The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2020-08-13 21:18:11

วิชาวิทยาศาสตร์สร้างสรรค์1

ว 31281

หลกั สตู รรายวชิ า
และแผนการจัดการเรยี นรู้

รหัสวิชา ว 31281
รายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตร์สรา้ งสรรค์..1
จำนวน 0.5 หน่วยกติ 1 คาบ/สัปดาห์
ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1

ปีการศึกษา 2562

จัดทำโดย

นางสาวอโนชา อทุ ุมสกลุ รตั น์

ตำแหนง่ ครูชำนาญการ
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
โรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม
แขวงศริ ริ าช เขตบางกอกน้อย

กรุงเทพมหานคร

สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาการมธั ยมศึกษา เขต 1
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

หลกั สตู รรายวชิ า

(Course Development)

รหัสวิชา.... ว 31281 ...รายวชิ า....วทิ ยาศาสตรส์ รา้ งสรรค์..1.......
จำนวน....0.5.... หนว่ ยกติ ....1..... คาบ/ สปั ดาห์
ภาคเรยี นที่ ...1... ปีการศึกษา …2562…..

จดั ทำโดย

.........นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รตั น.์ ........

ตำแหนง่ ....ครูชำนาญการ...........

กล่มุ สาระการเรยี นรู้.....วทิ ยาศาสตร์......

โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม แขวงศริ ริ าช เขตบางกอกน้อย กรงุ เทพมหานคร
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาการมธั ยมศกึ ษา เขต 1

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ

หลกั สตู รรายวิชาฉบับน้ีจัดทำขึ้นเพื่อเตรยี มการในการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าวทิ ยาศาสตรส์ รา้ งสรรค์ 1รหัส
วชิ า ว 31281 โดยครูผู้สอนได้ทำการศึกษาและวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้
ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ และจัดทำคำอธิบายรายวิชา โครงสรา้ งรายวชิ า กำหนดเวลาเรียน น้ำหนักคะแนน กำหนด
ทักษะกระบวนการในการเรียนการสอนตลอดจนการวัดและประเมินผลการเรยี นการสอนของครู

ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้และยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนของผูเ้ รยี นโรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาการมธั ยมศกึ ษา เขต 1 ต่อไป

นางสาวอโนชา อทุ ุมสกลุ รัตน์
ชื่อผจู้ ดั ทำ

สารบญั หน้า

คำนำ 1
1. หลกั การและจุดมงุ่ หมายของหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 2551 1
1
หลกั การ 2
จดุ หมาย 2
2. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 3
3. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 3
4. วิสยั ทศั นข์ องโรงเรียน 3
พันธกจิ 4
เป้าประสงค์ 4
5. การกำหนดโครงการสอน 5
คำอธิบายรายวชิ า (ดรู ายละเอยี ดจากหลักสตู ร)
สาระ/มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด (แกนกลาง) 5
มาตรฐานการเรยี นรู้ (ดูรายละเอยี ดจากหลักสตู ร) 6
ตัวชี้วดั หรือผลการเรียนรู้ (ดรู ายละเอยี ดจากหลกั สูตร) 7
6. ตารางโครงสรา้ งรายวชิ า 7
7. การกำหนดโครงการสอนและกจิ กรรมตลอดภาคเรียน 7
8. แผนการวัดผลและภาระงาน 7
แนวการวดั ผล
แผนการวัดผล
การกำหนดภาระงานนกั เรียน

1. หลักการและจดุ มุ่งหมายของหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน 2551 1

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน มงุ่ พฒั นาผูเ้ รียนทกุ คน ซ่ึงเปน็ กำลังของชาตใิ ห้เป็นมนษุ ย์ท่ีมคี วาม

สมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมอื งไทยและเป็นพลโลก ยึดม่นั ในการปกครองตาม

ระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ท่ีจำเป็นต่อ

การศกึ ษาตอ่ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญบนพ้นื ฐานความเชอื่ ว่า

ทกุ คนสามารถเรยี นรู้และพฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ

หลักการ
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีหลักการทีส่ ำคญั ดังนี้
1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็น

เป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้ืนฐานของความเป็นไทย
ควบคู่กบั ความเป็นสากล

2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี
คุณภาพ

3. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้
สอดคลอ้ งกับสภาพและความต้องการของทอ้ งถิ่น

4. เป็น หลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นท้ั งด้าน สาระการเรียนรู้ เวลาและการจัด
การเรยี นรู้

5. เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาที่เน้นผเู้ รียนเป็นสำคญั
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลมุ่ เปา้ หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

จุดหมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งพัฒ นาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญ ญ า มีความสุข

มศี ักยภาพในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชีพ จงึ กำหนดเป็นจุดหมายเพ่อื ให้เกิดกับผู้เรียน เมือ่ จบการศกึ ษาข้ัน
พ้ืนฐาน ดงั น้ี

1. มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มี วินัยและปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

2. มคี วามรู้ ความสามารถในการสือ่ สาร การคดิ การแก้ปัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทกั ษะชีวิต
3. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ทีด่ ี มีสขุ นิสัย และรกั การออกกำลงั กาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถชี ีวติ และการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข
5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจิต
สาธารณะท่มี ุ่งทำประโยชน์และสรา้ งส่ิงท่ีดงี ามในสงั คม และอยรู่ ่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข

2. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 2

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ม่งุ ให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดงั น้ี

1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา

ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ

ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสงั คม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลดปัญหา

ความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้

วธิ ีการสื่อสาร ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทม่ี ตี ่อตนเองและสงั คม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง

สรา้ งสรรค์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการคดิ เปน็ ระบบ เพ่ือนำไปสู่การสร้างองคค์ วามรู้หรือสารสนเทศเพื่อ

การตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั ตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปญั หา เปน็ ความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ทเี่ ผชิญได้อย่าง

ถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ

เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา

และมกี ารตดั สนิ ใจทมี่ ปี ระสิทธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่เี กดิ ขึน้ ตอ่ ตนเอง สังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใชใ้ นการดำเนิน

ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ

สร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรับตวั ให้

ทนั กบั การเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการร้จู ักหลีกเล่ยี งพฤตกิ รรมไมพ่ งึ ประสงค์ทีส่ ง่ ผลกระทบ

ตอ่ ตนเองและผูอ้ ่นื

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมี

ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทำงาน การ

แก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม

3. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน มุง่ พัฒนาผู้เรยี นให้มคี ุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เพื่อใหส้ ามารถ
อย่รู ่วมกับผูอ้ ่ืนในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี

1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซ่อื สตั ย์สจุ ริต
3. มีวนิ ัย
4. ใฝเ่ รียนรู้
5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง
6. มงุ่ มั่นในการทำงาน
7. รักความเปน็ ไทย
8. มจี ิตสาธารณะ

3

4. วสิ ัยทศั น์ของโรงเรียน

โรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม เป็นโรงเรยี นส่งเสรมิ ทักษะการคิด เพ่ือพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ีความรู้
คคู่ ุณธรรม บนพนื้ ฐานความเปน็ ไทยและหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

พนั ธกิจ
1) จัดการเรียนการสอนเพื่อพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น
2) พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
3) การบรหิ ารจัดการสถานศึกษา
4) พฒั นาชมุ ชน สังคม ธำรงสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

เป้าประสงค์
1) ผู้เรียนมีคุณสมบัติตามมาตรฐานนักเรียนโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม 10 ข้อ ได้แก่ ทดแทน

บุญคุณบิดามารดา มาโรงเรียนเช้า เข้าห้องเรียนเสมอ พบเจอครูเคารพ คบหาเพ่ือนดี สามัคคีหมู่คณะ ละเลิกสิ่ง
ชว่ั ประพฤติตัวดี มนี ้ำใจ ให้เกียรติกนั และมคี ุณลกั ษณะอันพึงประสงคต์ ามหลักสตู ร

2) ผเู้ รียนมีสว่ นร่วมในการสบื สาน อนรุ ักษ์ ประเพณี และวฒั นธรรมไทย
3) ผเู้ รียนนำหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ิต
4) ผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางวิชาการ ส่ือสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ผลิตผลงาน
สรา้ งสรรค์ และร่วมกันรบั ผิดชอบสังคม
5) ผู้เรียนมีสุขภาพพลานามัยแขง็ แรง จิตใจร่าเรงิ แจ่มใส มีสุขภาพจิตท่ีดี ปลอดจากส่ิงเสพติด อบายมุข
และโรคเอดส์
6) ครูออกแบบและจัดการเรียนรู้ท่ีตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา
ตามศกั ยภาพ
7) ครูและบคุ ลากรมีความรู้และจรยิ ธรรม มศี กั ยภาพในหน้าท่ีของตน
8) สถานศกึ ษามสี ภาพแวดล้อมและการบรกิ ารทเี่ อ้อื ตอ่ การเรียนรู้
9) สถานศกึ ษามกี ารบรหิ ารจดั การดว้ ยระบบคณุ ภาพ
10) มีการประสานงานกับคณะกรรมการสถานศึกษาฯ สมาคมศิษย์เก่า เครือข่ายผู้ปกครอง และ
หนว่ ยงานอนื่ ๆท่เี กี่ยวข้อง เนน้ การมีสว่ นรว่ มของผเู้ กย่ี วขอ้ งทุกฝา่ ยในการพฒั นาโรงเรียน

5. การกำหนดโครงการสอน/คำอธิบายรายวชิ า

โครงการสอนรายวชิ า 4
รหสั วิชา.... ว 31281 ...รายวชิ า....วิทยาศาสตรส์ รา้ งสรรค.์ .1.......
จำนวน....0.5.... หนว่ ยกติ ....1..... คาบ/ สปั ดาห์ ภาคเรยี นท่ี ...1... ปกี ารศกึ ษา …2562…..

