL
การประเมินสภาพแวดลอ้ ม รายงานโครงการนเิ ทศภายใน
(Context Evaluation) โรงเรียนศรสี องรกั ษ์วิทยา
การประเมนิ ปจั จัยเบื้องต้น/ตวั ปอ้ น
(Input Evaluation)
การประเมนิ กระบวนการ
(Process Evaluation)
การประเมินผลผลติ
(Product Evaluation)
FEED BACK
๒.๔ วิธดี าเนนิ การ ๗
วิธดี าเนินการนเิ ทศภายในโรงเรียนสรปุ เปน็ แผนภูมไิ ด้ ดงั นี้
ข้ันตอน การดาเนินการ ผลลพั ธ์
ระยะที่ ๑ ศกึ ษา วเิ คราะห์ สังเคราะห์เอกสาร องค์ประกอบ
ศึกษาองค์ประกอบ (Content Analysis) การนเิ ทศภายใน
การนิเทศภายใน ของสถานศกึ ษา
ของสถานศึกษา ศกึ ษางานวจิ ยั ท่ีเก่ยี วขอ้ ง
ท้ังในประเทศและตา่ งประเทศ คู่มอื โครงการ
การนิเทศภายใน
ระยะท่ี ๒ ฉบับที่ ๑ เป็นแบบประเมนิ ความเหมาะสม ของสถานศึกษา
ประเมนิ โครงการ สภาพแวดล้อมของโครงการนเิ ทศภายใน
การนเิ ทศภายใน
ฉบับท่ี ๒ เป็นแบบประเมินความพรอ้ มของปัจจยั
ของสถานศกึ ษา เบือ้ งต้นในการดาเนินงานตามโครงการนิเทศภายใน
ฉบบั ที่ ๓ เป็นแบบประเมนิ ความเหมาะสมในการ
ดาเนนิ การด้านกระบวนการของโครงการนิเทศภายใน
ฉบับที่ ๔ เป็นแบบประเมนิ ดา้ นผลผลติ ของโครงการ
นิเทศภายในโรงเรยี นศรสี องรกั ษว์ ทิ ยา
ระยะที่ ๓ นาคู่มือโครงการนิเทศภายในไปใช้ รายงานโครงการ
ทดลองใช้และ กบั ครผู ู้สอนทกุ กล่มุ สาระการเรียนรู้
การนเิ ทศภายใน
ปรับปรุงพฒั นา ในโรงเรยี น ของสถานศกึ ษา
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒-๒๕๖๓ จานวน ๖๔ คน
๒.๕ การกากบั ตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผล ๘
รายงานการประเมินโครงการนิเทศภายในโรงเรียนศรีสองรักษ์วิทยา ปีการศึกษา ๒๕๖๒ มี
วัตถุประสงค์เพื่อ ๑) ประเมินความเหมาะสมของสภาพแวดล้อมของโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
ศรีสองรักษ์วิทยา ๒) ประเมินความพร้อมของปัจจัยเบ้ืองต้นในการดาเนินงานตามโครงการนิเทศภายใน
โรงเรียนศรสี องรกั ษ์วิทยา ๓) ประเมนิ ความเหมาะสมในการดาเนินการด้านกระบวนการของโครงการนิเทศ
ภายในโรงเรียนศรสี องรักษ์วิทยา และ ๔) ประเมนิ ผลผลิตของโครงการนเิ ทศภายในโรงเรียนศรสี องรกั ษ์วทิ ยา
ประชากรท่ีใช้ในการประเมินเป็นผู้บริหารสถานศกึ ษา และครผู ู้สอน โรงเรียนศรีสองรักษ์วิทยา ปีการศึกษา
๒๕๖๒ และ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ จานวน ๖๔ คน โดยใชป้ ระชากรเปน็ ตวั อย่าง
เคร่ืองมือที่ใช้ในการประเมิน เป็นแบบประเมินแบบมาตราส่วนประมาณค่า จานวน ๔ ฉบับ ได้แก่ แบบ
ประเมนิ ความเหมาะสมของสภาพแวดล้อมของโครงการ แบบประเมินความพร้อมของปัจจัยในการดาเนนิ งาน
ตามโครงการ แบบประเมินความเหมาะสมในการดาเนินการด้านกระบวนการของโครงการ และแบบ
ประเมินผลผลติ ของโครงการ
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ไดด้ าเนนิ การเก็บขอ้ มูล กอ่ นดาเนินโครงการ ระหว่างดาเนินการและเม่อื สนิ้ สดุ
โครงการ
การวเิ คราะหข์ ้อมูล วเิ คราะหห์ าค่าเฉลี่ย คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ าเรจ็ รูป
ผลการประเมินพบวา่
๑. ความเหมาะสมของสภาพแวดล้อมของโครงการนิเทศภายในโรงเรียนศรีสองรักษ์วิทยา
โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = ๔.๙๐, = ๐.๒๑) เมื่อพิจารณาแต่ละรายการ
อยู่ในระดับมากท่ีสุดทุกรายการ รายการที่มีค่าเฉลี่ยสูงท่ีสุด คือ ด้านโครงสร้างของการนิเทศภายใน ( =
๔.๙๓, = ๐.๒๐) รองลงมา คือ ด้านการนิเทศจากหน่วยงานภายนอก มีค่าเฉลีย่ เท่ากนั ( = ๔.๙๒, =
๐.๒๒) ส่วนรายการท่ีมีค่าเฉล่ียต่าที่สุด คือ ด้านโครงสร้างของโครงการ ( = ๔.๘๘, =๐.๓๐)
ซ่ึงผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ตามที่กาหนดทัง้ รายด้านและภาพรวม สูงกว่าเกณฑท์ ี่ตัง้ ไว้
๒. ความพร้อมของปัจจัยเบื้องต้นในการดาเนินงานตามโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
ศรีสองรักษ์วิทยา โดยภาพรวมมีความเหม าะสมอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( = ๔.๙๔, = ๐.๑๓)
เมื่อพจิ ารณาแตล่ ะรายการอยใู่ นระดบั มากท่สี ดุ ทุกรายการ รายการท่ีมคี ่าเฉลย่ี สูงทสี่ ดุ คอื ดา้ นอาคารสถานท่ี (
= ๔.๙๖, = ๐.๑๑) รองลงมา คอื ด้านงบประมาณ ( = ๔.๙๕, = ๐.๑๔) ส่วนรายการท่ีมคี า่ เฉล่ียต่า
ท่สี ดุ คอื ด้านการวางแผนดาเนนิ โครงการ ( = ๔.๙๒, =๐.๑๗) ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่กาหนด
ทั้งรายด้านและภาพรวม สงู กว่าเกณฑ์ที่ตัง้ ไว้
๓. ความเหมาะสมในการดาเนินการด้านกระบวนการของโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
ศรีสองรกั ษ์วิทยา โดยภาพรวมมีความเหมาะสม อย่ใู นระดบั มากท่ีสดุ ( = ๔.๙๕, = ๐.๑๒) เม่ือพจิ ารณา
แต่ละรายการอยู่ในระดับมากที่สุดทุกรายการ รายการที่มีค่าเฉล่ียสูงที่สุด คือ ด้านการปฏิบัติกิจกรรมของ
โครงการ (กระบวนการและกิจกรรมการนิเทศภายใน) ( = ๔.๙๗, = ๐.๑๓) รองลงมา คือ ด้านการ
