The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยเคมีอินทรีย์ เล่ม 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2021-04-25 00:42:10

รู้จักสารอินทรีย์

หน่วยเคมีอินทรีย์ เล่ม 1

วิชาเคมี5 ว 30225

สอนโดย นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์
ครูชำนาญการพเิ ศษ

มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ปีการศกึ ษา 2564

สำหรบั นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม
ชอื่ -สกลุ ..................................................ชนั้ .........เลขท่ี........



คำนำ

ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ หน่วยเคมีอินทรีย์ เล่มที่ 1 เร่ืองรจู้ ักสารอินทรยี ์ ตามแนวคิดแบบ
โยนิโสมนสิการ จัดทำเพื่อเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ความพึงพอใจทางการเรียนเคมี
ส่งเสริมความสามารถทางการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6/1-2
โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม โดยในทุกกิจกรรมได้จัดลำดับขั้นตอนที่เน้นการเพ่ิมพูนประสบการณ์
ทางวทิ ยาศาสตร์ นักเรียนจะไดร้ บั การทดสอบก่อนเรยี น และศกึ ษาเนอื้ หาความรทู้ ่ีสง่ เสรมิ ให้นักเรียนศึกษา
และสบื ค้น โดยมคี วามรูเ้ พิม่ เตมิ นอกเหนอื จากในบทเรียน การตอบคำถาม การทำแบบฝึกหดั และทำกจิ กรรม
การทดลองตามข้ันตอนตลอดจนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น เพ่ือประเมินตนเองหลงั จากการเรียนรู้ในแต่
ละกิจกรรมการเรยี นรู้

ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ หน่วยเคมีอินทรีย์ เล่มที่ 1 เรื่องรู้จัก
สารอินทรีย์ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ จะทำใหผ้ เู้ รียนมคี วามรแู้ ละความสามารถในการสืบค้น
การจัดระบบส่ิงที่เรียนรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือสร้างองค์ความรู้ ได้เป็นอย่างดี
สามารถนำความรูท้ ่ไี ด้จากการเรยี นรู้ไปปรบั ใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ และเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่สนใจ
ใชเ้ ป็นแนวทาง ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้ต่อไป

นางสาวอโนชา อทุ มุ สกุลรตั น์

สารบญั ข

เรอ่ื ง หนา้
คำนำ ก
สารบญั ข
ข้อแนะนำการเรยี นรู้ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ ค
โครงสร้างชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ ง
แบบทดสอบกอ่ นเรียน 1
ขน้ั ที่ 1 การหาความรู้ 4
4
- ปฏิบัติการ ฝกึ อ่าน : ฝกึ คิด 6
- พันธะของคาร์บอนในสารประกอบอินทรยี ์ 10
- สตู รโครงสร้างของสารประกอบอนิ ทรีย์ 14
- ตรวจสอบความเข้าใจ 1 16
- รว่ ม กนั คดิ 1 19
- หม่ฟู งั ก์ชัน 22
- รว่ ม กนั คิด 2 23
ขน้ั ท่ี 2 สรา้ งความรู้ 23
- ปฏิบัตกิ าร ฝกึ ทำ : ฝกึ สร้าง 25
ขั้นท่ี 3 ซึมซับความรู้ 25
- ปฏิบตั กิ าร คดิ ดี ผลงานดี มคี วามสขุ 30
แบบทดสอบหลงั เรยี น 33
บรรณานุกรม



ขอ้ แนะนำการเรยี นรู้ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์

สำหรับนักเรียน
จุดประสงค์ของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มุ่งหวังให้นักเรียนเป็นผู้มีความสามารถทางการ
จดั การความรู้ทางวิทยาศาสตร์ 3 ดา้ น ไดแ้ ก่

1. ด้านความรู้ ความคิด
2. ดา้ นทักษะการจดั การความรู้ทางวิทยาศาสตร์
3. ด้านคา่ นยิ มตอ่ ตนเองเพอ่ื สงั คม
ซึ่งนักเรียนจะได้เสริมสร้างความสามารถดังกล่าวดังนี้ 1.การหาความรู้ (Operation) จาก
กิจกรรมการสืบเสาะ ค้นหา กิจกรรมร่วมกันคิด และกิจกรรมร่วมกันค้น 2.การสร้างความรู้
(Combination) เป็นขั้นฝึกการวิเคราะห์ประกอบด้วยการฝึกคิดแบบสืบสาวปัจจัยเหตุและแบบ
แยกแยะส่วนประกอบโดยใช้ ข้อความและสถานการณ์ เพ่ือพัฒนาตนเอง 3. การซึมซับความรู้
(Assimilation) เป็นขั้นท่ีให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น หนังสือ
อินเตอร์เน็ต ฝึกคิดอย่างมีวิจารณญาณ ฝึกทักษะการเขียนเพื่อนำเสนอแก้ไขปัญหาที่พบ
ประกอบการตอบคำถามฝึกการวิเคราะห์จุดเด่น และจุดด้อยของผลงาน ตรวจสอบและปรับปรุงเพื่อ
สร้างชิ้นงานใหม่ต่อไปได้ และข้อเสนอแนะกับผู้อ่านได้ โดยในทุกกิจกรรมได้จัดลำดับข้ันตอนที่เน้น
การเพ่ิมพูนประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือเป็นผู้มีความสามารถทางการจัดการความรู้ทาง
วทิ ยาศาสตร์ ดังนี้
1. อ่าน และทำความเขา้ ใจในทุกขั้นตอนของกจิ กรรมการเรยี นรู้
2.รักและสนใจตนเอง สร้างความรู้สึกท่ีดีให้กับตนเอง ว่าตัวเราเป็นผู้มีความสามารถมี
ศักยภาพอยใู่ นตัว และพรอ้ มทจ่ี ะเรียนรูท้ ุกส่ิงทสี่ ร้างสรรค์
3. ร้สู กึ อสิ ระและแสดงออกอยา่ งเต็มความสามารถ
4. ฟัง คิด ถาม เขียน ปฏิบัติ อย่างรอบคอบในทุกกิจกรรม ใช้เน้ือที่กระดาษที่จัดไว้สำหรับ
เขยี นให้เต็ม โดยไม่ปล่อยใหเ้ หลอื เปล่า เพ่อื ใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ กับตนเอง
5. ใช้เวลาในการเรยี นรอู้ ย่างคมุ้ ค่า ใชท้ กุ ๆ นาทที ำให้ตนเองมีความสามารถเพ่ิมมากข้นึ
6. ตระหนักตนเองอยเู่ สมอว่าจะเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรเ์ พือ่ นำมาพฒั นาตนเองและพัฒนาสังคม

จดุ เดน่ ของการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ คือ การสร้างคุณค่าท่ดี ีให้กับสงั คม
จึงขอเชิญชวนนกั เรียน มารว่ มกันเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
ดว้ ยใจรกั และ พัฒนาตนให้เตม็ ขีดความสามารถ

ขอสง่ ความปรารถนาดีใหแ้ กน่ ักเรยี นทุกคนไดเ้ รียนร้วู ิทยาศาสตร์อย่างมีความสุขพึ่งตนเองได้
และเปน็ ผ้มู คี วามสามารถทางการจัดการความร้ทู างวทิ ยาศาสตรเ์ พื่อสังคม ยิง่ ๆ ข้ึน สบื ไป



โครงสร้างชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
หน่วยเคมีอินทรีย์ เล่มท่ี 1 เรื่องรู้จักสารอินทรีย์

สาระสำคญั
สารประกอบอินทรีย์ หมายถึงสารประกอบท่ีมคี ารบ์ อนเป็นองค์ประกอบ ยกเว้น ออกไซด์