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้วี ัด (แกนกลาง)
สาระชีววทิ ยา 1 เขา้ ใจธรรมชาติของสิ่งมีชีวติ การศึกษาชีววิทยาและวิธีการทางวทิ ยาศาสตร์สารทเ่ี ปน็ องค์
ประกอบของส่ิงมชี ีวิต ปฏกิ ิรยิ าเคมีในเซลลข์ องส่งิ มีชวี ติ กล้องจุลทรรศน์ โครงสร้างและหน้าทขี่ องเซลล์ การ
ลำเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลลก์ ารแบ่งเซลล์ และการหายใจระดับเซลล์
ผลการเรียนรู้ ขอ้ ท่ี 1 อธบิ าย และสรุปสมบตั ิท่ีสำคญั ของสิง่ มีชวี ติ และความสัมพนั ธข์ องการจดั ระบบในสง่ิ มีชีวติ
ทท่ี ำให้ส่งิ มีชวี ิตดำรงชวี ติ อยไู่ ด้
ผลการเรียนรู้ ขอ้ ท่ี 4 สืบค้นขอ้ มลู อธบิ ายโครงสรา้ งของคาร์โบไฮเดรต ระบกุ ลมุ่ ของคารโ์ บไฮเดรต รวมทั้ง
ความสำคญั ของคารโ์ บไฮเดรตท่มี ีต่อส่ิงมชี ีวิต
ผลการเรยี นรู้ ขอ้ ท่ี 8 สืบคน้ ขอ้ มลู และอธบิ ายปฏกิ ริ ิยาเคมที ีเ่ กดิ ขนึ้ ในสิ่งมีชวี ิต
สาระการเรียนรู้เพ่ิมเติม

1. สิ่งมีชวี ติ ทุกชนดิ ตอ้ งการสารอาหารและพลังงาน มีการเจริญเตบิ โต มีการตอบสนองต่อสิ่งเรา้ มี
การรกั ษาดุลยภาพของร่างกาย มีการสืบพนั ธุม์ ีการปรับตัวทางวิวัฒนาการ และมีการทำงานร่วมกันของ
องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบ ส่ิงเหล่านจ้ี ัดเปน็ สมบัตทิ ี่สำคญั ของสิง่ มีชีวิต

2. การจัดระบบในสง่ิ มีชวี ิตเร่ิมจากหน่วยเลก็ ไปหน่วยใหญ่ ไดแ้ ก่ เซลล์ เนอ้ื เยอื่ อวยั วะ ระบบ
อวัยวะ และสิง่ มีชีวิต ตามลำดับ
คำอธิบายรายวชิ า (ดูรายละเอยี ดจากหลักสูตร)

การศกึ ษาวิเคราะหก์ ารเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ การสังเคราะหด์ ้วยแสง การลำเลียงน้ำ ธาตุอาหาร และ
อาหารของพืช ท้ังนี้ โดยใช้การสบื เสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และ
ทักษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 การสบื คน้ ขอ้ มูลและการอภิปราย และวิเคราะห์สำเหตหุ รอื ปัจจัยท่สี ง่ ผลต่อ
ปัญหาหรอื ความต้องการ รวบรวมวิเคราะหข์ ้อมูลและแนวคดิ ทเี่ กยี่ วข้อง กบั ปัญหา ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ญั หา โดย
วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตดั สนิ ใจเลือกขอ้ มลู ที่จำเป็น นำเสนอแนวทางการแก้ปญั หาให้ผอู้ ่นื เข้าใจ วางแผน
และดำเนินการแกป้ ัญหา ทดสอบ ประเมินผล และระบขุ ้อบกพร่อง ที่เกดิ ขนึ้ พร้อมท้งั หำแนวทางการปรับปรุง
แก้ไข เพอ่ื แกป้ ญั หาและใช้เทคโนโลยไี ด้อย่างถกู ต้อง
เหมาะสม และปลอดภัย

เพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่งิ ที่เรยี นรู้ มคี วามสามารถในการตัดสินใจ
การแก้ปญั หา การนำความรูไ้ ปใช้ในชวี ติ ประจำวัน มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่ำนิยมท่ีเหมาะสม

มาตรฐานการเรียนรู้ (ดรู ายละเอยี ดจากหลกั สูตร)
-

ตัวชว้ี ัด หรอื ผลการเรยี นรู้ (ดรู ายละเอียดจากหลักสูตร) 5

1. อธบิ าย และสรปุ สมบตั ิทส่ี ำคัญของสง่ิ มีชวี ิต และความสมั พันธ์ของการจดั ระบบในส่งิ มีชีวิตที่ทำให้สิ่งมชี วี ิต

ดำรงชีวิตอยู่ได้

2. สืบคน้ ข้อมูล อธบิ ายโครงสร้างของคารโ์ บไฮเดรต ระบุกลุ่มของคาร์โบไฮเดรต รวมท้ังความสำคัญของ

คาร์โบไฮเดรตท่มี ตี อ่ สงิ่ มีชวี ติ

3. สืบค้นขอ้ มูล และอธิบายปฏิกริ ิยาเคมีทีเ่ กิดขึน้ ในสงิ่ มีชีวิต

4. ระบุปัญหาหรือความตอ้ งการในชุมชนหรือทอ้ งถน่ิ สรุปกรอบของปัญหา รวบรวม วเิ คราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่

เก่ียวข้องกบั ปญั หา

5. วเิ คราะห์แนวคิดหลกั ของเทคโนโลยี ความสัมพนั ธ์กบั ศาสตรอ์ น่ื โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์

รวมท้ังประเมนิ ผลกระทบทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ ตอ่ มนษุ ย์ สังคม เศรษฐกจิ และส่งิ แวดลอ้ ม เพ่ือเป็นแนวทางในการพฒั นา

เทคโนโลยีชมุ ชน

6. ตารางโครงสร้างรายวชิ า

ลำดับท่ี ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ ตวั ชีว้ ัด หรอื วธิ กี ารประเมิน เวลา น้ำหนกั
ผลการเรยี นรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน

1 สารอาหารจากพืช 1-3 1. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 7 30
2. สบื คน้ ขอ้ มูล/อภปิ รายกล่มุ

สอบกลางภาค 1 20

2 ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ 4-5 1. ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 11 30
ขนมไทย 2. สืบค้นข้อมูล/อภิปรายกลุม่

สอบปลายภาค 1 20

จิตพิสยั --

รวม 20 100

อตั ราส่วนคะแนน 6

คะแนนเก็บระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20 เวลา
(ชว่ั โมง)
K : P : A = 40 : 60 : …..
2
รวม 100 คะแนน 5

คะแนนเกบ็ ก่อนสอบกลางภาค = 30 คะแนน 3
2
สอบกลางภาค = 20 คะแนน 2
4
คะแนนเกบ็ กอ่ นสอบปลายภาค = 30 คะแนน

คณุ ลกั ษณะ / จิตพิสยั = - คะแนน

สอบปลายภาค = 20 คะแนน

รวม 100 คะแนน

7. การกำหนดโครงการสอนและกจิ กรรมตลอดภาคเรยี น

สัปดาห์/ หน่วยการเรียนรู้/เน้อื หา ตวั ช้วี ัด/ กิจกรรม /
แผนการ ผลการเรยี นรู้ กระบวนการเรยี นรู้
เรยี นร้ทู ่ี