ปฏิบัติกิจกรรมของโครงการ (การบริหารกระบวนการนิเทศภายใน) ( = ๔.๙๖, = ๐.๑๑) สว่ นรายการทม่ี ี
ค่าเฉล่ียต่าที่สุด คือ ด้านการดาเนินงานตามโครงการ ( = ๔.๙๑, =๐.๑๗) ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามท่กี าหนดท้ังรายดา้ นและภาพรวม สูงกว่าเกณฑท์ ีต่ ้งั ไว้
๔. ผลผลติ ของโครงการนเิ ทศภายในโรงเรียนศรสี องรักษว์ ทิ ยา โดยภาพรวมมคี วาม ๙
เหมาะสมอย่ใู นระดับมากที่สดุ ( = ๔.๙๔, = ๐.๑๓) เม่อื พิจารณาแตล่ ะรายการอยู่ในระดับมาก
ทีส่ ดุ ทกุ รายการ รายการท่ีมีคา่ เฉลี่ยสงู ที่สุด คอื ดา้ นผ้เู รยี น และด้านผู้บริหาร ( = ๔.๙๔, = ๐.๑๓) สว่ น
รายการ ท่ีมีค่าเฉลี่ย ต่าที่สุด คือ ด้านครูผู้สอน ( = ๔.๙๓, =๐.๑๔) ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี
กาหนดทัง้ รายด้านและภาพรวม สูงกวา่ เกณฑ์ทตี่ ง้ั ไว้
การประเมินโครงการนิเทศภายในโรงเรียนศรีสองรักษ์วิทยา โดยภาพรวม มีความเหมาะสม
อยู่ในระดับมากที่สุด ( = ๔.๙๓, = ๐.๑๐) เมื่อพิจารณาแต่ละรายการอยู่ในระดับมากที่สุดทุกรายการ
รายการที่มคี ่าเฉล่ียสูงท่ีสุด คือ ความเหมาะสมในการดาเนินการดา้ นกระบวนการของโครงการนิเทศภายใน
โรงเรียนศรีสองรักษ์วิทยา ( = ๔.๙๕, = ๐.๑๒) รองลงมา คือ ความพร้อมของปัจจัยเบ้ืองต้น
ในการดาเนินงานตามโครงการนิเทศภายในโรงเรียนศรสี องรักษ์วิทยา และผลผลติ ของโครงการนิเทศภายใน
โรงเรียนศรีสองรกั ษว์ ทิ ยา ( = ๔.๙๔, = ๐.๑๓) สว่ นรายการที่มคี า่ เฉลีย่ ต่าท่ีสดุ คือ ความเหมาะสมของ
สภาพแวดล้อมของโครงการนิเทศภายในโรงเรยี นศรีสองรกั ษว์ ทิ ยา ( = ๔.๙๐, =๐.๒๑) ซึง่ ผ่านเกณฑก์ าร
ประเมนิ ตามท่กี าหนดท้ังรายด้านและภาพรวม สงู กว่าเกณฑท์ ีต่ ัง้ ไว้
๒.๖ ผลสาเรจ็ ท่ีได้ และการนาผลไปใช้
ผลท่ีเกิดจากการนิเทศภายในโรงเรียน ครูผู้สอนมีผลงานวิจัยในชั้นเรียน ร้อยละ ๑๐๐
ดงั ตารางที่ ๑
ตารางที่ ๑ ผลงานวจิ ัยของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาและครูผสู้ อน
ช่ือ-สกลุ ชือ่ งานวจิ ยั
นายจิตตศิ กั ดิ์ นามวงษา
- รปู แบบการบรหิ ารสถานศกึ ษาส่คู วามเปน็ เลศิ โรงเรยี นศรสี องรกั ษ์
น.ส.ศิรพิ ร ตาริยะ วิทยา สงั กดั สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑๙
นางญาณี ชัยพนั ธ์ - รายงานโครงการหนง่ึ โรงเรียน หนง่ึ นวัตกรรม
นางเสริมจติ ศรวี ารี การศกึ ษาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นวิชาภาษาไทย การเขียนสารคดี
โดยใช้เนอ้ื หาขอ้ มลู ในจงั หวัดเลย ของนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๕
การพัฒนาทกั ษะการคดิ วิเคราะหแ์ ละเขียนแผนภาพความคดิ
โดยใช้การจัดการเรยี นรูด้ ้วยเทคนิค KWL PLUS สาหรบั นกั เรยี น
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๒
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการเรยี น
ตารางท่ี ๑ (ตอ่ ) ผลงานวิจยั ของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาและครูผสู้ อน ๑๐
ชอ่ื -สกลุ ชือ่ งานวจิ ยั
น.ส.พรทพิ ย์ เชอ้ื บญุ มี
น.ส.จารุวรรณ สงิ ห์สถิต การศกึ ษาสาเหตเุ ร่อื งการไมส่ ง่ งาน/การบา้ นของนักเรยี น
นางพชั รา พิทักษส์ ฤษดิ์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖/๓
นางจฬุ าลกั ษณ์ บญุ พรหม
นางอาภรณจ์ ิต รตั นไตรศรี การวจิ ยั สารวจเจตคตขิ องนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒
นางกมลพร อปุ ระ ต่อวชิ าการงานอาชพี ๑ ตอ่ ครผู สู้ อน
นายภานุวฒั น์ พรหมรกั ษา การพัฒนานักเรียนท่ขี าดความเชอ่ื มั่นโดดเด่ียวตนเอง
ให้มมี โนคตทิ ่ดี ตี ่อตนเอง (Self Concept)
นายอภริ ัตน์ พรหมรักษา
นายชยั วัฒน์ ราชกรม การแกไ้ ขปญั หานกั เรยี นทปี่ รึกษา ติด ๐ ร มส จานวนมาก
นางกฤติมา แรมลี
นางเดือนเพ็ญ คมุ้ ภยั ปัญหานกั เรียนใหเ้ พื่อนเขียนรายงานสง่ ครูแทน
นายธงชยั รักษามั่น
การศกึ ษาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นวิชาคณติ ศาสตร์
เรอ่ื งจานวนอตรรกยะของนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒
โดยการจดั การเรยี นรู้แบบแก้ปญั หาโดยใชส้ ารสนเทศ
การศกึ ษาผลสมั ฤทธิใ์ นการเรยี นวิชาคณิตศาสตร์
เรอื่ งความน่าจะเป็นของนกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๔
โดยการจดั การเรียนรแู้ บบวฏั จกั รการเรียนรู้ SE ร่วมกบั การเรยี น
แบบ STAD
การแกป้ ญั หานกั เรียนมาเขา้ แถวไมท่ ันของนกั เรยี น
ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๖/๓
การศกึ ษาคณุ ลกั ษณะของครผู สู้ อนตามทัศนะของนักเรียน
ท่ีกาลงั ศึกษาชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๖/๑-๖/๕
การแกป้ ญั หาเก่ยี วกบั นกั เรยี นไมส่ ง่ งานของนกั เรียน
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒/๔
การวดั เจตคตทิ ่ดี ีตอ่ วิชาภาษาองั กฤษของนกั เรยี น
ในระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒
การแก้ปญั หาการสง่ งานในรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี
(รหสั วชิ า ว ๓๑๒๘๑) โดยใชว้ ธิ กี ารสง่ งานผา่ นระบบหอ้ งเรียน
ออนไลน(์ Google Classroom) ของนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๔
ตารางที่ ๑ (ตอ่ ) ผลงานวจิ ยั ของผ้บู ริหารสถานศกึ ษาและครูผสู้ อน ๑๑
ชือ่ -สกลุ ชื่องานวิจยั
นางนิศรา รกั ษามัน่
การจดั การเรยี นการสอนโดยประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
นางนุชจรีภรณ์ จนั ทศร (DLIT) รายวิชาคอมพวิ เตอร์กราฟิกและการนาเสนอ
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒
นายสุเมธ แก้วแย้ม
นางชิณีนินท์ อนิ ปาน การพัฒนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นในรายวิชาชีววทิ ยา
น.ส.ญาณิศา เสนานชุ เรอ่ื งเคมที เี่ ปน็ พนื้ ฐานของสงิ่ มีชีวติ โดยใชก้ ารจดั การเรยี นรู้
แบบสบื เสาะหาความรู้ ๕ ขน้ั (๕E) ร่วมกบั การจดั การเรยี นรู้
น.ส.คุณญั ญา ราศรีชยั แบบเชงิ รกุ (Active Learning) ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔
นางณฐั วดี พรหมรักษา การขาดความรบั ผดิ ชอบในการสง่ งานรายวชิ าศลิ ปะของนกั เรยี น
นายจกั รชยั แก้วพิภพ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑/๒
น.ส.นนั ทนา แก้วนาค
นายเอกลกั ษณ์ ราชพรหมมา การออกเสยี งคาศพั ท์ทล่ี งท้ายด้วย ch กบั sh ไมถ่ ูกตอ้ ง
น.ส.พนมพร แสงขาว ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑
น.ส.รจนา เนตรแสงศรี
นางเสาวรี เท่ียงตรง การพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวชิ าคณติ ศาสตร์ เร่ือง ระบบ
สมการเชิงเสน้ สองตัวแปรโดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๓
การตอ่ ตวั ตา้ นทานทเี่ รียนด้วยวิธกี ารเรยี นแบบเพอื่ นชวนเพอ่ื น
ของนกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๔
ของ PhET ของนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔/๕
การพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวชิ าเคมี๑ เรอื่ งอนภุ าค
ในอะตอมและไอโซโทปโดยการใชส้ อื่ สถานการณจ์ าลอง
พฤตกิ รรมการไมส่ ง่ งานของนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓/๔ และ
๓/๕
ศกึ ษาปญั หานักเรยี นชอบเลน่ มากกว่าเรยี น ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑
การแก้ปญั หานกั เรยี นมาเขา้ แถวไมท่ ันของช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖/๓
ศึกษาพฤตกิ รรมการใชง้ านอนิ เทอรเ์ น็ตของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๑
การอ่านจบั ใจความสาคญั ของนกั เรยี นระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔
การพฒั นานกั เรียนทีม่ ีปญั หารายบุคคล
ตารางท่ี ๑ (ต่อ) ผลงานวิจยั ของผบู้ รหิ ารสถานศึกษาและครูผสู้ อน ๑๒
ชือ่ -สกลุ ช่ืองานวจิ ยั
น.ส.จฑุ าทิพย์ ชติ ฮาต
การแก้ปญั หาการสง่ งานในรายวิชาของทรี่ ะลึก รหสั วิชา ง ๓๑๒๓๑
น.ส.ศภุ มาศ ศรบี ุตตา โดยใช้วิธกี ารสง่ ผา่ นระบบหอ้ งเรยี นออนไลน์ (Google
Classroom)
นางวลิ าวรรณ ตรวี ิเศษ
นางเนตรญา พินธสิ ืบ การพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นรายวิชาฟสิ ิกสเ์ พิ่มเตมิ
น.ส.เด่นนภา ยอยบปุ ผา เรอื่ ง โมเมนตัมและการชน โดยใช้แบบฝกึ ทกั ษะของนกั เรียน
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๕
น.ส.ภทั รรินทร์ แก้วสุฟอง
การพฒั นาทกั ษะการอ่านสะกดคาทไ่ี ม่ตรงตามมาตราตัวสะกด แม่
นายวรณฐั นามปญั ญา กด สาหรบั นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๑
นายวีรชาติ สมอุปฮาด
น.ส.เบญจวรรณ จันจอม การพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นคณติ ศาสตร์ โดยการเรียนรู้
น.ส.รชั นี ศรีอ่นิ แกว้ ผา่ นกจิ กรรม Active learning เรอื่ งวงกลม ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓
การแกป้ ญั หานกั เรียนสง่ งานในรายวิชาวทิ ยาการคานวณ
รหสั วชิ า ว ๓๐๑๑๕ โดยใชว้ ธิ ีการสง่ งานผา่ นระบบหอ้ งเรยี น
ออนไลน์ (Google Classroom) ของนกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔
การพัฒนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นโดยใช้เทคนคิ การเรียนรูแ้ บบ
ร่วมมอื วิชาวทิ ยาศาสตรเ์ รอื่ งลมฟ้าและอากาศของนกั เรยี นช้นั
มธั ยมศึกษาปีที่ ๑
การแก้ปญั หานกั เรยี นสง่ งานล่าชา้ รายวิชาการงานอาชพี
ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓
การพฒั นาการกระโดดตบวอลเลยบ์ อลของนกั เรยี น
ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๔
ผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูด้ ว้ ย Glimkit เพอ่ื แกป้ ญั หานกั เรยี น
ไม่สนใจทบทวนบทเรียน
สง่ เสรมิ การมสี มาธเิ พอ่ื ประเทอื งปญั ญา โดยมุ่งเน้นกจิ กรรม
ท่ตี ้องใช้สมาธกิ ับนกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑
ตารางที่ ๑ (ตอ่ ) ผลงานวิจัยของผบู้ ริหารสถานศกึ ษาและครูผสู้ อน ๑๓
ชอ่ื -สกลุ ชอื่ งานวจิ ยั
นายเปรมฤทธิ์ ชานนทเ์ มอื ง
๑. การพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวชิ าคณติ ศาสตรเ์ พม่ิ เตมิ ๕
น.ส.ปนสั ยา เพง็ แจม่ ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ โดยใช้ QR Code
น.ส.พัชรี คาดี ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
นายสภุ วิศร์ บุญรกั ษา ๒. การพฒั นาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น รายวิชาคณิตศาสตรเ์ พม่ิ เตมิ ๖
นายจติ ติศักด์ิ กาญจนะ ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ โดยใชส้ ะเตม็ ศึกษา(STEM Education)
ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
นางจไุ รรตั น์ มชะศรี
นายนิตินยั คนเพียร การพัฒนาทกั ษะการจาและอ่านออกเสยี งคาศพั ท์โดยใชเ้ กม
นายพีระพงษ์ กองสงิ ห์ หาคาศพั ทข์ องนกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔/๒
น.ส.ศิรกิ ัล บญุ ไทย
การแก้ปญั หานกั เรียนตดิ ๐, ร, มส นกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓/๔
น.ส.ธัญญานนั ต์ ขม่ อาวุธ
การเสริฟลกู เทเบลิ เทนนสิ และการตเี ทเบลิ เทนนสิ กระทบฝาผนงั
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑
การศกึ ษาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นวิชาดนตรี โดยใช้รปู แบบ
การเรยี นการสอนทักษะปฏบิ ัตขิ องแฮรโ์ รว์เร่ืองการอา่ นโนต๊
ดนตรสี ากลเบ้อื งต้นสาหรบั นักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕
รายงานการพฒั นาการเรยี นรโู้ ดยใชเ้ อกสารประกอบการเรียน
รายวิชาสังคมศึกษา ๔ (ส ๒๒๑๐๒) ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๒
นกั เรียนไมร่ บั ผดิ ชอบงานท่ีไดร้ ับมอบหมายและไม่มคี วามสขุ
ในการเรยี น
การศกึ ษาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรยี นทีม่ ผี ลการเรียนตา่
ในรายวิชานาฏศลิ ป์ ของนักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓
๑. การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าคณติ ศาสตรเ์ รอ่ื งพหนุ าม
โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑
๒. การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาคณติ ศาสตรเ์ รอ่ื งการสรา้ ง
ทางเรขาคณติ โดยใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะของนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑
การพัฒนาทกั ษะการจดจาตัวอักษรจนี โดยใช้อักษรภาพในการช่วยจา
ตารางที่ ๑ (ตอ่ ) ผลงานวิจยั ของผู้บรหิ ารสถานศึกษาและครูผสู้ อน ๑๔
ชอ่ื -สกลุ ชือ่ งานวิจยั
น.ส.สุวนันท์ ปอ้ งปดั ชา
เจตคตทิ ี่มตี อ่ วินัยในตนเองด้านวนิ ัยในห้องเรยี น ความขยนั
น.ส.อสวุ ณี ซง่ สกลุ ชยั อดทนทางการเรียนและแรงจูงใจใฝส่ ัมฤทธทิ์ างการเรยี น
วิชาวิทยาศาสตร์ของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒
การพัฒนาทกั ษะการเขยี นตวั อกั ษรจีนโดยใช้ชุดฝกึ การเขยี น
ตามลาดับขีดภาษาจนี สาหรบั นกั เรยี นระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒/๔
ตอนที่ ๓ ข้อมูลอืน่ ๆ เพ่มิ เตมิ ๑๕
(เช่น โมเดล รูปภาพ คลิปวิดีโอ หนังส้ัน ส่ือต่าง ๆ ผลงาน รางวัล ความภาคภูมิใจ หรือเอกสาร
ประกอบการดาเนนิ งานการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา ฯลฯ)
ผลงาน รางวัล ความภาคภมู ใิ จ
๓.๑ ผลทเี่ กดิ กับผู้เรยี น
ท่ี ช่อื รางวัล ปีท่ไี ด้รบั จากหนว่ ยงาน
๒๕๖๒ ศึกษาธกิ ารจงั หวดั เลย
๑ นางสาวสุภลักษณ์ พรหมดี ประธานบริษัทตา
โขน จากดั รางวลั นักเรียนพระราชทาน ๒๕๖๒ กระทรวงวัฒนธรรม
ระดับมัธยมศึกษา ๒๕๖๒
ตอนปลาย โรงเรียนขนาดกลาง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
และเปน็ ตวั แทนจงั หวัดเลย ๒๕๖๒
เขา้ รบั การประเมนิ ระดับกล่มุ จงั หวดั ๒๕๖๒ โครงการดว้ ยรกั และหว่ งใยในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จ
๒๕๖๒ พระกนษิ ฐาธิราชเจ้า
๒ นางสาวภัทรธริ าภรณ์ เสนานุช กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนสุดาฯ
ไดร้ ับโลร่ างวลั “วฒั นคณุ าธร” สยามบรมราชกมุ ารี
ประเภทเด็กและเยาวชน กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
๓ นางสาวสภุ ลักษณ์ พรหมดี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ไดร้ ับโลแ่ ละเกียรตบิ ตั ร รางวลั เดก็
และเยาวชนดเี ด่น เดก็ และเยาวชน
ท่ีนาช่ือเสียงมาสู่ประเทศชาติ
ประจาปี ๒๕๖๓
๔ นายพชรพล เหมือนอินทร์ ไดร้ บั
เกยี รตบิ ัตรและเข็มพระราชทาน
พรอ้ มเงินทุนการศกึ ษา ๕,๐๐๐ บาท รางวัล
เยาวชนคนเกง่ รุน่ ท่ี๙/๒๕๖๒
๕ บรษิ ทั ตาโขน ได้รบั รางวัลรองชนะเลิศ
อนั ดับ ๒ พรอ้ มเงนิ รางวลั ๒๐,๐๐๐ บาท
OTOP JUNIOR CONTEST๓ ระดบั ประเทศ
๖ การเข้าร่วมแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