ของคาร์บอน เกลือคาร์บอเนต เกลอื ไฮโดรเจนคาร์บอเนต เกลอื คาร์ไบด์ เกลือไซยาไนด์ เกลือไซยา
เนต คาร์บอนไดซลั ไฟด์ และ คารบ์ อนเตระคลอไรด์ และคาร์บอนิลคลอไรด์

สารประกอบคารบ์ อน คือ สารประกอบที่มีคาร์บอนและไฮโดรเจน เปน็ ธาตุหลักและมีธาตุ
อื่น ๆ เป็นองคป์ ระกอบร่วมอยู่ด้วย เชน่ ไนโตรเจน ออกซเิ จน กามะถัน ฟอสฟอรสั และแฮโลเจน แต่
ถา้ สารประกอบน้ันมีเฉพาะธาตคุ าร์บอนกับธาตไุ ฮโดรเจนเรียกวา่ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ซง่ึ
พันธะระหว่างคาร์บอนกบั คาร์บอนในโมเลกลุ ของสารประกอบอาจเป็นพันธะเด่ยี ว พันธะคู่ หรอื
พันธะสามกไ็ ด้

คาร์บอนสามารถใชอ้ ิเลก็ ตรอนรว่ มกบั ธาตุอ่นื ได้ 4 คู่ เกิดพันธะโคเวเลนซ์ การเขียนสูตรของ
สารประกอบคารบ์ อนอาจเขียนเปน็ สูตรโมเลกลุ สูตรโครงสรา้ งลวิ อิส หรือ สตู รโครงสร้างแบบย่อ
สารอินทรยี ์บางชนดิ มสี ูตรโมเลกุลเหมือนกันแตส่ ูตรโครงสร้างต่างกนั จงึ มีสมบตั ติ ่างกัน เรยี กว่า ไอโซ
เมอรซิ มึ การจดั เรียงอะตอมของสารอินทรีย์อาจเปน็ แบบโซ่ตรง แบบโซก่ ่งิ

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธบิ ายการเกดิ พนั ธะเคมีของคารบ์ อนในสารประกอบอินทรีย์
2. สืบคน้ ข้อมลู และนำเสนอตัวอยา่ งสารประกอบอนิ ทรยี ์ท่ีมีพนั ธะเดีย่ ว พันธะคู่ หรอื

พันธะสาม ท่ีพบในชีวติ ประจำวนั
3. เขยี นสูตรโมเลกุล สตู รโครงสรา้ งลิวอิส สตู รโครงสรา้ งแบบย่อ และสูตรโครงสร้าง

แบบเสน้ พนั ธะของสารประกอบอินทรยี ์
4. วิเคราะห์โครงสรา้ งและระบปุ ระเภทของสารประกอบอินทรีย์จากหมู่ฟังก์ชัน

การจัดกระบวนการเรียนร้ใู ชร้ ูปแบบการจัดการความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ มี 3 ขนั้ คอื
1. การหาความรู้ (Operation)
2. การสรา้ งความรู้ (Combination)
3. การซมึ ซับความรู้ (Assimilation)

เวลาทใี่ ช้ 14 ชัว่ โมง

การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้
นักเรียนประเมินผลตนเองโดยใชแ้ บบประเมินผลตนเองก่อนเรยี น-หลงั เรียน

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

เลม่ ท่ี 1 เร่อื ง รู้จักสารอินทรีย์ วชิ าเคมี

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 นาที

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………

คำส่งั 1.ให้นักเรียนเขยี นเครือ่ งหมาย X ลงในขอ้ ที่นักเรยี นคดิ วา่ ถูกต้องที่สดุ เพียงข้อเดยี ว

2.ข้อสอบมที ้งั หมด 20 ข้อให้นักเรียนทำทุกข้อ ใชเ้ วลาในการทำ 10 นาที

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………

1. สมบัติใดท่ีแสดงว่าสารตัวอยา่ งจัดเป็นสารอนิ ทรยี ์

ก. เผาไหมใ้ หแ้ กส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ ข. ละลายนำ้ ได้

ค. จดุ เดือด จุดหลอมเหลวสงู ง. เกดิ พนั ธะไอออนิกภายในโมเลกุล

2. เพราะเหตุใดคารบ์ อนจงึ เกดิ สารประกอบเปน็ จำนวนมากได้

ก. คารบ์ อนสามารถเกิดสารประกอบโคเวเลนตไ์ ด้

ข. คารบ์ อนแตล่ ะอะตอมสามารถใชอ้ เิ ล็กตรอนร่วมกนั เองได้

ค. คารบ์ อนแต่ละอะตอมสามารถใช้อเิ ลก็ ตรอนรว่ มกับอะตอมอื่นได้

ง. ถูกท้งั ก, ข และ ค

3. สารในขอ้ ใดไม่ใชส่ ารอินทรีย์ท้งั หมด

ก. CH3COOK , CH3COOH ข. CH3CH2CN , C6H5COCl

ค. C5H10 , NaHCO3 ง. CCl4 , CO2

4. ข้อใดกลา่ วไมถ่ ูกตอ้ งเกี่ยวกบั อะตอมธาตุคารบ์ อน

ก. สรา้ งพนั ธะกบั อะตอม C ดว้ ยกนั ได้มากกว่า 1 อะตอม

ข. สร้างพนั ธะกบั อะตอม H ไดถ้ งึ 4 อะตอม

ค. สร้างพนั ธะกับอะตอมธาตุอื่นได้ 3 พนั ธะ

ง. อยูใ่ นหมู่ 4A มีเวเลนซ์อเิ ลก็ ตรอน 4

5. ขอ้ ใดแสดงการเกิดพนั ธะของคารบ์ อนไม่ถกู ต้อง

ก. ข.

ค. ง.

6. ข้อใดเปน็ สตู รโมเลกลุ ของสารที่มสี ูตรโครงสร้างแบบเส้นและมมุ เป็น

ก. C5H9N ข. C5H11N

ค. C6H11N ง. C6H12N

1

7. จากสตู รโครงสร้างแบบผสมของ CH3- CH2- CH2- CH2=CH2- CH3 เขยี นแสดงสูตร โครงสร้างแบบย่อได้แบบ

ใด

ก. (CH3)2(CH2)4 ข. CH3(CH2)4CH3

ค. (CH3)2(CH2)2CH2= CH2 ง. CH3(CH2)2CH2 = CH2CH3

8. สาร CH3CH=CHCH(CH3) CH2CH3 มสี ูตรโครงสรา้ งแบบเส้นและมมุ ดังข้อใด

ก. ข.

ค. ง.

9. สตู รโครงสรา้ งอย่างยอ่ ของสารประกอบข้างลา่ งน้คี ือข้อใด

ก. CH3 CH(CH3) CH COCH2 CH(CH3)2 ข. (CH3) 2CH CH2COCH2 CH(CH3)2
ค. CH3 (CH3) CH CH2COCH2 CH(CH3)2 ง. (CH3)3 C(CH3)2 COO(CH2)2 CH3

10. สารที่มีสตู รโครงสร้างเปน็ OH สตู รโครงสรา้ งแบบยอ่ คือ ขอ้ ใด

ก. CH3 CH2CH=CHCH2CH(CH3)CH2-OH ข. CH3CH=CHCH (CH3)CH2-OH

ค. CH3 CH2CH=CHCH(CH3) CH2- OH ง. CH3CH=CHCH(CH3)CH2CH2OH

11. ขอ้ ใดเปน็ หมู่ฟังกช์ นั ของกรดอนิ ทรีย์

ก. -OH ข. –O- ค. ง.