1 สารอาหารจากพชื (ตอนท่ี 1) 1 1.มารู้จักสารอาหารกนั

2.การทดสอบแป้งในอาหาร

1 สารอาหารจากพืช (ตอนที่ 2) 2-3 1.รายการอาหารเพอ่ื สขุ ภาพสำหรับ

นกั เรยี น

2.เขียนคำขวญั หรือข้อความ พรอ้ ม

วาดภาพประกอบเกี่ยวกบั คณุ ค่าวิถี

ชวี ิตไทยกับการบรโิ ภคข้าว

2 ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้:ขนม 4 1.ปรศิ นาคำทาย

ไทย (ตอนท่ี 1) 2. หลกั การทางวทิ ยาศาสตร์ท่ใี ช้ใน

การทำขนม

2 ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้:ขนม 4 1.โครงการขนมไทยทฉี่ นั ชอบ

ไทย (ตอนที่ 2) 2.ปารต์ ้ขี นมไทย

2 ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้:ขนม 5 1.ทำการด์ ขนมไทยทีฉ่ ันชอบ

ไทย (ตอนที่ 3) 2.วาดภาพประกอบเกยี่ วกับคุณค่า

ชมุ ชนขนมไทย :

ภมู ปิ ัญญาไทยทางวทิ ยาศาสตร์

2 ชุมชนแห่งการเรียนรู้:ขนม 5 1. ปฏิบัตกิ ารทำขนมไทยทีฉ่ ันชอบ

ไทย (ตอนท่ี 4) 2.ตลาดนัดขนมไทย/จดั บอรด์

ประชาสมั พนั ธ์

8. แผนการวัดผลและภาระงาน 7

แนวการวดั ผล อัตราส่วน คะแนนระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค = ...80.... : ....20.....

อตั ราส่วน คะแนน K : P : A = ....40... : ...60... : ............

แผนการวดั ผล

การประเมนิ คะแนน วิธวี ัด ชนดิ ของเครอื่ งมอื ตวั ชว้ี ัด/ผล เวลาท่ใี ช้
การเรียนรขู้ อ้ ท่ี (นาท/ี ครั้ง)

กอ่ นกลางภาค 30 1.สืบค้นข้อมลู ชดุ กิจกรรม 1-3 50 นาท/ี คร้ัง

2.อภปิ รายกลุม่ วทิ ยาศาสตร์

กลางภาค 20 สอบ แบบประเมินทักษะ 1-3 60 นาที/คร้งั

การจัดการความรู้

หลงั กลางภาค 30 1.สบื คน้ ข้อมลู ชุดกิจกรรม 4-5 50 นาท/ี ครง้ั

2.อภปิ รายกลุ่ม วทิ ยาศาสตร์

คณุ ลกั ษณะ / - - - - ตลอด

จติ พสิ ัย ภาคเรยี น

ปลายภาค 20 สอบ 1.แบบทดสอบความรู้ 4-5 60 นาที/ครัง้

ความคิดทาง

วทิ ยาศาสตร์

2.แบบสอบถามคา่ นยิ ม

ต่อภูมปิ ัญญาไทยทาง

วทิ ยาศาสตร์

รวม 100 คะแนน

การกำหนดภาระงานนักเรียน

ในการเรยี นรายวิชา..วทิ ยาศาสตรส์ ร้างสรรค.์ .1..ไดก้ ำหนดใหน้ กั เรยี นทำกจิ กรรม/ ปฏบิ ัตงิ าน

(ชิ้นงาน)….8....ชิ้น ดงั นี้

ท่ี ชอื่ งาน ตัวชว้ี ัด/ผลการ ประเภทงาน กำหนดสง่
เรยี นรู้ขอ้ ท่ี กลมุ่ เดยี่ ว วนั /เดือน/ปี

1 รายงาน การทดสอบแปง้ ในอาหาร 1 24 พ.ค. 62

2 รายการอาหารเพื่อสขุ ภาพ 1 3 มิ.ย. 62

3 คำขวัญเก่ยี วกบั คณุ คา่ วถิ ชี วี ิตไทยกบั การ 2-3  28 มิ.ย. 62

บริโภคข้าว

4 โครงการขนมไทยที่ฉนั ชอบ 4 8 ก.ค. 62

5 การ์ดขนมไทย 5  12 ก.ค. 62

6 ตลาดนดั ขนมไทย/บอรด์ ประชาสัมพนั ธ์ 5  6 ก.ย. 62

หากนักเรียนขาดสง่ งาน...3...ชน้ิ หรอื ขาดส่งชนิ้ งานท่ี ...6... จะได้รบั ผลการเรียน “ร” ในรายวชิ านี้

8

ลงชอ่ื ........................................ครูผ้สู อน ลงชื่อ...........................................หัวหน้ากล่มุ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกุลรตั น์..) (นายสรุ จักริ์ แก้วม่วง.)

ลงชือ่ ........................................... ลงชอื่ ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อุทมุ สกุลรตั น.์ .) (..นายศวิ าวฒุ ิ รตั นะ..)

หวั หน้างานนเิ ทศ หัวหนา้ กลุ่มบริหารวิชาการ

ลงชอ่ื ........................................................
(...นายจงจดั จันทบ...)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่…………...1....................เรอ่ื ง..........................สารอาหารจากพืช...........................................
รายวชิ า……......วทิ ยาศาสตร์สร้างสรรค์……..1.......รหัสวิชา…......ว 31281..............ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี....4.....
กลุ่มสาระการเรียนรู.้ ...........วิทยาศาสตร์..........ปีการศกึ ษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..1...เวลา...7...ชวั่ โมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกุลรตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าพนื้ ฐานมีทง้ั มาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชวี้ ัด
รายวชิ าเพ่มิ เติมมเี ฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้)

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
สาระชวี วทิ ยา 1 เขา้ ใจธรรมชาติของสงิ่ มีชีวิต การศึกษาชีววทิ ยาและวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์สารที่

เป็นองค์ประกอบของส่งิ มชี วี ิต ปฏิกิรยิ าเคมใี นเซลลข์ องส่งิ มชี วี ิตกลอ้ งจลุ ทรรศน์ โครงสรา้ งและหน้าที่ของ
เซลล์ การลำเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์การแบง่ เซลล์ และการหายใจระดับเซลล์

1.2 ผลการเรียนรู้
1. อธิบาย และสรุปสมบตั ิท่ีสำคญั ของสิ่งมชี ีวติ และความสมั พนั ธข์ องการจดั ระบบในส่ิงมีชวี ติ ท่ีทำ

ใหส้ ่ิงมชี ีวติ ดำรงชวี ิตอยไู่ ด้
2. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างของคารโ์ บไฮเดรต ระบกุ ล่มุ ของคาร์โบไฮเดรต รวมท้ังความสำคัญ

ของคาร์โบไฮเดรตทมี่ ตี ่อสิง่ มีชีวิต
3. สบื ค้นข้อมูล และอธิบายปฏกิ ิริยาเคมีทเ่ี กดิ ขึ้นในสง่ิ มีชีวติ

2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตวั ช้วี ัดทใี่ ช้ในหนว่ ยการเรยี นร้นู เ้ี ขียนเป็นแบบความเรียง)
สิ่งมีชวี ติ ทุกชนิดต้องการสารอาหารและพลงั งาน มกี ารเจรญิ เติบโต มีการตอบสนองต่อส่งิ เรา้ มกี าร

รักษาดุลยภาพของร่างกาย มีการสืบพนั ธ์มุ กี ารปรบั ตัวทางวิวฒั นาการ และมกี ารทำงานร่วมกันของ
องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ อย่างเปน็ ระบบ สงิ่ เหลา่ น้ีจัดเปน็ สมบตั ทิ ่ีสำคัญของสิง่ มีชวี ิต โดยอาศยั ปฏกิ ริ ยิ าเคมที ี่
เกดิ ขนึ้ ในสง่ิ มีชีวติ เพื่อการเจรญิ เตบิ โต

3. สาระการเรยี นรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรยี นรู้เพมิ่ เตมิ (รายวชิ าเพม่ิ เติม)
สง่ิ มชี วี ิตทุกชนดิ ต้องการสารอาหารและพลงั งาน มีการเจริญเติบโต มกี ารตอบสนองต่อสิง่ เรา้

มีการรักษาดุลยภาพของรา่ งกาย มีการสบื พนั ธม์ุ กี ารปรบั ตวั ทางววิ ฒั นาการ และมกี ารทำงานรว่ มกนั ของ
องค์ประกอบตา่ ง ๆ อย่างเป็นระบบ สิ่งเหล่าน้ีจัดเปน็ สมบัตทิ ่ีสำคัญของสิง่ มีชวี ติ

คารโ์ บไฮเดรตประกอบดว้ ย ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซเิ จน แบ่งตามขนาดโมเลกลุ ออกได้
เปน็ 3 กลุ่ม คือ มอโนแซก็ คาไรด์ ไดแซ็กคาไรด์ และพอลแิ ซก็ คาไรด์การทดสอบแป้ง ทดสอบโดยใช้