ระดบั ชาติ ครง้ั ที่ ๖๙
-เหรยี ญทอง ๒๐ เหรียญ
-เหรยี ญเงนิ ๑๖ เหรียญ
-เหรยี ญทองแดง ๑๖ เหรียญ
๑๖
๓.๑ ผลท่ีเกดิ กบั ผู้เรียน (ตอ่ ) ปที ีไ่ ดร้ บั จากหนว่ ยงาน
๒๕๖๒
ท่ี ชอื่ รางวลั ๒๕๖๒ เขตการแขง่ ขันกีฬา เขตท่ี ๔
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนบน
๗ ชนะเลศิ เหรียญทอง กฬี ามวยปล้า ๒๕๖๒ จังหวดั ศรสี ะเกษ ประเทศไทย
๘ รายการ
๒๕๖๒ อพท.๕
๘ ตัวแทนนักกีฬามวยปล้า ทีมชาตไิ ทย
ได้รบั รางวัลรองชนะเลิศ อันดบั ๒ ๒๕๖๒ สโมสร Tonan masbashi Japan
ในรายการ Southeast Asian Junior&Cadet
Wresting Festival๒๐๑๙ จาก ๑๘ ประเทศ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
๙ รางวัลชนะเลิศ พร้อมเงินรางวลั ๓๐,๐๐๐
บาท การประกวด
คลปิ ประชาสมั พนั ธ์ “เทีย่ วสบายๆ
สไตล์ไลย”
๑๐ นกั เรียน ผ่านการคัดเลอื กให้เดินทาง
ไปฝกึ ทักษะฟุตบอล ในสโมสร Tonan masbashi
เมือง Gunma ประเทศญ่ปี ่นุ เป็นเวลา ๑ ปี
จานวน ๒ คน
๑๑ การแข่งขนั ทกั ษะวิชาการ ระดับชาตกิ ลุ่ม
โรงเรยี นผู้นา ๔๖ICT โรงเรยี นในฝันและ
โรงเรยี นเครือขา่ ย
- รางวลั ชนะเลิศ กจิ กรรม
การแขง่ ขันการออกแบบกราฟิก
ดว้ ยคอมพิวเตอร์
(Motion Infographic) ม.๔-๖
น.ส.พละพร แสงรัตนแ์ ละ
น.ส.สุธีมนต์ วงษจ์ ันทร์
- รางวัลรองชนะเลศิ อันดับ ๒
การแขง่ ขันการประกวดภาพยนตรส์ ั้น
นาเสนอดว้ ยภาษาไทย ม.๑-ม.๖
นายธนกร วลเี จริญพงษ,์ น.ส.ภัทธริ าภรณ์
เสนานุช, น.ส.นงนภัส นนทะโคตร
๓.๑ ผลทีเ่ กดิ กับผู้เรยี น (ตอ่ ) ๑๗
ท่ี ชื่อรางวัล ปีท่ีได้รบั จากหนว่ ยงาน
๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑๒ นกั เรียนไดร้ ับการคดั เลอื กเป็นนักเรียน
โครงการทนุ การศึกษาเฉลมิ ราชกุมารี ระยะ ๒๕๖๒ สถาบันการจดั การปัญญาภิวฒั น์
ท่ี ๒ รนุ่ ที่ ๓
๒๕๖๒ วัฒนธรรมจังหวดั เลย
๑๓ รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับ ๑ ระดบั ประเทศ
โครงการประกวดแผนไอเดยี ธุรกิจสรา้ งสรรค์ ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
(PIM Innovative Biz Plan Challenge๒๐๑๙)
๒๕๖๒ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
๑๔ รางวัล “เด็กประพฤตดิ ี มีค่านิยม”
เน่ืองในวันเดก็ แห่งชาติ ประจาปี ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ การแข่งขันกฬี านักเรยี นระดับชาติ
จานวน ๔ คน ๒๕๖๓ กระทรวงศึกษาธกิ าร
๒๕๖๓ กระทรวงวัฒนธรรม
๑๕ ได้รบั คัดเลอื ก เป็นตวั แทนนกั เรียน
จากสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา
เขต ๑๙ เข้ารว่ มอบรมสัมมนาสภานกั เรยี น
ระดบั ประเทศ
๑๖ นางสาวจิราภรณ์ โมห้ นิ ไดร้ ับเกียรติบัตร
และโลร่ างวลั เด็กและเยาวชนดเี ด่น เด็กและ
เยาวชนท่ีนาชือ่ เสยี ง
มาสูป่ ระเทศชาติ ประจาปี ๒๕๖๒
๑๗ กีฬามวยปล้า ๑ เหรียญเงนิ ๒ เหรียญ
ทองแดง
๑๘ เกียรติบตั ร รางวลั ผนู้ าเยาวชน
กลา้ แผ่นดนิ จานวน ๖ คน
๑๙ นายพชรพล เหมือนอินทร์
ได้รบั โลร่ างวัล “วฒั นคณุ าธร”
ประเภทเด็กและเยาวชน
๓.๑ ผลที่เกดิ กับผเู้ รียน (ตอ่ ) ปีที่ได้รับ ๑๘
๒๕๖๓
ที่ ชือ่ รางวัล จากหน่วยงาน
๒๕๖๓ พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี
๒๐ กลุม่ เยาวชนต้นกล้าดีศรสี องรักษ์ ได้รบั โล่
เกยี รติคณุ ในฐานะกล่มุ พลังเครือขา่ ยเยาวชน ๒๕๖๓ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ที่มจี ิตอาสา ส่งเสรมิ ศีล ๕ คา่ นิยมหลัก ๑๒ ๒๕๖๓
ประการและขบั เคลอื่ นแผนแมบ่ ทสง่ เสริม สมาคมกีฬามวยปลา้ แห่งประเทศไทย
คุณธรรมแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๑ “พอเพยี ง วินัย ร่วมกบั จงั หวัดอานาจเจริญ
สจุ รติ จิตอาสา” ภายใต้โครงการกลา้ แผ่นดิน สานักงานเลขาธิการคุรุสภา
ด้วยเศรษฐกจิ พอเพียง ประจาปพี ุทธศักราช
๒๕๖๒
๒๑ ได้รบั เกียรติบัตร รางวัลผู้นาเยาวชน
กล้าแผ่นดิน ในฐานะเยาวชนอาสา
ผู้มคี วามเสยี สละ สง่ เสรมิ ศลี ๕ ค่านิยมหลัก
๑๒ ประการ และขับเคล่ือน
แผนแม่บทสง่ เสริมคุณธรรมแห่งชาติ
ฉบบั ท่ี ๑ “พอเพยี ง วินัย สจุ ริต
จติ อาสา” ภายใตโ้ ครงการกล้าแผน่ ดินดว้ ย
เศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยเครือข่ายเพือ่ นฯ
คุณธรรม จานวน ๕ คน
๒๒ การแข่งขันกีฬามวยปล้าและกีฬามวยปลา้
ชายหาดชงิ ชนะเลิศแหง่ ประเทศไทย
-๒ เหรยี ญทอง
-๒ เหรียญเงนิ
-๘ เหรียญทองแดง
เป็นตวั แทนทีมชาตไิ ทย จานวน ๑ คน
๒๓ นางสาวเมธาวรรณ พุทธสิมมา
ได้รบั เกยี รตบิ ัตร “หน่ึงโรงเรียน
หน่งึ นวตั กรรม” รางวลั เหรียญทอง
ระดับประเทศ
๓.๒ ผลท่ีเกิดกับครู ปที ่ไี ด้รบั ๑๙
๒๕๖๒
ที่ ชือ่ รางวลั จากหนว่ ยงาน
๑ นายอภริ ตั น์ พรหมรักษา ไดเ้ ล่ือน ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
วิทยฐานะจากวิทยฐานะครูชานาญการพเิ ศษ ๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
เป็นวทิ ยฐานะครูเชย่ี วชาญ ๒๕๖๒
๒ นายธงชยั รกั ษามนั่ ไดร้ ับรางวัล ๒๕๖๒ จงั หวดั เลย