12. ขอ้ ใดเปน็ แอลกอฮอล์

ก. ข. C6H5OH ค. ง. CH3CHO
ค. ง.
13. ขอ้ ใดเปน็ หมฟู่ ังก์ชนั ของสารประกอบแอลเคน ค. ง.

ก. C – C ข. C = C

14. ข้อใดเป็นหมู่ฟงั ก์ชันของสารประกอบเอไมด์
ก. ข.

2

15. ข้อใดเปน็ หมฟู่ งั ก์ชนั ของสารประกอบอเี ทอร์ ค. ง.
ก. ข. ค. ง.
ค. ง.
16. ขอ้ ใดเป็นหม่ฟู ังกช์ นั ของสารประกอบเอสเทอร์ ค. ง.
ก. ข. ค. ง.
ค. ง.
17. ข้อใดเป็นหมฟู่ ังก์ชนั ของสารประกอบแอลดีไฮด์
ก. ข.

18. ขอ้ ใดเปน็ หมูฟ่ งั ก์ชันของสารประกอบคีโตน
ก. ข.

19. ขอ้ ใดเป็นหมฟู่ ังกช์ นั ของสารประกอบเอมีน
ก. ข.

20. ขอ้ ใดเป็นฟนี อล ข.
ก.

คะแนนเต็ม 20 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

3

เล่มท่ี 1 รจู้ กั สารอินทรยี ์

ขั้นที่ 1 การหาความรู้ เวลา 14 ชวั่ โมง
Operation
ปฏบิ ัติการ ฝกึ อ่าน : ฝึกคิด

เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry) หมายถึง สาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเกี่ยวกับชนิด สมบัติการ
สังเคราะห์ และปฏกิ ิริยาของสารประกอบอินทรยี ์

สารอินทรีย์ หมายถึงสารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนเป็นองค์ประกอบทั้งที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตและจากการ

สงั เคราะห์ สารท่ีมธี าตคุ ารบ์ อนเปน็ องค์ประกอบบางชนดิ ท่ีไมจ่ ัดเป็นสารประกอบอนิ ทรีย์ (เป็นสารอนนิ ทรีย์) เชน่
1. สารท่ีเปน็ อญั รูปของธาตคุ ารบ์ อน เช่น เพชร (C) แกรไฟต์ (C) ฟุลเลอรีน (C60)
2. ออกไซด์ของคารบ์ อน เช่น คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO)

3. กรดคาร์บอนิก (H2CO3) และเกลอื ของกรดคารบ์ อนิก เช่น โซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) โซเดยี มไฮโดรเจน
คาร์บอเนต (NaHCO3)

4. เกลือออกซาเลต เชน่ โซเดยี มออกซาเลต (Na2C2O4)
5. เกลือไซยาไนด์ เช่น โพแทสเซยี มไซยาไนด์ (KCN)
6. เกลอื ไซยาเนต เช่น แอมโมเนียมไซยาเนต (NH4OCN)
7. เกลอื ไทโอไซยาเนต เช่น โพแทสเซียมไทโอไซยาเนต (KSCN)

8. เกลอื คาร์ไบด์ เช่น แคลเซียมคารไ์ บด์ (CaC2)
อยา่ งไรกต็ ามสารบางชนดิ อาจพจิ ารณาได้ยากหรือยังไม่สามารถสรุปได้วา่ จัดเปน็ สารอนิ ทรยี ์หรือสารอนนิ ทรีย์

เชน่ ไฮโดรเจนไซยาไนด์ (HCN) คาร์บอนเตตระคลอไรด์ (CCl4)
จากการศึกษาสารประกอบทัว่ ๆไปมักจะมธี าตุคาร์บอนเป็นองคป์ ระกอบ นกั เคมีในยุคก่อนเชื่อว่าสารท่ีมีคาร์บอน

เปน็ องค์ประกอบต้องมาจากสง่ิ มีชีวติ เทา่ น้นั และเรยี กสารเหล่าน้วี า่ สารประกอบอนิ ทรยี ์ จนกระทงั่ ปี พ.ศ. 2371 (ค.ศ.

1828) ฟรีดริช เวอเลอร์ นักเคมีชาวเยอรมันสามารถสงั เคราะห์สารอินทรีย์ได้จากสารอนินทรยี ์ โดยสังเคราะห์ยูเรียซงึ่
เป็นสารอินทรีย์จากการเผาแอมโมเนียมไซยาเนต (NH4OCN) ซ่งึ เปน็ สารอนินทรีย์ดงั สมการ

NH4OCN(s) ⎯⎯⎯→ H2NCONH2(s)

แอมโมเนียมไซยาเนต ยูเรีย

4

ต่อมามีนกั เคมีที่สามารถสงั เคราะห์สารอนิ ทรีย์ได้มากข้นึ จึงทำใหแ้ นวคิดเกย่ี วกบั สารอินทรียเ์ ปลีย่ นไปปัจจุบัน
จากการศึกษาสารประกอบทั่ว ๆ ไป มักจะมีธาตุคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ นักเคมีในยุคกอ่ นเชื่อวา่ สารทีม่ ีคารบ์ อนเปน็
องคป์ ระกอบต้องมาจากส่ิงมีชีวติ เทา่ นั้น และเรยี กสารเหล่านีว้ า่ สารประกอบอินทรยี ์

สารอินทรีย์มีอยรู่ อบตัวเราเป็นจำนวนมาก
นักเรยี นคดิ ว่า สารอนิ ทรยี ม์ ีประโยชนอ์ ยา่ งไร

บ้างในชวี ิตประจำวนั

............................................................................................................................. .........................................................
............................................................................................................................. .........................................................

ตรวจสอบความรกู้ อ่ นเรยี น 1

1. เขยี นโครงสร้างลวิ อิสแบบเสน้ ของสารต่อไปนี้ 1.4 CH5N
1.1 CH4

1.2 CO2 1.5 C2H6O

1.3 HCN

2. ใส่เครอ่ื งหมาย √ หนา้ ข้อความท่ีถกู ต้อง และใส่เคร่อื งหมาย × หน้าข้อความทไ่ี มถ่ ูกต้อง
.......... 2.1 H2O Cl2 และ NH4+ เป็นสารทีม่ พี นั ธะโคเวเลนต์ยดึ เหน่ียวระหว่างอะตอม
.......... 2.2 CH3OCH3 มีพันธะไฮโดรเจนระหวา่ งโมเลกุลของสาร
.......... 2.3 CH3OH มีจดุ เดอื ดสงู กวา่ CH3CH3
.......... 2.4 CCl4 เป็นโมเลกุลไมม่ ีขัว้
.......... 2.5 CH3COOH มแี รงยดึ เหนยี่ วระหวา่ งโมเลกลุ เป็นพนั ธะไฮโดรเจนเทา่ น้ัน
.......... 2.6 CH3Br มจี ุดเดอื ดสูงกวา่ CH3Cl เพราะ CH3Br เปน็ โมเลกุลท่ีมขี ้วั มากกว่า CH3Cl

5

3. เขียนสมการเคมที ี่ดลุ แล้วของปฏิกริ ยิ าการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของแกส๊ มีเทน (CH4)
............................................................................................................................. .........................................................