1

สารละลายไอโอดีน หยดลงบนอาหารทีน่ ำมาทดสอบ สารละลายไอโอดนี จะเปลี่ยนสจี ากสนี ำตาลเป็นสมี ่วง

เกือบดำ หรือสมี ว่ งแกมน้ำเงิน

เมแทบอลิซึมเป็นปฏกิ ริ ิยาเคมีท่ีเกิดข้นึ ภายในเซลล์ของสง่ิ มีชวี ิต ปฏกิ ิริยาเคมี ประกอบดว้ ย

ปฏกิ ริ ิยาคายพลงั งาน และปฏิกริ ิยาดดู พลงั งาน ปฏิกิริยาเคมเี หล่าน้จี ะดำเนนิ ไปไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ จำเป็นต้อง

อาศยั เอนไซม์ช่วยเรง่ ปฏกิ ิรยิ า

3.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิน่ (ถ้าในคำอธิบายรายวชิ าพดู ถึงหลักสูตรท้องถิ่นให้ใส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน (เลือกเฉพาะขอ้ ทเี่ กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ ี้)

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคดิ

 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ

 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (เลอื กเฉพาะข้อท่เี กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ ้)ี

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซอื่ สัตยส์ จุ รติ

 3. มวี ินัย  4. ใฝ่เรยี นรู้

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุง่ มน่ั ในการทำงาน

 7. รักความเป็นไทย  8. มีจิตสาธารณะ

6. ดา้ นคณุ ลักษณะของผู้เรยี นตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวิชาการ  2. สอื่ สารสองภาษา  3. ลำ้ หนา้ ทางความคิด

 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  5. รว่ มกันรบั ผิดชอบต่อสังคมโลก

7. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )

 ทักษะดา้ นการคดิ อย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทกั ษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความรว่ มมอื การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทักษะด้านการสอื่ สาร สารสนเทศและร้เู ท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร (Computing and ICT

Literacy)

 ทักษะอาชีพ และทกั ษะการเรียนรู้ (Career and Learning)

 ความมีเมตตา (วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

2

8. บรู ณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลมุ่ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรยี นคอื

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลักความมเี หตุผล : ให้นกั เรยี นสร้างสรรค์ผลงานและเกดิ ทักษะการปฏิบตั ิ , การเลือกบรโิ ภคอาหาร

ขา้ วของเครื่องใช้ในชวี ิตประจำวันท่มี ีคณุ ค่า ปลอดภยั เหมาะสมกบั ความต้องการของรา่ งกายไดอ้ ยา่ งคุม้ คา่

3. หลักภมู ิคุม้ กนั : ใหน้ กั เรียนเกดิ ทักษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก , รู้จกั ปฏบิ ตั ิตนเป็นผูบ้ ริโภคท่ี

ดเี พอ่ื ไม่กอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบต่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและสังคม

4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานท่ีจะทำก่อนแลว้ คอ่ ยลงมอื ทำอยา่ งระมดั ระวงั , มีความรูค้ วาม

เขา้ ใจในการเลอื กบริโภคอาหาร ในชวี ติ ประจำวันได้เหมาะสมกับความตอ้ งการของร่างกาย และฐานะทาง

เศรษฐกิจของครอบครัว

5. เงือ่ นไขคณุ ธรรม : อดทนท่จี ะทำงาน และมีความขยนั ท่จี ะทำงานใหอ้ อกมาได้ดที ่ีสุด , มีวินยั ในการ

เลือกอุปโภคบริโภค

9. ชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการเรยี นรู้ ช้ินงาน ภาระงาน

1 - แบบสำรวจตลาดขายอาหารในชุมชน - การอภิปรายแนวทางการสนับสนุนให้

เพือ่ สำรวจแหลง่ ซอื้ อาหารสขุ ภาพของ โรงเรียนและชุมชน มีศักยภาพในการ

นกั เรียน บริหารจัดการด้านอาหาร โภชนาการใน

- แบบสำรวจร้านขายผักและผลไม้ใน โรงเรียนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

โร ง เรี ย น เพ่ื อ ส ำ ร ว จ จ ำ น ว น ร้ า น แ ล ะ

คุณภาพผักผลไม้

2 - รายงานผลการการทดสอบแป้งใน - การวิเคราะห์อาหารและการนำเสนอ

อาหารและการนำเสนอ การเลอื กรับประทานอาหารจำพวกแป้ง

3 - คดิ รายการอาหารเพ่อื สุขภาพ -การอภิปราย เร่ือง การบริโภคอาหาร

อย่างชาญฉลาด

- คำขวัญ พ ร้อมวาดภาพ ประกอบ

เก่ียวกับคุณ ค่าวิถีชีวิตไทยกับการ

บรโิ ภคขา้ ว

10. การวัดประเมินผล
10.1การวัดและประเมินผลชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด
วิธีการ
1.การสังเกตการณ์

3

2.การใชช้ ดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบง่ ชี้ 3.การวดั ประเมนิ การปฏบิ ัติ

เครื่องมอื

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมนิ การปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรม ผ่านตง้ั แต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1

รายการถอื วา่ ไม่ผา่ น

10.2การวดั และประเมนิ ผลระหว่างการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรขู้ อง

หนว่ ยการเรียนรนู้ ้ี)

สิ่งท่ีตอ้ งการวัด วิธีวดั ผล เครือ่ งมือวดั ผล เกณฑก์ ารประเมิน

1. ความร้เู ก่ียวกบั -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมนิ การ - นักเรยี นไดค้ ะแนน

- คณุ สมบตั ิของผบู้ รโิ ภคทดี่ ี ความคิดเห็น อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขึน้ ไป
- พฤตกิ รรมของผู้บรโิ ภค -การตอบคำถาม คิดเห็น หรือรอ้ ยละ 80

ที่บกพรอ่ ง -การตรวจผลงาน - แบบประเมนิ การ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์
- คุณคา่ และประโยชน์ของ นกั เรยี น ตรวจผลงานนกั เรียน - นกั เรยี นได้คะแนน
ผบู้ ริโภคทร่ี ู้เท่าทันการบรโิ ภคท่ี ประเมนิ ผลงาน
มตี อ่ ตนเองครอบครัว และ 13 คะแนนขน้ึ ไป
สังคม หรือร้อยละ 80

ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

2.ทักษะกระบวนการคิด และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมนิ การ -นักเรียนไดค้ ะแนน

ทักษะกระบวนการกลุม่ ความคิดเหน็ อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขึ้นไป

คดิ เห็น หรอื ร้อยละ 80 ถอื ว่า

- สงั เกตพฤติกรรมการ - แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์

ทำงานกลุ่ม พฤตกิ รรมการ

ทำงานกลุ่ม

3. คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ - สงั เกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน - นักเรยี นได้คะแนน

และสมรรถนะผ้เู รียน อปุ โภคบริโภค ของ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประเมนิ คณุ ลักษณะ

- วินยั ในการใช้จ่าย นักเรยี นจากการ ประสงค์ อันพงึ ประสงค์

- คา่ นยิ มในการเลือกอุปโภค อภิปราย แสดงความ - แบบประเมิน 26 คะแนนขน้ึ ไป

บริโภคอาหารข้าวของเครือ่ งใช้ คิดเห็นและพฤติกรรม สมรรถนะนักเรียน หรือรอ้ ยละ 80

และขอ้ มลู ข่าวสารในชีวิต ในชีวติ ประจำวันของ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

4

ประจำวนั ท่เี ปน็ ประโยชน์ นักเรยี น - นกั เรยี นไดค้ ะแนน
ปลอดภยั และคุม้ ค่า การประเมนิ สมรรถนะ
- การเลอื กอุปโภคบรโิ ภค ของ 29 คะแนนข้ึนไป
ไทยหรือสิง่ ท่มี ีอย่ใู นชุมชน หรอื ร้อยละ 80
ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

11. กิจกรรมการเรยี นรู้
ชวั่ โมงที่ 1 (สัปดาห์ท่ี 1)
1. ขั้นต้งั ประเด็นปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครแู จง้ เป้าหมายการเรยี นรใู้ ห้นกั เรียนทราบว่า ในหน่วยการเรียนรนู้ ้ีนักเรยี นจะได้ใชก้ ระบวนการ

กลุ่มในการเรียนเรอื่ งสารอาหารจากพชื
1.2 ครูชวนผูเ้ รยี นสนทนาเกย่ี วกบั พืชท่ีเรารับประทานเป็นอาหารหลกั คอื ข้าว ขา้ วให้สารอาหารท่ีสำคญั

คอื คารโ์ บไฮเดรตในทกุ ๆ วันเราจะพบอาหารท่ปี รุงจากขา้ วมากมายหลากหลายชนิด
1.3 ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันตง้ั ประเดน็ คำถามเก่ียวกบั ประโยชน์จากข้าว
1.4 ครนู ำสนทนา ซักถาม เกยี่ วกบั การการบริโภคและอปุ โภคในชีวิตประจำวันของนักเรียนแต่ละคน