“ครูดใี นดวงใจ” ครั้งที่ ๑๗ ๒๕๖๒ สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต ๓
พ.ศ. ๒๕๖๓ สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา
๓ รางวัล “ครดู ี ศรเี มืองเลย” ๒๕๖๒ เขต ๑๙
จานวน ๒ คน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
๔ รางวัล “ครดู ี ศรสี องรัก” จานวน ๔ คน
๕ รางวลั “Teacher Award” สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
จานวน ๘ คน
๖ รางวลั ครผู ู้สอนนักเรยี น
การเข้าร่วมแข่งขนั งานศิลปหตั ถกรรมนักเรียน
ระดบั ชาติ คร้งั ที่ ๖๙
-เหรียญทอง ๒๐ เหรียญ
-เหรียญเงนิ ๑๖ เหรียญ
-เหรียญทองแดง ๑๖ เหรยี ญ
๗ นายธงชยั รกั ษามน่ั และนางนิศรา
รักษามั่น ได้รับรางวัลครผู สู้ อนนักเรยี น
ในการแข่งขันทักษะวิชาการ ระดบั ชาติกลุ่ม
โรงเรยี นผู้นา ๔๖ICT โรงเรยี นในฝันและ
โรงเรยี นเครอื ข่าย
- รางวลั ชนะเลิศ กิจกรรม
การแขง่ ขนั การออกแบบกราฟิก
ด้วยคอมพิวเตอร์
- รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั ๒
การแขง่ ขนั การประกวดภาพยนตร์สั้น
นาเสนอด้วยภาษาไทย ม.๑-ม.๖
๒๐
๓.๒ ผลทเ่ี กิดกบั ครู (ต่อ) ปที ่ไี ด้รบั จากหนว่ ยงาน
๒๕๖๒ จังหวัดศรสี ะเกษ ประเทศไทย
ที่ ชอ่ื รางวลั
๘ เกยี รติบัตร รางวลั ครู ท่ีนานักเรียน ๒๕๖๓ จงั หวดั เลย
๒๕๖๓ สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต ๓
เข้าร่วมแขง่ ขัน กีฬามวยปลา้ ๒๕๖๓ สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา
ทมี ชาติไทย ไดร้ ับรางวลั รองชนะเลิศ อันดบั ๒๕๖๓ เขต ๑๙
๒ ในรายการ Southeast Asian Junior&Cadet จงั หวัดเลย
Wresting Festival๒๐๑๙ จาก ๑๘ ประเทศ ๒๕๖๓
๙ รางวัล “ครดู ี ศรีเมอื งเลย” ๒ คน รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ
๑๐ รางวลั “ครูดี ศรสี องรัก” ๕ คน ๒๕๖๓
๑๑ โลร่ างวัลยอดครูผ้มู ีอดุ มการณ์ ๖ คน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดย
สานักพัฒนานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา รว่ มกับ
๑๒ นายอภิรัตน์ พรหมรกั ษา สานักงานเครือข่ายองคก์ รงดเหลา้ (สคล.) สานักงาน
ไดร้ ับการพจิ ารณาคัดเลือก กองทุนสรา้ งเสริมสขุ ภาพ(สสส.) มหาวิทยาลัยจุฬาลง
ให้เป็นตัวแทนจงั หวัดเลย กรณราชวิทยาลัย และสานักงานเลขาธิการคุรสุ ภา
เข้ารบั คัดเลือกระดับประเทศ
รางวัลเจ้าฟ้ามหาจักรี ครั้งที่ ๔
๑๓ นายพงศพ์ ิช คูสูงเนิน ได้รับเกยี รติบัตร รางวัล
ครูผู้มีจิตวิญญาณแห่งโพธิสัตว์เป็นผู้มีความ
เสยี สละอุทศิ ตนเป็นท่ีปรึกษาร่วมกลุ่มเยาวชน
โครงการกล้าแผ่นดินด้วยเศรษฐกิจพอเพียง
ส่งเสริมศีล๕ ค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ และ
ขับเคลอ่ื นแผนแมบ่ ทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ
ฉบับท่ี ๑ “พอเพียง วนิ ัย สุจรติ จติ อาสา”
๑๔ นายจักรชัย แก้วพิภพ ไดร้ บั เกียรติบตั ร “ครูดี
ไมม่ ีอบายมขุ ”
๒๑
๓.๒ ผลที่เกิดกับครู (ต่อ) ปที ไี่ ดร้ บั จากหน่วยงาน
๒๕๖๓
ท่ี ชอ่ื รางวลั จงั หวัดเลย
๑๕ รางวลั “ครูดี ศรเี มอื งเลย” ๒๕๖๓
๒๕๖๓ สานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต ๓
จานวน ๒ คน เครือข่ายสง่ เสริมประสทิ ธิภาพการจัดการมธั ยมศึกษา
๑๖ รางวลั “ครูดี ศรีสองรกั ” จานวน ๓ คน ๒๕๖๓
๑๗ รางวัล “ครูดี ศรี สมป.” มูลนิธิครดู ีของแผ่นดนิ
จานวน ๑๐ คน ๒๕๖๓ สมาคมกฬี ามวยปลา้ แห่งประเทศไทย
๑๘ เกียรตบิ ัตร ประกาศเกียรติคุณ รว่ มกับจงั หวดั อานาจเจริญ
รางวัลครดู ขี องแผน่ ดนิ ขั้นพืน้ ฐาน ๒๕๖๓ สานักงานเลขาธิการครุ ุสภา
จานวน ๒๐ คน
๑๙ รางวัลครูผฝู้ ึกสอน นานักเรยี น
เขา้ ร่วมการแขง่ ขันกฬี ามวยปล้า
และกีฬามวยปล้าชายหาดชิงชนะเลศิ
แหง่ ประเทศไทย จานวน ๗ คน
และได้รบั รางวัล
-๒ เหรียญทอง
-๒ เหรียญเงนิ
-๘ เหรยี ญทองแดง
๒๐ นายอภริ ตั น์ พรหมรกั ษา ไดร้ ับเกียรติบัตร
“หนง่ึ โรงเรียน หนงึ่ นวัตกรรม” รางวัล
เหรียญทอง ระดบั ประเทศ
๒๒
๓.๓ ผลทีเ่ กิดกับผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ปีทีไ่ ด้รบั จากหน่วยงาน
๒๕๖๑ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
ที่ ชื่อรางวัล
๑ เกียรติบตั รการยกย่องเชิดชเู กียรติ ๒๕๖๑ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดย
สานักพัฒนานวตั กรรมการจดั การศึกษา รว่ มกบั
ให้เปน็ แบบอยา่ งทด่ี แี ก่สงั คม สานักงานเครอื ข่ายองค์กรงดเหล้า (สคล.) สานกั งาน
“ดา้ นนวตั กรรม สร้างสรรคค์ นดี กองทุนสร้างเสริมสขุ ภาพ(สสส.) มหาวิทยาลัยจุฬาลง
ด้านการบริหารเพ่อื ส่งเสรมิ คุณธรรม” กรณราชวิทยาลัย และสานักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา
๒ โลเ่ กยี รติคณุ “ครูดไี มม่ ีอบายมขุ ”
ประเภทผบู้ รหิ าร ๒๕๖๑ สภาผูป้ กครองและครูแห่งประเทศไทย
๓ โล่เกียรติคุณ ผู้ไดร้ บั การยกย่อง ๒๕๖๑ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ
เชิดชเู กียรติ ในฐานะอปุ นายกสมาคม และมูลนิธคิ รูดีของแผ่นดิน