พันธะของคาร์บอนในสารประกอบอินทรยี ์

คารบ์ อนเป็นธาตหุ มู่ IVA มเี วเลนซอ์ ิเล็กตรอนเท่ากับ 4 จงึ สามารถใช้อิเลก็ ตรอนรว่ มกบั อะตอมอน่ื อีก 4
อเิ ลก็ ตรอน เกดิ เปน็ พันธะโคเวเลนตไ์ ด้ 4 พันธะ และมเี วเลนซ์อเิ ลก็ ตรอนครบ 8 ตามกฎออกเตต การเกดิ พันธะโคเว
เลนต์ระหวา่ งธาตุคารบ์ อนกับธาตุอ่นื ๆ ในสารอินทรียบ์ างชนดิ ดงั แสดงในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 สารประกอบอินทรียบ์ างชนิด สตู รโมเลกุล และโครงสรา้ งลิวอิส

ช่ือสาร สูตรโมเลกุล แบบจดุ โครงสรา้ งลวิ อิส
แบบเส้น

HH HH
HCC
อเี ทน C2H6 H CCH H
HH
HH

อีทนี C2H4 H H H H
(เอทลิ ีน) C C
C C
H H H H

อีไทน์ (อะเซทิลนี ) C2H2 HC CH HCCH

เมทานอล CH3OH H H H
(เมทิลแอลกอฮอล)์ H CO H COH

H H

โพรพาโนน HO HOH
(แอซโี ตน) H CCCH
CH3COCH3 H C C C H
HH
HH

6

ชอื่ สาร สูตรโมเลกุล แบบจุด โครงสร้างลิวอิส
CH3Cl แบบเสน้
คลอโรมเี ทน H
(เมทลิ คลอไรด์) H
H C Cl
H H C Cl

อะมโิ นมีเทน CH3NH2 H

HH
H CN

H
H

มเี ทนไทออล CH3SH H H H
HCS HCSH

H H

HO H

HO H

เมทิลเอทาโนเอต C3H6O2 HC C OC H HCCOCH
H H
HH

อะตอม อ่นื ๆ ท่มี ารว่ มใชเ้ วเลนซ์อิเล็กตรอนเกดิ พนั ธะโคเวเลนซก์ บั คาร์บอนในสารอินทรยี ์ ธาตุทพ่ี บมากท่ีสุด
คือ ไฮโดรเจน (H) สำหรับธาตุอืน่ ๆ นอกจาก H แล้วยังมี ไนโตรเจน (N) , ฟอสฟอรัส (P), ออกซิเจน (O), กำมะถัน (S)
และแฮโลเจน (F, Cl, Br, I)

ตัวอยา่ งพันธะโคเวเลนต์ระหว่างคารบ์ อนกบั ธาตุอ่นื ๆ ที่พบบอ่ ยในสารอนิ ทรยี ์ ดังน้ี

7

ข้อสงั เกต!! สำหรบั ธาตุอ่นื ๆทเี่ กิดพนั ธะโคเวเลนต์กบั C จะมพี นั ธะดงั น้ี

การเชื่อมต่อกันระหว่างอะตอมของคาร์บอนในโมเลกุลของสารประกอบอินทรีย์ อาจมีลักษณะเป็นโซ่ตรง
(Straight chain) หรือเป็นโซ่กิ่ง (branched chain) หรือเป็นวง (Cyclic) ดังรูป โดยลักษณะโครงสร้างที่มีลักษณะเปน็
โซต่ รงและโซก่ ิ่งอาจเรียกรวมๆวา่ เปน็ โครงสร้างแบบโซเ่ ปดิ (open chain)

ก.โครงสร้างแบบโซ่ตรง ข.โครงสร้างแบบโซก่ งิ่ ค.โครงสรา้ งแบบวง

รูป 1 สูตรโครงสรา้ งลวิ อสิ ของสารประกอบอนิ ทรีย์แบบต่างๆ

จากการที่อะตอมของคาร์บอนสามารถเกิดพันธะโคเวเลนต์กับอะตอมของคาร์บอนด้วยกันเองกับธาตุอื่นด้วย
รูปแบบพันธะและลักษณะการเชื่อมต่อกันที่หลากหลาย จึงทำให้สารประกอบอินทรีย์ที่พบในธรรมชาติและที่มนุษย์
สังเคราะห์ขึ้นมีจำนวนมากมาย และสารประกอบอินทรีย์เหล่านี้ก็มีสมบัติทางกายภาพและเคมีที่แตกต่างกัน มี
ความสำคัญและเกี่ยวขอ้ งกบั ชีวิตประจำวนั ในหลายด้าน

อะตอมของคาร์บอนสามารถเกดิ พันธะ
โคเวเลนตก์ บั อะตอมของคารบ์ อนด้วย
กันเองหรอื กับธาตุอนื่ ดว้ ยรปู แบบพันธะ
และลกั ษณะการเช่ือมต่อที่หลากหลาย
ทำให้มีสารประกอบอินทรีย์จำนวนมาก

สารอินทรยี ์มเี ป็นจำนวนมาก เนอ่ื งจากเหตุผล 3 ประการ ต่อไปน้ี
1. คาร์บอนอะตอมสามารถเกิดพันธะโคเวเลนต์ได้ ทั้งพันธะเดี่ยว (Single bond) พันธะคู่ (Double bond)
และพันธะสาม (Triple bond)
2. ธาตุคาร์บอนสามารถสร้างพันธะกับธาตุอื่น ๆ ได้จำนวนมาก เช่น สร้างพันธะกับ H , O , N , S และ
halogen เป็นต้น
3. การเกดิ ปรากฏการณไ์ อโซเมอรซิ ึม ซงึ่ หมายถงึ การท่ีสารมสี ตู รโมเลกลุ เหมอื นกัน แต่สตู รโครงสรา้ งตา่ งกนั

8

กิจกรรม 1 สืบค้นข้อมูลสารประกอบอินทรียท์ พ่ี บในชีวติ ประจำวนั
จดุ ประสงคข์ องกิจกรรม

สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างสารประกอบอินทรีย์ที่มีพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือ พันธะสาม ที่พบใน
ชวี ติ ประจำวนั
วธิ ีทำกิจกรรม

1. สืบค้นข้อมูลสารประกอบอนิ ทรียท์ ี่พบในชวี ติ ประจำวนั และการนำไปใช้ประโยชน์
2. แสดงโครงสร้างและระบุพันธะเดย่ี วพนั ธะคู่หรอื พนั ธะสามของสารประกอบอินทรีย์ที่ได้จากการสบื คน้ ขอ้ มลู
3. ระบุสว่ นของโครงสรา้ งทเี่ ป็นโซเ่ ปดิ หรอื แบบวง
4. นำเสนอข้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสม
ผลการทำกิจกรรม

9

สรุปผลการทำกจิ กรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

สตู รโครงสรา้ งของสารประกอบอนิ ทรยี ์

สตู รโครงสร้าง (Structural formula) เป็นสูตรท่ีแสดงการจัดเรียงอะตอมของธาตุต่าง ๆ ในโมเลกุลของสาร
นัน้ สำหรับสารอินทรยี ์ท่มี โี มเลกุลขนาดใหญ่การเขียนแสดงแทนด้วยสตู รโครงสร้างลวิ อิสทำไดไ้ มส่ ะดวก จึงนิยมเขยี น
เป็นสูตรโครงสร้างแบบย่อ

สูตรโครงสรา้ งแบบย่อ (Condense structural formula) สามารถย่อพนั ธะเดยี่ วไดท้ งั้ หมดหรอื ยอ่ บางสว่ น
โดยพันธะคแู่ ละพันธะสามจะยงั คงไว้ โครงสรา้ งแบบย่อมีขอ้ ดีกว่าการเขียนดว้ ยโครงสร้างแบบลิวอสิ เพราะใช้เนื้อท่ี
น้อย เขียนไดส้ ะดวกและรวดเร็ว แตอ่ าจพจิ ารณาโครงสร้างของโมเลกลุ ไดย้ ากและสับสน