วา่ นักเรยี นมคี ่านิยมในการบริโภคอาหารจำพวกแป้ง และข้อมลู ข่าวสารในชีวติ ประจำวนั อยา่ งไรบา้ งตาม
ประเดน็ ต่อไปนี้

- ลกั ษณะของอาหาร และข้อมูลข่าวสารที่บริโภค
- แหลง่ ของอาหาร และขอ้ มูลขา่ วสารทีบ่ รโิ ภค
- งบประมาณหรือค่าใช้จ่ายท่ใี ชใ้ นการบรโิ ภค
- ปญั หาที่เคยไดร้ ับจากการบริโภคอาหารจำพวกแปง้
1.5 ผู้เรียนร่วมกันเขยี นแผนผงั ตลาดขายอาหารในชมุ ชนและสำรวจรา้ นขายผกั และผลไมใ้ นโรงเรียน

ชัว่ โมงท่ี 2-3 (สัปดาห์ท่ี 2-3)
2. ข้นั สบื ค้นความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครใู ห้นักเรียนร่วมกนั อภปิ รายว่านอกจากข้าวแลว้ ยงั มอี าหารชนิดใดบ้างท่ีมีแป้งเปน็ องค์ประกอบ
2.2 ครูกบั นักเรียนสนทนาและแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับอาหารจำพวกแปง้ ท่ีชอบรับประทาน
2.3 แบ่งกลุ่มนกั เรยี น กลุ่มละ 5-6 คน ทดสอบแป้งในอาหาร การทดสอบแปง้ ทดสอบโดยใช้สารละลาย

ไอโอดีน หยดลงบนอาหารทีน่ ำมาทดสอบ สารละลายไอโอดนี จะเปลยี่ นสีจากสีนำตาลเป็นสมี ว่ ง
เกอื บดำ หรือสีม่วงแกมน้ำเงนิ
2.4 นักเรยี นทำการสบื ค้นข้อมูลเก่ียวกับประโยชนข์ องสารอาหาร

5

ช่วั โมงท่ี 4-5 (สปั ดาห์ที่ 4-5)
3. ขน้ั สรปุ องค์ความรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ครูและนักเรียนร่วมกนั สรุปถึงเทคนิควธิ ีการเลือกบริโภคอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตท่ถี กู ตอ้ ง

ปลอดภยั พร้อมทั้งเนน้ ยำ้ ให้นกั เรียนนำไปปฏิบัตใิ นชีวิตประจำวัน โดยช้ีให้เหน็ ถงึ คณุ ค่าและประโยชน์ของ
การรเู้ ทา่ ทนั การบรโิ ภคท่ีจะเกิดกับตัวนักเรียน ครอบครัว และสงั คมสว่ นรวม จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นแต่ละคน
บันทกึ ข้อสรุปของการเลือกอุปโภคบริโภคที่ถกู ต้อง ปลอดภยั รวมทัง้ คณุ ค่าและประโยชนข์ องการรูเ้ ทา่ ทัน
การบรโิ ภค

3.2 นักเรียนระดมสมองเขียนคำขวญั หรอื ขอ้ ความ พรอ้ มวาดภาพประกอบเกย่ี วกับคณุ ค่าวถิ ีชวี ิตไทยกบั
การบริโภคขา้ ว

ชวั่ โมงที่ 6-7 (สัปดาห์ท่ี 6-7)
4. ข้ันการสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 นกั เรยี นแต่ละกล่มุ ทำกจิ กรรมการเรยี นรู้ ตามรปู แบบ วิธกี ารและข้ันตอนทกี่ ำหนดในชุดกิจกรรม
4.2 นกั เรียนตรวจสอบความเรยี บรอ้ ยของผลงานและนำเสนอผลการเรียนรู้จากชิ้นงาน
5. ข้นั การบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)

นกั เรียนรว่ มกนั จดั นทิ รรศการคำขวัญหรอื ข้อความ พร้อมวาดภาพประกอบเกี่ยวกับคณุ ค่าวถิ ีชีวติ
ไทยกบั การบริโภคข้าว

12. สือ่ การเรยี นรู้/แหล่งเรียนรู้

12.1 ส่ือการเรียนรู้

ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตรเ์ ทคนคิ แอทลาสเพื่อส่งเสริมศกั ยภาพชุมชนแหง่ การเรียนรู้

12.2 แหล่งเรียนรู้

1) อินเตอรเ์ นต็ 2) ห้องสมุด

13. บนั ทึกหลังการจัดการเรยี นรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- คุณสมบตั ิของผ้บู รโิ ภคท่ีดี ......................................................................................
- พฤติกรรมของผู้บริโภคทบ่ี กพร่อง ......................................................................................
- คุณคา่ และประโยชนข์ องผบู้ ริโภคที่ ......................................................................................

รู้เท่าทันทม่ี ีตอ่ ตนเอง ครอบครวั และ ......................................................................................
สงั คม

2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคิด ......................................................................................

6

- ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านิยม ......................................................................................

อันพึงประสงค์ : ......................................................................................

- มวี นิ ยั ......................................................................................

- ใฝเ่ รยี นรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ......................................................................................

- รกั ความเปน็ ไทย ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

4. ปัญหาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

5. วิธีแก้ปญั หา

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

ลงชอ่ื ........................................ครผู ้สู อน ลงชื่อ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกลุ รตั น์..) (นายสรุ จกั ริ์ แกว้ ม่วง.)

ลงชื่อ........................................... ลงชอื่ ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกลุ รตั น.์ .) (..นายศวิ าวฒุ ิ รัตนะ..)

หัวหนา้ งานนเิ ทศ หวั หน้ากลุ่มบรหิ ารวิชาการ

ลงชือ่ ........................................................
(...นายจงจัด จันทบ...)

ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม

7

แบบประเมนิ การอภิปรายแสดงความคดิ เห็น
วิชา .......................................................................................................... ชั้น ………………………………
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ..............................กิจกรรม ……………………………………………………………………….…

คำชีแ้ จง : ให้ประเมินจากการสังเกตการรว่ มอภิปรายในระหวา่ งเรยี น และการปฏิบตั กิ ิจกรรมกลมุ่

โดยให้ระดับคะแนนลงในตารางที่ตรงกบั พฤตกิ รรมของผเู้ รยี น

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ตอ้ งปรบั ปรุง

รวม สรปุ ผลการ

รายการประเมนิ 15 ประเมิน
คะแน

เลขท่ี ชือ่ -นามสกุล น

การแสดงความ คะแนน ผา่ น ไม่
ิคดเ ็หน ทท่ี ำได้ ผา่ น
ยอมรับ ัฟงความ
ิคดเ ็หนของ ู้ผ ่ือน
ตรงประเ ็ดน
สมเห ุตสมผล
มีความเ ื่ชอมั่นใน
การแสดงออก

ลงช่ือ ................................................................................. ผู้ประเมิน
เกณฑก์ ารประเมนิ : นกั เรียนได้คะแนน 12 คะแนนข้ึนไป ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

8

แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

คำช้ีแจง : ใหส้ ังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ ลงในชอ่ งทีต่ รง
กบั ระดบั คะแนน

คณุ ลักษณะอนั พงึ รายการที่ประเมิน ระดบั คะแนน
ประสงคด์ า้ น 321

3.1 ตรงตอ่ เวลา

1. มีวนิ ยั 3.2 ปฏบิ ตั ิงานเรยี บร้อยเหมาะสม

3.3 ปฏิบตั ิตามข้อตกลง

4.1 กระตือรอื รน้ ในการแสวงหาขอ้ มูล

2. ใฝ่เรียนรู้ 4.2 มีการจดบันทกึ ความรูอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ

4.3 สรปุ ความร้ไู ดอ้ ย่างมเี หตุผล

5.1 ใช้วสั ดุ สิง่ ของ เครื่องใช้ อย่างประหยดั

3. อยู่อย่างพอเพยี ง 5.2 ใช้อุปกรณ์การเรยี นอยา่ งประหยัดและรคู้ ุณค่า

5.3 ใช้จ่ายอยา่ งประหยัดและมีการเกบ็ ออม

7.1 มีจติ สำนกึ ในการอนรุ กั ษ์วฒั นธรรมและภมู ิปัญญาไทย
4. รกั ความเป็นไทย

7.2 เห็นคณุ ค่าและปฏิบัติตนตามวฒั นธรรมไทย

ลงชอื่ ................................................................................. ผู้ประเมิน
/ /......................... ......................... .............................