ผู้ปกครอง และครู ดเี ด่น
๒๕๖๒ สานักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา
๔ ประกาศเกยี รติคุณ เหรยี ญทอง ระดบั ชาติ
โครงการมาร์ชชงิ่ ความดี Goodness Marching ๒๕๖๒ กระทรวงวฒั นธรรม
Contest แนวทางท่ี ๑
การพฒั นาวินยั เชงิ บวกสถานศกึ ษา ๒๕๖๒ กรมกิจการเดก็ และเยาวชน
๕ รางวัลเครอื่ งหมายเชิดชเู กียรติ ๒๕๖๒ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
“คุรุสดดุ ี” ในฐานะเป็นผู้ปฏบิ ตั ติ นตาม
จรรยาบรรณของวิชาชพี เปน็ ท่ีประจกั ษ์
๖ โล่รางวัล “วัฒนคุณาธร”
ประเภทบคุ คล
๗ เกียรติบัตร ผสู้ ง่ ผลงานเขา้ รบั
การสรรหาและเชิดชเู ด็กและเยาวชนดีเด่น
แหง่ ชาตแิ ละผู้ทาคุณประโยชน์
ตอ่ เดก็ และเยาวชน
๘ รางวัลสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและ
อบายมขุ ประเภทผลงานดเี ดน่ ระดบั ทอง ปี
การศึกษา ๒๕๖๐
๒๓
๓.๓ ผลทีเ่ กิดกับผู้บริหารสถานศึกษา (ต่อ) ปที ่ไี ด้รบั จากหนว่ ยงาน
๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ท่ี ชือ่ รางวลั
๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
๙ เกยี รตบิ ตั ร เหรยี ญทอง รางวัลทรงคณุ ค่า
สพฐ. OBEC AWARDS ๒๕๖๓ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คง
ครง้ั ที่ ๙ ของมนุษย์
๑๐ เกยี รตบิ ตั รการยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติ ๒๕๖๓ มลู นิธิครูดขี องแผ่นดนิ
ให้เปน็ แบบอยา่ งทดี่ แี กส่ งั คม ๒๕๖๓ กระทรวงศึกษาธิการ
“ด้านนวตั กรรม สรา้ งสรรค์คนดี
ด้านการบริหารเพือ่ ส่งเสริมคณุ ธรรม” ๒๕๖๓ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา
เขต ๑๙
๑๑ โล่เกยี รติยศ รางวัลบุคคล
ผทู้ าคณุ ประโยชนต์ ่อเด็กและเยาวชน” สาขา ๒๕๖๓ สานักงานเลขาธกิ ารคุรุสภา
อาชีพ ประจาปีพุทธศกั ราช ๒๕๖๓ เนื่องใน
วันเยาวชนแหง่ ชาติ
๒๐ กันยายน ๒๕๖๓
๑๒ เกยี รติบตั ร ประกาศเกยี รตคิ ณุ
รางวัลครดู ีของแผน่ ดินขั้นพ้ืนฐาน
๑๓ รางวลั เสมา ป.ป.ส. ประเภทผลงานดีเด่น
ระดับทอง โครงการสถานศึกษา
สีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑
๑๔ เกยี รติบตั รการยกยอ่ งเชิดชูเกียรติ
ให้เป็นแบบอย่างท่ดี แี ก่สงั คม
“ดา้ นนวัตกรรม สร้างสรรค์คนดี”
ระดบั ดีเยย่ี ม ประเภทผู้บริหาร
๑๕ เกยี รตบิ ัตร “หนง่ึ โรงเรียน
หน่ึงนวัตกรรม” รางวัลเหรียญทอง
ระดบั ประเทศ
๓.๔ ผลท่ีเกดิ กับสถานศึกษา ปีทไี่ ดร้ ับ ๒๔
๒๕๖๒
ที่ ชือ่ รางวลั ๒๕๖๒ จากหน่วยงาน
๒๕๖๒ สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพ
๑ ผา่ นการประเมนิ ภายนอก รอบ ๔ ๒๕๖๒ การศกึ ษา(องค์การมหาชน)
จากสมศ. กระทรวงวัฒนธรรม
๒๕๖๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
๒ โล่รางวัล “วัฒนคณุ าธร” ๒๕๖๒
ประเภทนติ บิ คุ คลหรอื คณะบคุ คล ๒๕๖๒ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา
๒๕๖๒ เขต ๑๙
๓ รางวลั สถานศึกษาท่ผี า่ นการประเมนิ การ ๒๕๖๒
บรหิ ารจัดการด้วย ระบบคุณภาพ ระดับ สานักงานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา
ScQA ประจาปี ๒๕๖๑ ๒๕๖๓
สานักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา
๔ รางวลั สถานศึกษาแบบอย่างการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้และบรหิ ารจัดการตามหลักปรัชญา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง “รางวัลสถานศกึ ษา กระทรวงสาธารณสขุ
พอเพยี งต้นแบบ” สานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั เลย
๕ รางวัล “หนึง่ โรงเรยี น หน่ึงนวัตกรรม” สานักงานเลขาธกิ ารคุรุสภา
เหรียญทอง ระดบั ภมู ิภาค ดา้ นการบรหิ าร
จัดการและจดั การสถานศึกษา
๖ รางวลั “หน่ึงโรงเรียน หน่ึงนวัตกรรม”
เหรียญเงนิ ระดับประเทศ ด้านการบริหาร
จัดการและจดั การสถานศึกษา
๗ โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ(Zero Waste
School) ผ่านระดับดีเยี่ยม
๘ โรงเรียนส่งเสริมสขุ ภาพระดับทอง
๙ รางวลั การประกวด “สวนสวย ด้วยโคมไฟ”
ในเทศกาล ศลิ ปะ สายหมอกและดอกไม้
จังหวัดเลย
-ชนะเลิศ จานวน ๑ รางวัล
-รองชนะเลศิ อนั ดบั ๒
จานวน ๑ รางวัล
๑๐ รางวัล “หนงึ่ โรงเรียน หน่ึงนวตั กรรม”
เหรียญทอง ระดบั ภมู ิภาค ดา้ นการบริหารจัดการ
และจดั การสถานศึกษา
๒๕
๓.๔ ผลทีเ่ กดิ กับสถานศกึ ษา (ตอ่ ) ปีทีไ่ ดร้ ับ จากหน่วยงาน
๒๕๖๓ สานักงานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา
ท่ี ช่อื รางวัล ๒๕๖๓
กระทรวงศึกษาธกิ าร
๑๑ เกยี รตบิ ัตร “หนึ่งโรงเรียน ๒๕๖๓
หนึง่ นวัตกรรม” รางวลั เหรียญทอง ผู้วา่ ราชการจังหวัดเลย
ระดับประเทศ ๒๕๖๓
๒๕๖๓ สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา
๑๒ เกยี รตบิ ัตรเชิดชเู กยี รติ รางวัลเสมา ป.ป.ส. เขต ๑๙
ประเภทผลงานดีเด่น ระดับทอง ๒๕๖๓ สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา
โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและ ๒๕๖๓ เขต ๑๙