ตารางที่ 2 สตู รโมเลกุลและสูตรโครงสร้างของสารประกอบอนิ ทรีย์บางชนิด

ชื่อสาร / สูตรโมเลกลุ สูตรโครงสร้าง โครงสรา้ งแบบย่อ
โครงสร้างลิวอสิ CH3CH2CH2CH2CH3
เพนเทน
C5H12 H HHH H หรือ
CH3(CH2)3CH3
2– เมทลิ บิวเทน HCCCC CH
(ไอโซเพนเทน) (CH3)2CHCH2CH3
H HHH H
C5H12

10

ช่ือสาร / สตู รโมเลกลุ สูตรโครงสร้าง โครงสรา้ งแบบย่อ
โครงสร้างลิวอสิ
เพนทีน
C5H10 CH2=CHCH2CH2CH3

ไซโคลเฮกเซน CH3COCH3
C6H12 หรอื (CH3)2CO

ไซโคลเฮกซนี CH3CH2OH
C6H10 HCHO หรอื H2CO

โพรพาโนน 11
(แอซีโตน)
C3H6O

เอทานอล
C2H6O

เมทานาล
(ฟอรม์ าลดีไฮด์)

CH2O

ชอ่ื สาร / สตู รโมเลกุล สตู รโครงสรา้ ง โครงสรา้ งแบบยอ่
โครงสรา้ งลิวอสิ
กรดเมทาโนอกิ
(กรดฟอร์มิก) HCOOH หรือ HCO2H

CH2O2 CH3COOH

กรดเอทาโนอิก
(กรดแอซีติก)
C2H4O2

สูตรโครงสรา้ งแบบเส้นและมุม (Line – angle formula) ใชเ้ สน้ ตรงแทนพันธะระหวา่ งคารบ์ อน ถ้ามีจำนวน
คารบ์ อนต่อกนั มากกว่า 2 อะตอมให้ใช้เส้นตอ่ กันแบบซิกแซกแทนสายโซข่ องคารบ์ อนท่ปี ลายเส้นตรงและแตล่ ะมุมของ
สายโซแ่ ทนอะตอมของคารบ์ อนท่ตี ่ออยู่กบั ไฮโดรเจนในจำนวนท่ที ำให้คาร์บอนมเี วเลนซ์
อเิ ลก็ ตรอนครบ 8 ถ้าในโมเลกลุ มหี ม่อู ะตอมแยกออกมาจากสายโซ่ของคาร์บอน ใหล้ ากเส้นต่อออกมาจากสายโซ่ และให้
จดุ ตดั ของสายโซ่แทนอะตอมของคารบ์ อน เช่น

CH2=CHCH2CH3 เขยี นเป็น

CH2 CH3 CH3 เขียนเปน็
CH3 CH CH CH

สำหรับโมเลกลุ ท่ีเปน็ วง ให้เขียนพันธะแสดงตามรปู เหล่ียมทเี่ ปน็ วงนนั้

H2
C

H2C CH เขยี นเป็น

H2C CH

C
H2

H

H CH เขียนเปน็
CC

CC
H CH

H

12

HH เขยี นเปน็
C

H CCH
HH

การเขียนสูตรโครงสรา้ งแบบเสน้ และมมุ นิยมใชก้ ับสารอนิ ทรียท์ ี่มโี ครงสร้างแบบวงหรอื มีโมเลกุลขนาดใหญ่
เน่ืองจากเขยี นไดส้ ะดวกและรวดเรว็ กว่าโครงสร้างแบบอ่นื ๆ อาจแสดงด้วย สูตรโครงสรา้ งแบบเสน้ พันธะ (bond-line
structural formula) ดงั ตารางท่ี 3
ตารางที่ 3 การเขยี นสูตรโครงสรา้ งแบบเสน้ และมุม

โครงสรา้ งลวิ อิส โครงสรา้ งแบบยอ่ โครงสรา้ งแบบเส้นและมมุ

CH3CH2CH=CHCH3

หรอื
BrCH = C(CH3)CH2COCl

(CH3)3CCH2CH(CH2CH3)2

13

โครงสรา้ งลิวอิส โครงสร้างแบบยอ่ โครงสร้างแบบเส้นและมมุ

ตรวจสอบความเขา้ ใจ 1

1. เขียนสตู รโครงสรา้ งลวิ อิสของสารประกอบอินทรยี ์ทมี่ สี ูตรโครงสรา้ งแบบย่อเปน็ CH3CH = C(CH3)2

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. เขียนสูตรโครงสร้างแบบยอ่ ของสารประกอบอนิ ทรยี ์ทมี่ สี ตู รโครงสรา้ งลวิ อสิ ดังนี้

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

14

3. เขยี นสูตรโครงสรา้ งแบบเสน้ พนั ธะของสารประกอบอินทรีย์ที่มสี ตู รโครงสร้างแบบย่อเปน็ (CH3)2C= CHCH2CH3
และ CH3C CCH2CHO

สูตรโครงสรา้ งแบบย่อ สูตรโครงสรา้ งแบบเส้นพนั ธะ

(CH3)2C= CHCH2CH3

CH3C CCH2CHO
4. เขยี นสูตรโครงสร้างแบบย่อและสูตรโมเลกลุ ของสารประกอบอนิ ทรียท์ มี่ สี ูตรโครงสร้าง แบบเสน้ พนั ธะดังน้ี

สตู รโครงสรา้ งแบบย่อ……………………………………………………………………………………………………………………………
สตู รโมเลกุล………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ตารางที่ 4 โครงสรา้ งของสารอนิ ทรียม์ โี ครงสรา้ งเปน็ สามมติ ิ

ชื่อสาร / สตู รโมเลกลุ โครงสร้างลวิ อสิ แบบจำลองโมเลกุล 3 มิติ

มีเทน
CH4

อีเทน
C2H6

15

โพรเพน
C3H8

บิวเทน
C4H10

2–เมทิล โพรเพน
(ไอโซบวิ เทน)

C4H10

เบนซีน
C6H6

รว่ ม กัน คดิ 1

1. จากสูตรโมเลกลุ ของสารประกอบอินทรยี ์

C2H2 CH2O CH4O CH5N
ตอบคำถามต่อไปนี้

1.1 เขียนสูตรโครงสร้างลิวอสิ

สตู รโมเลกลุ C2H2 CH2O CH4O CH5N

สูตรโครงสร้าง
ลวิ อิส

16

1.2 สูตรโมเลกุลใดทมี่ ีพันธะคู่ในโมเลกลุ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1.3 สตู รโมเลกุลใดท่มี พี นั ธะสามในโมเลกลุ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1.4 เขยี นสูตรโครงสร้างแบบย่อ

สูตรโมเลกลุ C2H2 CH2O CH4O CH5N

สตู รโครงสรา้ ง
แบบยอ่

1.5 เขยี นสูตรโครงสรา้ งแบบเสน้ พันธะ พร้อมท้งั ให้เหตุผลวา่ สตู รโครงสร้างแบบเสน้ พันธะน้เี หมาะสมสำหรบั การ

แสดงโครงสรา้ งของสารประกอบอินทรีย์ขนาดเล็กหรือไม่ อยา่ งไร

สูตรโมเลกุล C2H2 CH2O CH4O CH5N

สตู รโครงสรา้ ง
แบบเสน้ พนั ธะ

2. เติมขอ้ มลู ในตารางต่อไปนี้ให้สมบรู ณ์

ข้อ สูตรโครงสรา้ ง สูตรโครงสรา้ ง สตู รโครงสร้าง สตู ร
ลิวอสิ แบบเสน้ พนั ธะ แบบย่อ โมเลกุล

2.1

2.2 CH3CHCl2

2.3

17

ขอ้ สตู รโครงสร้าง สตู รโครงสร้าง สูตรโครงสรา้ งแบบย่อ สูตร
ลิวอิส แบบเส้นพันธะ CH3CH2CH2NH2 โมเลกลุ