เกณฑก์ ารให้คะแนน : ให้ 3 คะแนน
- พฤตกิ รรมท่ีปฏบิ ัติชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน
- พฤตกิ รรมทปี่ ฏบิ ัตชิ ัดเจนและบอ่ ยครั้ง ให้ 1 คะแนน
- พฤติกรรมทป่ี ฏิบัตบิ างครงั้

9

แบบประเมินผลงานผ้เู รยี น

ชือ่ - นามสกุล .................................................................................. ชั้น …………………........
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ................................ กจิ กรรม ……………….………………......................

คำช้ีแจง: ให้ผปู้ ระเมนิ ขีด ✓ ลงในช่องท่ตี รงกับระดับคะแนน

ประเดน็ ที่ประเมิน ผู้ประเมิน

ตนเอง เพื่อน ครู

432143214321

1. ตรงจดุ ประสงค์ท่กี ำหนด

2. มีความถกู ตอ้ งสมบูรณ์

3. มคี วามคดิ สร้างสรรค์

4. มีความเป็นระเบียบ

รวม
รวมทุกรายการ

เฉล่ีย

ผู้ประเมนิ (ตนเอง)........................................................... ผ้ปู ระเมิน .......................................................... (เพ่อื น)

ผปู้ ระเมนิ ................................................................ (คร)ู

10

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนผลงาน

ประเด็นท่ีประเมนิ คะแนน

1. ผลงานตรงกบั 4 3 2 1
จุดประสงค์ท่ีกำหนด
ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานไม่
2. ผลงานมคี วามถูกต้อง กบั จดุ ประสงค์ กบั จดุ ประสงค์ กับจุดประสงค์ สอดคลอ้ งกบั
สมบูรณ์ ทกุ ประเด็น เปน็ สว่ นใหญ่ บางประเด็น จดุ ประสงค์
เนอื้ หาสาระของ เนือ้ หาสาระของ เนอื้ หาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ
3. ผลงานมคี วามคิด ผลงานถูกตอ้ ง ผลงานถูกต้อง ผลงานถกู ตอ้ งเป็น ผลงานไม่ถูกตอ้ ง
สร้างสรรค์ ครบถว้ น เปน็ สว่ นใหญ่ บางประเด็น เป็นสว่ นใหญ่
ผลงานแสดงออก ผลงานมีแนวคดิ ผลงานมีความ ผลงานไม่แสดง
4. ผลงานมคี วามเปน็ ถึงความคิด แปลกใหมแ่ ตย่ งั นา่ สนใจ แตย่ งั ไม่ แนวคดิ ใหม่
ระเบยี บ สรา้ งสรรค์ ไมเ่ ปน็ ระบบ มแี นวคิดแปลก
แปลกใหม่ ใหม่ ผลงานส่วนใหญ่
และเป็นระบบ ผลงานสว่ นใหญม่ ี ไม่เป็นระเบยี บ
ผลงานมคี วามเปน็ ความเปน็ ผลงานมีความ และมขี ้อ
ระเบียบแสดงออก ระเบียบแตย่ ังมี เปน็ ระเบยี บแตม่ ี บกพร่องมาก
ถงึ ความประณีต ข้อบกพร่อง ข้อบกพรอ่ ง
เลก็ นอ้ ย บางส่วน

เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ

นกั เรียนได้คะแนน 13 คะแนนขึ้นไป หรือรอ้ ยละ 80 ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

11

แบบประเมินพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ

กลุ่ม ..........................................................................................................

สมาชิกในกลมุ่ 1. 2....................................................................... ......................................................................

3. 4....................................................................... ......................................................................

5. 6....................................................................... ......................................................................

คำช้แี จง: ให้นักเรยี นทำเครือ่ งหมาย ✓ ในชอ่ งที่ตรงกบั ความเปน็ จริง

พฤตกิ รรมที่สังเกต คะแนน 1
32

1. มสี ว่ นร่วมในการแสดงความคิดเห็น

2. มคี วามกระตือรอื รน้ ในการทำงาน
3. รบั ผิดชอบในงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย
4. มีข้ันตอนในการทำงานอย่างเป็นระบบ
5. ใช้เวลาในการทำงานอยา่ งเหมาะสม

รวม

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

พฤติกรรมท่ีทำเปน็ ประจำ ให้ 3 คะแนน
พฤตกิ รรมท่ีทำเปน็ บางครงั้ ให้ 2 คะแนน
พฤตกิ รรมทีท่ ำนอ้ ยคร้งั ให้ 1 คะแนน

เกณฑก์ ารให้คะแนน

ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ
13-15 ดี
8-12 ปานกลาง
5-7 ปรบั ปรงุ

12

แบบประเมนิ สมรรถนะผเู้ รียน 5 ด้าน

คำชแ้ี จง : ใหส้ งั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ ลงในช่องทต่ี รง
กบั ระดับคะแนน

สมรรถนะที่ประเมิน ระดับคะแนน
321
1. ความสามารถในการสอื่ สาร
1.1 มคี วามสามารถในการรบั – สง่ สาร
1.2 มีความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจของตนเอง
โดยใชภ้ าษาอยา่ งเหมาะสม
1.3 ใช้วธิ ีการสือ่ สารที่เหมาะสม

2. ความสามารถในการคิด
2.1 มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ เพอ่ื การสร้างองคค์ วามรู้
2.2 มีความสามารถในการคดิ เปน็ ระบบ เพอ่ื การสรา้ งองคค์ วามรู้

3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
3.1 แกป้ ัญหาโดยใช้เหตุผล
3.2 แสวงหาความรมู้ าใชใ้ นการแก้ปญั หา
3.3 ตดั สนิ ใจโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่นื

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
4.1 ทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อ่นื ดว้ ยความสัมพันธ์อันดี
4.2 มวี ธิ ีแกไ้ ขความขดั แยง้ อย่างเหมาะสม

5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
5.1 เลือกใช้ขอ้ มูลในการพัฒนาตนเองอย่างเหมาะสม
5.2 เลอื กใช้ขอ้ มูลในการทำงานและอยู่รว่ มกับผ้อู ่นื อย่างเหมาะสม

ลงช่ือ ................................................................................. ผูป้ ระเมิน
/ /........................ ......................... .............................

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : ให้ 3 คะแนน
- พฤตกิ รรมที่ปฏิบตั ชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน
- พฤติกรรมทปี่ ฏบิ ัติชัดเจนและบอ่ ยคร้ัง ให้ 1 คะแนน
- พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิบางคร้งั

13

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ท่ี…………...2....................เรื่อง..........................ชมุ ชนแหง่ การเรียนรขู้ นมไทย............................
รายวชิ า……......วิทยาศาสตรส์ ร้างสรรค์……..1.......รหัสวิชา…......ว 31281..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....4.....
กลุม่ สาระการเรียนร.ู้ ...........วทิ ยาศาสตร์..........ปีการศกึ ษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..1...เวลา...11...ช่วั โมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้ (รายวิชาพื้นฐานมีทง้ั มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้วี ดั
รายวิชาเพิ่มเติมมเี ฉพาะมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละผลการเรยี นรู)้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
สาระชีววทิ ยา 1 เข้าใจธรรมชาติของสง่ิ มีชวี ติ การศกึ ษาชวี วิทยาและวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์สารที่

เปน็ องคป์ ระกอบของสง่ิ มีชวี ิต ปฏกิ ิรยิ าเคมใี นเซลลข์ องส่ิงมชี วี ิตกล้องจุลทรรศน์ โครงสร้างและหนา้ ทขี่ อง
เซลล์ การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลลก์ ารแบง่ เซลล์ และการหายใจระดบั เซลล์

1.2 ผลการเรียนรู้
4. ระบุปญั หาหรือความต้องการในชมุ ชนหรอื ทอ้ งถิ่น สรุปกรอบของปญั หา รวบรวม วิเคราะห์

ขอ้ มูลและแนวคดิ ท่เี กย่ี วขอ้ งกับปญั หา
5. วเิ คราะห์แนวคิดหลกั ของเทคโนโลยี ความสมั พันธ์กบั ศาสตรอ์ ืน่ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือ

คณิตศาสตร์ รวมทั้งประเมินผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนต่อมนษุ ย์ สงั คม เศรษฐกิจ และสิง่ แวดลอ้ ม เพื่อเป็น
แนวทางในการพฒั นาเทคโนโลยีชมุ ชน

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากตวั ช้วี ัดทใ่ี ช้ในหน่วยการเรยี นร้นู เี้ ขยี นเปน็ แบบความเรยี ง)
ชุมชนไทยนยิ มนำขา้ วมาแปรรปู เป็นผลติ ภัณฑ์มากมาย ไมว่ า่ จะเปน็ อาหารคาว และขนมต่างๆ

บรรพบุรษุ ได้สะสมองค์ความรู้ และสบื ทอดการทำอาหารและขนมตา่ งๆ จากขา้ วมากมาย เชน่ การทำขนม
เทยี น ขนมตาล ข้าวเหนยี วปิง้ เป็นต้น