อบายมขุ ปีการศึกษา ๒๕๖๑
ชมรมพุทธศาสตรส์ ากล
๑๓ โลเ่ ชดิ ชูเกยี รติ รางวัลชนะเลิศสวดมนต์ ในอุปถมั ภ์สมเดจ็ พระมหารัชมังคลาจารย์
บทธมั มจกั กัปปวตั ตนสูตร เฟส๑ สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ
ภายใต้ โครงการเสยี งตามสาย สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปริณายก
ในโรงเรียนและสถานศกึ ษา
๑๔ เกียรตบิ ตั ร รางวลั ระบบดูแลชว่ ยเหลือ
นกั เรียน ระดับดีเย่ียม
๑๕ โลป่ ระกาศเกยี รติคณุ เป็นองค์กรขบั เคลือ่ น
การพัฒนาห้องเรียนคุณภาพ
สู่โรงเรยี นนวัตกรรม(๑ โรงเรยี น
๑ นวัตกรรม : One school one innovation)
๑๖ เกียรติบัตรเชิดชูเกียรติ การเข้าร่วมกิจกรรม
เย าวชนไทย รวมใจท าความดี ป ระจาปี
การศกึ ษา ๒๕๖๑
๑๗ เกียรติบัตร มีส่วนในการบาเพ็ญประโยชน์
และเสี ยสล ะทั้ งกาลังกาย กาลังใจแล ะ
กาลังสติปัญ ญ า ในโครงการเฉลิมฉลอง
ครบรอบวาระ ๑๕๐ ปี ชาตกาลและในวาระ
ท่ี ได้ รั บ ป ร ะ ก า ศ ย ก ย่ อ ง เชิ ด ชู ให้ เป็ น บุ ค ค ล
สาคัญของโลก สาขาสันติภาพจากองค์การ
ยูเนสโกในวาระปี พ.ศ.๒๕๖๓-พ.ศ.๒๕๖๔
ของพอ่ แม่ครูอาจารยใ์ หญม่ ่ัน
ภูริทัตตมหาเถระ
๓.๔ ผลท่ีเกดิ กับสถานศกึ ษา (ตอ่ ) ๒๖
ท่ี ช่ือรางวัล ปีทีไ่ ดร้ ับ จากหน่วยงาน
๒๕๖๓ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
๑๘ เกยี รติบัตรรางวัลชมเชย อนั ดบั ๒ กจิ กรรม
นวตั กรรมการใชห้ ลักสูตร ๒๕๖๓ สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา
ตา้ นทจุ รติ ศกึ ษากิจกรรมแลกเปลย่ี นเรียนรู้ เขต ๑๙
การนาเสนอผลงานและ
การประกวดแข่งขันกิจกรรมการเรยี นรู้ ๒๕๖๓ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาลัย
ภายใตโ้ ครงการเสริมสร้างคุณธรรม จรยิ ธรรม สงฆ์เลย
และธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา (โครงการ
โรงเรียนสุจรติ ) ๒๕๖๓ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ เขต ๑๙
ระดับภูมิภาค ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
ตอนบน
๑๙ เกยี รติบตั รรางวลั ชนะเลศิ กิจกรรมนวตั กรรม
การใช้หลักสูตรต้านทุจรติ ศกึ ษากิจกรรม
แลกเปลยี่ นเรยี นรู้
การนาเสนอผลงานและการประกวดแข่งขัน
กิจกรรมการเรยี นรูภ้ ายใต้โครงการเสรมิ สรา้ ง
คุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภบิ าลใน
สถานศึกษา (โครงการโรงเรียนสจุ รติ )
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓
ระดบั สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
๒๐ รางวัลชนะเลศิ การประกวดดนตรี
วงโปงลาง(ระดับมัธยมศกึ ษา)
“โครงการอนุรักษศ์ ิลปะการแสดงท้องถิน่ ”
๒๑ เกยี รติบตั ร รางวัลโรงเรียนดตี อ้ งมีท่ียนื
ระดับ ๒ ดาว
อ้างอิง ๒๗
ชาลี มณีศรี. (๒๕๔๒). การนเิ ทศการศึกษา. พิมพ์ครง้ั ท่ี ๔. กรงุ เทพฯ : โสภณการพิมพ.์
ธีระ รุญเจริญ. (๒๕๔๕). รายงานการวจิ ยั เรอื่ งสภาพและปญั หาการบริหารและการจดั การศึกษา
ขน้ั พ้ืนฐานของสถานศึกษาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : หา้ งหุ้นส่วนจากัด วี.ที.ซ.ี
คอมมิวนเิ คชน่ั .
นพิ นธ์ กนิ าวงศ.์ (๒๕๒๖). หลกั เบ้อื งต้นเกยี่ วกบั การบรหิ ารและการนเิ ทศการศึกษา. กรงุ เทพฯ : พฆิ เนศ.
โรงเรียนศรสี องรกั ษ์วทิ ยา. (๒๕๖๒). รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน
ปีการศึกษา ๒๕๖๑. เอกสารวชิ าการ.
สานักงานการประถมศกึ ษาแหง่ ชาต.ิ (๒๕๔๑). แนวทางการประกนั คุณภาพการศกึ ษา. เอกสาร
ประกอบการประกนั คณุ ภาพ
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน. (๒๕๖๒). แนวทางการนเิ ทศบูรณาการโดยใชพ้ น้ื ท่ี
เป็นฐานเพื่อพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาสูก่ ารนิเทศภายในโรงเรยี นโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานเพ่ือ
พัฒนาคณุ ภาพของผเู้ รยี น. เอกสารลาดบั ที่ ๒/๒๕๖๒ หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์.
สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ. (๒๕๕๙). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คม
แห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (๒๕๖๐ – ๒๕๖๔). สานักนายกรัฐมนตร.ี
สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๔๙). แนวทางการดาเนนิ งานปฏิรูปการเรียนการสอน
ตามเจตนารมณ์ กระทรวงศึกษาธกิ าร ๒๕๔๙ ปีแหง่ การปฏิรูปการเรยี นการสอน.
กรงุ เทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ.
อรรณพ พงษ์วาท. (๒๕๓๙). ผบู้ รหิ ารกบั การพฒั นาศกึ ษา อะไร ทาไม อยา่ งไร. ใน เอกสารคาสอนกระบวน
วิชา ๐๕๑๗๙๑. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม.่
อทุ ัย บญุ ประเสริ ฐ. (๒๕๔๖). ผู้บริหารสถานศึกษามอื อาชพี . บัณฑติ วิทยาลัยสวนดสุ ิต, ๑(๑)๒๔.
Stufflebeam, Daniel L., and others. (๑๙๗๑). Educational evaluation and Decision Making.
Illinois : F. E. Peacock Publishing.