2.4

2.5

2.6

2.7 CH3 CH(CH3)CH2CH=CH2

2.8

2.9
2.10 ClC CCH(CH3)COCH3

18

หม่ฟู ังก์ชัน (Functional Group)

หมฟู่ ังก์ชนั หมายถึงหมู่อะตอมทแ่ี สดงสมบตั ิเฉพาะในโมเลกุลของสารประกอบ
อนิ ทรยี ส์ มบตั ิและการเกิดปฏิกริ ิยาของสารประกอบอินทรียจ์ ะเปน็ ไปตามหมู่
ฟงั ก์ชนั ท่ีเปน็ องค์ประกอบของสารนน้ั จงึ อาจใช้หมู่ฟังก์ชนั เป็นเกณฑ์ในการ

จำแนกสารประกอบอนิ ทรยี ช์ นดิ ตา่ ง ๆ ได้

สารประกอบอินทรีย์นั้นมีมากมายหลายชนิด การจำแนกประเภทสารประกอบอินทรีย์นั้นสามารถแบ่งตามหมู่

ฟังก์ชันของสาร ซึ่งหมู่ฟังก์ชันจะเป็นตัวบอกสมบัติเฉพาะในโมเลกุลของสารประกอบอินทรีย์ สมบัติการเกิดปฏิกิริยา

ของสารประกอบอินทรีย์จะเป็นไปตามหมู่ฟังก์ชั่นที่เป็นองค์ประกอบของสารเหล่านั้น จำแนกตามหมู่ฟังก์ชั่นมี

รายละเอียดดังตารางที่ 5

ตารางที่ 5 หมฟู่ ังกช์ ันและประเภทของสารอนิ ทรยี ์ทมี่ ีหมู่ฟังก์ชนั บางชนิด

หม่ฟู ังกช์ นั ช่อื หมู่ ประเภทของ ตัวอยา่ งสารประกอบ
สารประกอบ ชอ่ื สูตรโครงสร้าง

– – แอลเคน มีเทน CH4

C=C พันธะครู่ ะหวา่ ง แอลคนี อที นี H2C = CH2
คารบ์ อน

CC พันธะสามระหว่าง แอลไคน์ อีไทน์ HC  CH
คารบ์ อน

แอลกอฮอล์ เอทานอล CH3–CH2–OH
(เอทิลแอลกอฮอล์)

–OH ไฮดรอกซิล
Ar-OH

ฟนี อล ฟีนอล

R–O–R แอลคอกซี,ออกซี อเี ทอร์ เมทอกซมี เี ทน CH3–O– CH3
ไดเมทิลอเี ทอร์
19

O คาร์บอกซลิ กรดอินทรยี ์ กรดเอทาโนอกิ
C OH หรือกรดคาร์ (กรดแอซตี ิก)
บอกซิลิก

O แอลคอกซีคารบ์ อนิล เอสเทอร์ เมทิลเอทาโนเอต
(เมทลิ แอซีเตต)
COR

O คารบ์ อกซาลดีไฮด์ แอลดีไฮด์ เมทานาล
CH

O คารบ์ อนลิ คโี ตน โพรพาโนน

C

NH2 อะมิโน เอมนี อะมโิ นมเี ทน CH3 – NH2

เอไมด์ เอไมด์ เมทานาไมด์

หมู่อะตอมที่แสดงสมบัตเิ ฉพาะในโมเลกุลของสารอินทรีย์เรียกวา่ หมู่ฟังก์ชัน(functional group) หมู่ฟังก์ชัน

ในลักษณะที่ต่างๆ กันจะส่งผลให้สารอินทรีย์มีสมบัติแตกต่างไม่ว่าจะเป็นสภาพขั้วความเป็นกรด-เบส ความว่องไวต่อ

ปฏิกิริยาเคมีและรูปแบบการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับสารอื่นๆ จึงมักใช้หมู่ฟังก์ชันเป็นเกณฑ์ในการจำแนกสารอินทรีย์

ออกเปน็ ประเภทตา่ งๆดังตัวอย่างกรดแอซีตกิ และเอทานอลดงั แสดงในตารางท่ี 6

ตารางที่ 6 แสดงสมบัตขิ องกรดแอซีติก และเอทานอล

ชอ่ื สาร สูตรโครงสรา้ งลวิ อิส หมู่ฟังก์ชนั สมบัติเด่น

เอทานอล –OH เกิดปฏิกิริยากบั Na ใหแ้ กส๊ H2 มพี ันธะไฮโดรเจน
กรดแอซตี ิก ระหวา่ งโมเลกลุ

เปน็ กรดอ่อน มีกลิน่ ฉุน เกิดปฏกิ ริ ิยากบั NaHCO3 ให้
แกส๊ CO2 เกดิ ปฏิกิริยากับ Na ใหแ้ กส๊ H2 มีพนั ธะ
ไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุล

20

จากตวั อย่าง เมื่อใหเ้ อทานอลและกรดแอซีติกทำปฏิกิรยิ ากับโลหะโซเดียมปฏกิ ิรยิ าท่เี กดิ ขึ้นแสดงได้ ดังน้ี

2CH3CH2OH + 2Na → 2CH3CH2ONa + H2
โซเดียมเอทอกไซด์ แกส๊ ไฮโดรเจน
เอทานอล โลหะโซเดยี ม
2CH3COONa + H2
2CH3CH2COOH + 2Na → โซเดยี มแอซเี ตต แกส๊ ไฮโดรเจน
กรดแอซีติก โลหะโซเดยี ม

อธิบายได้ว่า เมื่อพิจารณาโครงสร้างของเอทานอล ออกซิเจนที่เกิดพันธะโคเวเลนต์แบบพันธะเดี่ยวกับ
ไฮโดรเจน มคี า่ อิเลก็ โทรเนกาตวิ ติ สี งู มาก อเิ ลก็ ตรอนค่รู ่วมพนั ธะท่ีใชร้ ว่ มกบั ไฮโดรเจนจึงถกู ดงึ ไปอยู่ทางด้านออกซิเจน
มากกว่าทำให้ไฮโดรเจนหลุดไปเป็นโปรตอน (H+) และโลหะโซเดียมจึงเข้าแทนที่ตำแหน่งของไฮโดรเจนที่หลุดไปแต่
ความเป็นกรดของเอทานอลน้อยมาก จึงไม่สามารถทำปฏิกิริยากับโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต ที่จัดเป็นเบสอ่อนมาก
ได้ ดังนั้นหมู่ไฮดรอกซิล (-OH) จึงเป็นกลุ่มอะตอมที่แสดงสมบัติเฉพาะตัวของเอทานอล ขณะเกิดปฏิกิริยาจะเกิดการ
เปล่ียนแปลงที่หม่ไู ฮดรอกซิล หม่ไู ฮดรอกซลิ จึงถือเปน็ หม่ฟู ังกช์ นั ของเอทานอล

กรณีของกรดแอซีติก เมื่อพิจารณาโครงสร้าง จะเห็นได้ว่าออกซิเจนที่เกิดพันธะคู่กับคาร์บอนมีค่าอิเล็กโทรเน
กาติวิตีสูงกว่าคาร์บอนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะระหว่างออกซิเจนกับคาร์บอนจึงถูกดึงไปอยู่ทางด้า นออกซิเจนมากกว่า
อะตอมคาร์บอนจงึ ดึงอเิ ล็กตรอนคู่รว่ มพนั ธะ ระหวา่ งในพันธะเดีย่ ว C-O มาชดเชยทำให้ออกซิเจนซึ่งเกิดพันธะกับ
ไฮโดรเจนดึงอิเล็กตรอน คู่ร่วมพันธะเข้าหาอะตอมออกซิเจนได้ดีกว่ากรณีเอทานอล ไฮโดรเจนอะตอมจึงหลุดไปเป็น
โปรตอน (H+) ได้ง่ายกว่าเอทานอล ทั้งนี้เพราะมี C=O ช่วยดึงอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะระหว่าง ไฮโดรเจนกับออกซิเจน
กรดแอซตี กิ จึงแสดงความเป็นกรดมากกว่าเอทานอล สามารถเปลีย่ นสกี ระดาษลติ มสั จากน้ำเงินเป็นแดงได้