การนำหลักของเทคโนโลยี มาสมั พันธ์กบั ศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรอื คณิตศาสตร์ รวมทั้ง
ประเมินผลกระทบทีจ่ ะเกดิ ขึ้นต่อมนษุ ย์ สังคม เศรษฐกิจ และสงิ่ แวดล้อม เพ่ือเปน็ แนวทางในการพัฒนา
เทคโนโลยีชมุ ชน

3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรยี นรเู้ พิ่มเติม (รายวิชาเพิม่ เติม)
การพฒั นาชุมชนตอ้ งเริม่ จากการพฒั นาคน คือ ให้คนในชุมชนมคี วามรโู้ ดยจัดการเรียนรใู้ หค้ นใน

ชุมชนมีความรทู้ ี่สอดคลอ้ งกับวิถีการดำเนินชวี ติ ของบคุ คล สมั พนั ธ์กับปจั จยั ต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับการดำเนิน
ชีวิต เพอื่ มุ่งพฒั นาคนอยา่ งเต็มศกั ยภาพใหม้ คี วามรู้ ทกั ษะ และประสบการณ์อยา่ งเพียงพอตอ่ การดำรงชวี ติ

14

3.2 สาระการเรียนรทู้ ้องถนิ่ (ถา้ ในคำอธิบายรายวิชาพดู ถงึ หลักสตู รท้องถ่ินให้ใส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น (เลือกเฉพาะข้อทีเ่ กิดในหนว่ ยการเรยี นรูน้ )ี้

 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร  2. ความสามารถในการคดิ

 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ท่เี กิดในหนว่ ยการเรียนรนู้ ้ี)

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซือ่ สตั ยส์ ุจรติ

 3. มีวินยั  4. ใฝ่เรยี นรู้

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุง่ มน่ั ในการทำงาน

 7. รกั ความเปน็ ไทย  8. มจี ิตสาธารณะ

6. ด้านคุณลักษณะของผู้เรยี นตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวชิ าการ  2. สอ่ื สารสองภาษา  3. ล้ำหน้าทางความคิด

 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  5. รว่ มกันรับผดิ ชอบต่อสังคมโลก

7. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คอื การเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )

 ทกั ษะดา้ นการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทกั ษะดา้ นความเข้าใจความตา่ งวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะดา้ นความรว่ มมอื การทำงานเป็นทมี และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทักษะด้านการส่ือสาร สารสนเทศและรู้เทา่ ทันสือ่ (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (Computing and ICT

Literacy)

 ทักษะอาชีพ และทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)

 ความมีเมตตา (วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

8. บรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลมุ่ ให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในหอ้ งเรียนคือ

ประมาณกล่มุ ละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมเี หตุผล : ใหน้ กั เรยี นสรา้ งสรรคผ์ ลงานและเกดิ ทกั ษะการปฏบิ ตั ิ , สามารถจดั แบ่งประเภท

ขนมไทยตามลกั ษณะของเคร่อื งปรุง ลกั ษณะกรรมวิธใี นการทำ และลกั ษณะการหุงต้มได้ 7 ประเภท

15

3. หลักภมู ิคุม้ กนั : ให้นักเรยี นเกดิ ทักษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก , ร้จู ักปฏบิ ัติตนเป็นผู้บริโภคที่

ดีเพ่อื ไม่ก่อให้เกดิ ผลกระทบตอ่ สุขภาพของตนเอง ครอบครัวและสงั คม

4. เงอ่ื นไขความรู้ : การวางแผนงานท่จี ะทำกอ่ นแล้วค่อยลงมอื ทำอยา่ งระมัดระวงั , ภมู ิปญั ญาไทย

ทางวทิ ยาศาสตร์ท่ีชาวบ้านไดเ้ ข้าใจ และใช้ประโยชนก์ ันมานาน,วิเคราะห์ภมู ปิ ญั ญาในการพฒั นาขนม และ

หลักการทางวิทยาศาสตร์ทีใ่ ช้

5. เง่อื นไขคุณธรรม : อดทนทจี่ ะทำงาน และมีความขยนั ทจ่ี ะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ที สี่ ุด , มวี นิ ัยในการ

เลือกวตั ถดุ ิบ อุปกรณ์ และระยะเวลา

9. ชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการเรียนรู้ ชิน้ งาน ภาระงาน

4 - โครงการขนมไทยที่ฉันชอบ - วิเคราะห์ภูมิปัญญาในการพัฒนาขนม

- เขียนข้อความแสดงความภาคภูมิใจ และหลักการทางวทิ ยาศาสตร์ทีใ่ ช้

ในการทำโครงการขนมไทยทีฉ่ นั ชอบ

5 - การ์ดขนมไทย - สรุปความรู้ทางวิทยาศาสตร์ท่ีได้จาก
โครงการขนมไทยทฉี่ นั ชอบ
5 - ตลาดนัดขนมไทย - อภิปรายถึงประสบการณ์ที่ได้รับจาก
- บอรด์ ประชาสัมพันธ์ การลงมือปฏบิ ัติการขนมไทยเพ่อื ขาย

10. การวัดประเมนิ ผล

10.1การวดั และประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ กี าร

1.การสงั เกตการณ์

2.การใชช้ ดุ กิจกรรมวิทยาศาสตรร์ อ่ งรอยบ่งช้ี 3.การวัดประเมินการปฏบิ ัติ

เครอ่ื งมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรม ผา่ นตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผา่ น ผ่าน 1

รายการถอื ว่า ไม่ผ่าน

10.2การวัดและประเมนิ ผลระหวา่ งการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรยี นรูข้ อง

16

หน่วยการเรยี นรนู้ ้)ี วธิ วี ัดผล เครอ่ื งมอื วัดผล เกณฑก์ ารประเมนิ
สิ่งทต่ี ้องการวัด - นกั เรยี นได้คะแนน
-การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมินการ 12 คะแนนขนึ้ ไป
1. ความร้เู กี่ยวกับ หรอื รอ้ ยละ 80
ความคดิ เห็น อภิปรายแสดงความ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
- สารอาหาร และคุณค่าทาง - นกั เรียนไดค้ ะแนน
โภชนาการของขนมไทยท่ีฉนั -การตอบคำถาม คิดเหน็ ประเมินผลงาน
ชอบ 13 คะแนนขึ้นไป
- การคำนวณวัตถุดิบ อุปกรณ์ -การตรวจผลงาน หรือร้อยละ 80
และระยะเวลาขนมไทยที่ฉัน ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
ชอบ ให้เหมาะสม นักเรยี น - แบบประเมินการ -นกั เรยี นไดค้ ะแนน
12 คะแนนข้ึนไป
ตรวจผลงานนักเรียน หรือรอ้ ยละ 80 ถือวา่
ผ่านเกณฑ์
2.ทักษะกระบวนการคิด และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ
- นักเรียนได้คะแนน
ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ความคดิ เหน็ อภิปรายแสดงความ ประเมินคุณลกั ษณะ
อนั พึงประสงค์
คดิ เหน็ 26 คะแนนขนึ้ ไป
หรอื รอ้ ยละ 80
- สังเกตพฤตกิ รรมการ - แบบประเมนิ ถือว่าผ่านเกณฑ์
- นักเรียนไดค้ ะแนน
ทำงานกลมุ่ พฤติกรรมการ การประเมินสมรรถนะ
29 คะแนนขึ้นไป
ทำงานกล่มุ หรอื ร้อยละ 80
ถือวา่ ผ่านเกณฑ์
3. คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ - สงั เกตค่านิยมในการ - แบบประเมนิ

และสมรรถนะผู้เรียน อปุ โภคบริโภค ของ คณุ ลักษณะอันพงึ

- วนิ ยั ในการใช้จา่ ย นักเรียนจากการ ประสงค์

- ค่านยิ มในการเลอื กวัตถุท่ี อภิปราย แสดงความ - แบบประเมนิ

เป็นประโยชน์ ปลอดภยั และ คดิ เห็นและพฤติกรรม สมรรถนะผเู้ รยี น

คุ้มค่า ในชวี ติ ประจำวนั ของ - แบบทดสอบความรู้

- การเลือกวัตถุดบิ ของไทย ผเู้ รยี น ความคิดทาง

หรือส่ิงทม่ี ีอยใู่ นชุมชนมี วทิ ยาศาสตร์

ความภูมใิ จตอ่ ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน - แบบสอบถาม

ของตนเอง คา่ นิยมตอ่ ภูมปิ ัญญา

ไทยทางวทิ ยาศาสตร์

11. กิจกรรมการเรยี นรู้
ช่ัวโมงที่ 1 (สัปดาห์ที่ 8)
1. ข้ันตง้ั ประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)

17

1.1 ครกู ระตุ้นให้นักเรียนสนใจด้วยปริศนาคำทาย นกั เรียนทราบไหมว่าฉัน คอื อะไร?