และกรดแอซีติกเท่านั้นที่ทำปฏิกิริยากับสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต โดยเมื่อทดสอบผลิตภั ณฑ์
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้นด้วยแคลเซียมไฮดรอกไซด์ จะเกิดเป็น ตะกอนขาวขุ่นของแคลเซียมคาร์บอเนต
ปฏิกิรยิ าทีเ่ กิดขึน้ แสดงได้ ดังนี้

CH3COOH + NaHCO3 → CH3COONa + H2O + CO2

กรดแอซตี ิก โซเดียมไฮโดรเจน โซเดียมแอซเี ตต นำ้ คาร์บอนได

คารบ์ อเนต ออกไซด์

CO2 + Ca(OH)2 → CaCO3 + H2O
คารบ์ อนได แคลเซยี ม แคลเซียม น้ำ
ออกไซด์ ไฮดรอกไซด์ คาร์บอเนต

O

จากปฏิกิริยาของกรดแอซตี กิ จะเกดิ การเปล่ยี นแปลงท่หี มคู่ ารบ์ อกซลิ ( C OH) ดงั นัน้ หมคู่ าร์บอก
ซิลจึงเป็นกลมุ่ อะตอมที่แสดงสมบัติเฉพาะตัวของกรดแอซีติก ดังนัน้ จากสมบัติและปฏิกิริยาของเอทานอลและกรดแอซี
ตกิ สรปุ ได้วา่ สารทัง้ สองชนดิ จะมีกลุ่มอะตอมทีแ่ สดงสมบัติเฉพาะหรอื หมู่ฟงั กช์ นั แตกต่างกนั

21

ร่วม กัน คดิ 2

1. จงบอกประเภทของสารอินทรยี ์ต่อไปน้ีพร้อมทั้งระบุชื่อหม่ฟู งั ก์ชันของสารแต่ละชนดิ

สาร ประเภทของสารอินทรีย์ ช่ือหม่ฟู ังกช์ นั

2. จงวงกลมล้อมรอบหมู่ฟงั ก์ชนั ที่อย่ใู นโมเลกลุ ของธาซอล (taxol) ซ่ึงเปน็ สารต้านมะเร็ง พรอ้ มท้งั ระบุชื่อของหมู่
ฟังก์ชนั แตล่ ะตำแหน่ง

ประเมินตนเอง : จากการทำกิจกรรมขอ้ ที่ 3 นกั เรียนอยใู่ นระดบั ใด
 ดีมาก  ดี  พอใช้  ปรับปรุง

22

ตรวจสอบความรู้ นาสปู่ ัญญา

ขน้ั ที่ 2 สรา้ ง ปฏิบตั ิการ ฝึ กทา : ฝึ กสร้าง
ความรCู้ ombination

สืบคน้ ขอ้ มูลสารอนิ ทรีย์ (เฉพาะสารบริสุทธิ)์ ทส่ี นใจมา 1
ชนิด และบนั ทึกข้อมลู ดงั แสดงในตารางด้านลา่ ง ( 10 คะแนน)

๗)

ข้อมูลทส่ี ืบคน้

แหลง่ สบื ค้นข้อมลู ช่ือสาร…………………………………..……….….
สูตรโมเลกุล………………………………..……….
...............................................
............................................... สตู รโครงสรา้ งลวิ อสิ
...............................................
............................................... ......................................................................................
............................................... ......................................................................................
............................................... ......................................................................................
............................................... ......................................................................................
............................................... ......................................................................................

คุณสมบัติของสาร 23

......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

สารอนิ ทรยี ข์ องคารบ์ อน
จงเขียนบรรยายเปน็ ข้อความ เร่อื ง สารอนิ ทรีย์ของคาร์บอน เพ่ือสรุปความรทู้ ี่ไดจ้ ากผงั มโน
ทัศน์ ดงั แผนภาพ ( 10 คะแนน )

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

24

นกั วิทยฯ์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ

ขน้ั ที่ 3 ซึมซบั ปฏิบัติการ คิดดี ผลงานดี มคี วามสขุ
ความรAู้ ssimlation

สถานการณ์ 1 ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ศึกษาค้นคว้าการทำระบบก๊าซชวี ภาพจากมลู สตั ว์

และขยะอนิ ทรีย์ พร้อมระบุแหล่งทมี่ าแลว้ บันทกึ ข้อมูล

……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………..

25

……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..

แหลง่ สบื คน้ ข้อมลู

……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………..

26

สถานการณ์ 2 ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ เขยี นโครงการทำระบบก๊าซชวี ภาพจากมลู สัตว์ และ
ขยะอินทรีย์ในโรงเรยี นของนักเรียนพร้อมระบุรายละเอยี ด ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. วางแผนปฏิบตั ิโครงการ
1.1 ตง้ั ชือ่ โครงการ
............................................................................................................................. .....................................
............................................................................................................................. .....................................
1.2 ตง้ั ปญั หา
..................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................................
............................................................................................................................. .....................................
..................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................................
........................................................................................................................................ ..........................
1.3 ต้งั สมมตฐิ าน (คาดคะเนคำตอบล่วงหนา้ )
..................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................................
............................................................................................. .....................................................................
............................................................................................................................. .....................................
1.4 วางแผนปฏิบัติการ
1) วธิ ดี ำเนนิ การ
............................................................................................................................. .....................................
............................................................................................................................. .....................................
............................................................................................. .....................................................................
............................................................................................................................. .....................................
.................................................................................................................................................... ..............
.................................................................................................................... ..............................................
............................................................................................................................. .....................................
..................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................................
............................................................................................................................. .....................................
..................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................................
............................................................................................................................. .....................................

27

2) วัสดุ อปุ กรณ์
..................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................................
.................................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................................
............................................................................................................................. .....................................
......................................................................................................................................................... .........
3) ระยะเวลา
............................................................................................................. .....................................................
2. ปฏิบตั ิ พรอ้ มบันทึกผลการทดลอง
............................................................................................................................. .....................................
............................................................................................. .....................................................................
............................................................................................................................. .....................................
.................................................................................................................................................... ..............
.................................................................................................................... ..............................................
............................................................................................................................. .....................................
..................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................................
............................................................................................................................. .....................................
..................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................................
............................................................................................................................. .....................................
............................................................................................ ......................................................................
............................................................................................................................. .....................................
................................................................................................................................................... ...............
3. สรปุ ผลการทดลอง
................................................................................................. .................................................................
............................................................................................................................. .....................................
........................................................................................................................................................ ..........
........................................................................................................................ ..........................................
............................................................................................................................. .....................................
............................................................................................................................. .....................................
............................................................................................. .....................................................................
............................................................................................................................. .....................................
.................................................................................................................................................... ..............

28

4. ขอ้ เสนอแนะ
...................................................................................................... ............................................................
............................................................................................................................. .....................................
............................................................................................................................. .....................................
............................................................................................. .....................................................................

การจัดทำโครงการ เป็นการเตรียมการเพื่อการ
กระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อหาทางปฏิบัติหรือดำเนินการ
ให้บรรลุวัตถปุ ระสงคข์ องการกระทำนั้น ๆ อย่างแน่ชัด และ
มีระบบขั้นตอน และโครงการจะเป็นสิ่งช่วยชี้แนะแนวทาง
กำหนดลักษณะและขอบข่ายของการดำเนินงาน รวมทั้ง
กำหนดเปา้ หมายของการทำงานนนั้

29

แบบทดสอบหลังเรียน

เล่มที่ 1 เร่อื ง ร้จู ักสารอนิ ทรีย์ วิชาเคมี

ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 นาที

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………

คำสั่ง 1.ให้นักเรยี นเขียนเคร่ืองหมาย X ลงในขอ้ ทนี่ กั เรียนคิดวา่ ถูกต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดยี ว

2.ข้อสอบมีทัง้ หมด 20 ข้อให้นักเรียนทำทุกข้อ ใชเ้ วลาในการทำ 10 นาที

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………

1. สมบตั ิใดทแ่ี สดงว่าสารตวั อยา่ งจัดเป็นสารอินทรยี ์

ก. เผาไหม้ให้แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ ข. ละลายนำ้ ได้

ค. จุดเดือด จดุ หลอมเหลวสูง ง. เกดิ พนั ธะไอออนิกภายในโมเลกุล

2. เพราะเหตุใดคารบ์ อนจึงเกดิ สารประกอบเปน็ จำนวนมากได้

จ. คารบ์ อนสามารถเกิดสารประกอบโคเวเลนตไ์ ด้

ฉ. คารบ์ อนแต่ละอะตอมสามารถใช้อิเลก็ ตรอนร่วมกันเองได้

ช. คาร์บอนแตล่ ะอะตอมสามารถใช้อิเลก็ ตรอนร่วมกบั อะตอมอน่ื ได้

ซ. ถูกทั้ง ก, ข และ ค

3. สารในขอ้ ใดไม่ใช่สารอินทรยี ์ทั้งหมด

ก. CH3COOK , CH3COOH ข. CH3CH2CN , C6H5COCl

ค. C5H10 , NaHCO3 ง. CCl4 , CO2

4. ขอ้ ใดกลา่ วไมถ่ ูกตอ้ งเกี่ยวกับอะตอมธาตุคาร์บอน

ก. สรา้ งพันธะกบั อะตอม C ด้วยกนั ได้มากกวา่ 1 อะตอม

ข. สร้างพนั ธะกบั อะตอม H ได้ถึง 4 อะตอม

ค. สร้างพนั ธะกบั อะตอมธาตุอนื่ ได้ 3 พันธะ

ง. อยใู่ นหมู่ 4A มีเวเลนซอ์ เิ ล็กตรอน 4

5. ข้อใดแสดงการเกิดพันธะของคารบ์ อนไม่ถกู ต้อง

ก. ข.

ค. ง.

6. ข้อใดเป็นสูตรโมเลกุลของสารทีม่ ีสตู รโครงสรา้ งแบบเส้นและมุมเปน็

ก. C5H9N ข. C5H11N

ค. C6H11N ง. C6H12N

30

7. จากสูตรโครงสรา้ งแบบผสมของ CH3- CH2- CH2- CH2=CH2- CH3 เขยี นแสดงสตู ร โครงสรา้ งแบบย่อได้แบบ

ใด

ก. (CH3)2(CH2)4 ข. CH3(CH2)4CH3

ค. (CH3)2(CH2)2CH2= CH2 ง. CH3(CH2)2CH2 = CH2CH3

8. สาร CH3CH=CHCH(CH3) CH2CH3 มีสูตรโครงสรา้ งแบบเสน้ และมุมดังข้อใด

ก. ข.

ค. ง.

9. สูตรโครงสร้างอย่างยอ่ ของสารประกอบข้างลา่ งนีค้ ือข้อใด

ก. CH3 CH(CH3) CH COCH2 CH(CH3)2 ข. (CH3) 2CH CH2COCH2 CH(CH3)2
ค. CH3 (CH3) CH CH2COCH2 CH(CH3)2 ง. (CH3)3 C(CH3)2 COO(CH2)2 CH3

10. สารที่มสี ูตรโครงสรา้ งเป็น OH สตู รโครงสรา้ งแบบย่อคือ ขอ้ ใด

ก. CH3 CH2CH=CHCH2CH(CH3)CH2-OH ข. CH3CH=CHCH (CH3)CH2-OH
ง. CH3CH=CHCH(CH3)CH2CH2OH
ค. CH3 CH2CH=CHCH(CH3) CH2- OH
ค.
11. ขอ้ ใดเปน็ หมู่ฟังก์ชนั ของกรดอนิ ทรยี ์

ก. -OH ข. –O- ง.

12. ข้อใดเป็นแอลกอฮอล์

ก. ข. C6H5OH ค. ง. CH3CHO
ค. ง.
13. ข้อใดเป็นหมฟู่ ังก์ชนั ของสารประกอบแอลเคน ค. ง.

ก. C – C ข. C = C

14. ขอ้ ใดเปน็ หมฟู่ งั กช์ ันของสารประกอบเอไมด์

ก. ข.

31

15. ขอ้ ใดเป็นหมฟู่ ังกช์ ันของสารประกอบอีเทอร์ ค. ง.
ก. ข. ค. ง.
ค. ง.
16. ขอ้ ใดเปน็ หมฟู่ ังก์ชนั ของสารประกอบเอสเทอร์ ค. ง.
ก. ข. ค. ง.
ค. ง.
17. ขอ้ ใดเปน็ หม่ฟู ังกช์ นั ของสารประกอบแอลดีไฮด์
ก. ข.

18. ข้อใดเป็นหมฟู่ ังก์ชันของสารประกอบคีโตน
ก. ข.

19. ขอ้ ใดเปน็ หมู่ฟังกช์ นั ของสารประกอบเอมีน
ก. ข.

20. ข้อใดเปน็ ฟนี อล ข.
ก.

คะแนนเต็ม 20 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

32

บรรณานกุ รม
ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทโนโลยี,สถาบนั . กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรยี นสาระการเรียนรู้

พนื้ ฐานและเพิม่ เติมเคมี เล่ม 5. กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6.(2554)
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพรา้ ว.
ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทโนโลยี,สถาบนั . (2554).คู่มือครสู าระการเรียนรพู้ น้ื ฐานและเพ่ิมเตมิ

เคมี เล่ม 5.พมิ พ์คร้งั ที่ 1 ; กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ครุ สุ ภาลาดพร้าว.
สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2559).คมู่ ือครู รายวิชาเพิม่ เติม เคมี เลม่ 5.พมิ พ์

คร้ังที่ 3. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค.
สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2563).คมู่ อื ครู รายวิชาเพ่มิ เติมวทิ ยาศาสตร์

และเทคโนโลยี เคมี เลม่ 5.พิมพ์ครง้ั ที่ 1.กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค.
สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2559).หนงั สอื เรียน รายวิชาเพ่ิมเติม เคมี เล่ม 5.

พมิ พ์ครงั้ ที่ 8.กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค.
สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2563).หนงั สือเรียน รายวิชาเพมิ่ เติมวทิ ยาศาสตร์

และเทคโนโลยี เคมี เลม่ 5.พมิ พ์ครง้ั ที่ 1.กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค.
สำราญ พฤกษ์สนุ ทร. (2549).สรุปและตะลยุ โจทยเ์ คมี ม. 6 เล่ม 5. กรงุ เทพฯ : พ.ศ. พฒั นา
สทุ ัศน์ ไตรสถิตวร. (มปป).เคมี ม. 5 เล่ม 4 ว033. กรุงเทพฯ : ไฮเอด็ พบั ลิซง่ิ .

33


Click to View FlipBook Version