- เฉลยปริศนาคำทาย

1.ข้าวหลาม 2. ขนมชั้น

3. ข้าวเมา่ 4. ขนมเทียน

1.2 ครูชวนผเู้ รยี นสนทนาเกยี่ วกบั ความรู้และวธิ ีการทำขนมจากบรรพบุรุษมาจนถงึ ปัจจุบันน้ที ำให้เราได้

เรยี นรูถ้ ึงวฒั นธรรมและภูมิปญั ญาการพฒั นาผลติ ภัณฑ์ขนมไทยให้เปน็ ทีร่ จู้ กั ของชาตติ ่างๆภูมปิ ัญญาขนมไทย

สามารถจัดแบง่ ประเภทขนมไทยตามลกั ษณะของเครือ่ งปรุง ลกั ษณะกรรมวิธใี นการทำ และลกั ษณะการหุงตม้

ได้ 7 ประเภท

1.3 นกั เรยี นทำกิจกรรมในชดุ กิจกรรมเทคนคิ แอทลาสเพือ่ ส่งเสรมิ ศักยภาพชุมชนแหง่ การเรียนรู้

- ให้นกั เรยี นใสเ่ ครือ่ งหมาย  หน้าชือ่ ขนมท่ีนกั เรียนเคยเหน็ หรอื รบั ประทาน

1.4 ครนู ำสนทนา ซกั ถาม เก่ยี วกบั ขนมไทยทนี่ ักเรยี นชอบรบั ประทาน และเพราะเหตใุ ดถึงชอบ

รับประทาน

1.5 นักเรยี นศึกษา วิธีการ และอปุ กรณใ์ นการใช้ทำขนมตาล ขนมเทยี น ข้าวเหนียวปิ้งจากชดุ กจิ กรรม

เทคนิคแอทลาสเพ่ือส่งเสรมิ ศกั ยภาพชมุ ชนแห่งการเรียนรู้

ชว่ั โมงท่ี 2-3 (สัปดาห์ที่ 9-10)
2. ขั้นสืบค้นความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครใู ห้นกั เรยี นร่วมกนั ดวู ิธกี ารทำขนมตาล ขนมเทียน ขา้ วเหนียวปิ้งจากส่อื อนิ เตอร์เน็ต
2.2 ครกู บั นกั เรียนสนทนาและแสดงความคิดเห็นเก่ยี วกบั ภมู ปิ ญั ญาขนมตาลคือ การรูจ้ ักนำผลตาลทม่ี ี
เน้อื ข้างในสีเหลือง มีกล่ินหอมมาทำขนมรบั ประทาน
2.3 แบง่ กลุม่ นกั เรียน กล่มุ ละ 5-6 คน อธิบายหลักการทางวทิ ยาศาสตรท์ ใ่ี ช้ในการทำขนม เพอ่ื ใหไ้ ด้
คำตอบดังนี้

- การทำ ขนมตาลใช้หลักการทางวทิ ยาศาสตร์อย่างไร
แนวคำตอบ 1. การแยกสาร โดยแยกเน้ือลูกตาลออกจากเส้นใย

2. การถา่ ยโอนความร้อน โดยการนึ่งขนมตาล

- การทำขนมเทียนใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์อย่างไร

แนวคำตอบ 1. แรง ในการนวดแป้ง

2. การถ่ายโอนความรอ้ น โดยการนึง่ ขนมเทียน

- การทำข้าวเหนยี วปิ้งใช้หลกั การทางวิทยาศาสตร์อย่างไร
แนวคำตอบ 1. การแยกสาร โดยเลอื กผง กากออกในขณะซาวนำ้ เร็วๆ

2. การถา่ ยโอนความร้อน โดยการปง้ิ ขา้ วเหนียว

18

ชัว่ โมงที่ 4-5 (สัปดาห์ที่ 11-12)
3. ขน้ั สรปุ องคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ครแู ละนักเรียนร่วมกนั สรปุ ถึงเทคนิควธิ กี ารทำขนมไทยท่ถี ูกต้อง ปลอดภยั พร้อมทง้ั เนน้ ย้ำให้
นกั เรยี นนำไปปฏบิ ตั ิในชวี ิตประจำวัน โดยชี้ให้เห็นถึงคณุ คา่ และประโยชนข์ องการรู้เทา่ ทนั การเลอื กวัตถุดิบท่ี
จะเกิดกบั ตวั นักเรียน ครอบครัว และสังคมสว่ นรวม
3.2 นักเรยี นระดมสมองสรา้ งโครงการขนมไทยท่ีฉนั ชอบ ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลมุ่ ประชมุ รว่ มกนั เลอื กขนม
ท่ชี อบเพื่อพฒั นาขนมให้น่ารบั ประทาน และมีประโยชนต์ ่อรา่ งกายโดย สบื คน้ ขอ้ มลู เพิม่ เตมิ จาก ผู้รู้ หนังสอื
อินเตอร์เน็ต และอน่ื ๆ แลว้ บันทกึ ขอ้ มูล และแหล่งทมี่ าของขอ้ มลู ตามรายละเอียดในชดุ กิจกรรมเทคนคิ แอท
ลาสเพื่อส่งเสริมศกั ยภาพชุมชนแห่งการเรยี นรู้

ชั่วโมงท่ี 6-8 (สัปดาห์ที่ 13-15)
4. ขนั้ การสอื่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 นักเรียนแต่ละกลมุ่ วางแผนปฏิบัติการพัฒนาขนมไทย ดังน้ี

- กำหนดจดุ ประสงค์
- ต้งั ชอื่
- วิเคราะหภ์ ูมปิ ญั ญาในการพัฒนาขนม และหลักการทางวิทยาศาสตรท์ ี่ใช้
- วิธกี ารทำ
- วัตถดุ บิ อปุ กรณ์ และระยะเวลา
- บันทกึ ผลการปฏบิ ัติโครงการ
- สรปุ ผลการปฏิบัติโครงการ
4.2 นกั เรียนนำขนมไทยท่ีฉันชอบจดั ใส่ภาชนะ พร้อมตกแต่งภาชนะใสข่ นมตามความคดิ สรา้ งสรรค์ของ
นักเรยี นแลว้ บนั ทึกภาพการจัดขนมไทยทฉ่ี ันชอบ
4.3 นำเสนอหน้าชน้ั เรยี น ให้คุณครู เพอ่ื นลองชมิ แลว้ เขียนคำนิยม
4.4 นกั เรียนแต่ละกลุ่มเขยี นข้อความแสดงความภาคภูมิใจในการทำโครงการขนมไทยที่ฉนั ชอบ

ชัว่ โมงที่ 9-11 (สัปดาห์ที่ 16-18)
5. ข้นั การบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 นักเรียนร่วมกันทำการด์ ขนมไทยทฉ่ี ันชอบ แสดงคุณคา่ ของชมุ ชนขนมไทย ภมู ิปญั ญาไทยทาง
วทิ ยาศาสตรว์ าดภาพประกอบ และนำเสนอการ์ดขนมไทยทีฉ่ ันชอบจดั นทิ รรศการ
5.2 นกั เรียนร่วมกนั ร่วมกนั จดั กจิ กรรม ตลาดนัดขนมไทย (ออกร้านในวนั ตลาดนัดของโรงเรยี น)
5.3 นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายถึงประสบการณ์ที่ไดร้ บั จากการลงมือปฏิบตั ิการขนมไทยเพอื่ ขาย

19

12. สือ่ การเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้

12.1สอื่ การเรียนรู้

ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์เทคนคิ แอทลาสเพ่อื ส่งเสริมศกั ยภาพชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้

12.2แหลง่ เรียนรู้

1) อินเตอรเ์ นต็

2) ห้องสมดุ

13. บันทึกหลงั การจัดการเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................

- สารอาหาร และคุณค่าทางโภชนาการของ ......................................................................................

ขนมไทยท่ฉี นั ชอบ ......................................................................................

- การคำนวณวตั ถดุ ิบ อุปกรณ์และ ......................................................................................

ระยะเวลาขนมไทยท่ฉี ันชอบ ใหเ้ หมาะสม ......................................................................................

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการคิด ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ด้านคณุ ธรรมจริยธรรมและคา่ นิยม ......................................................................................

อันพึงประสงค์ : ......................................................................................

- มีวินยั ......................................................................................

- ใฝ่เรียนรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ......................................................................................

- รักความเปน็ ไทย ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

4. ปญั หาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

20

5. วธิ ีแก้ปัญหา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

ลงช่ือ........................................ครูผสู้ อน ลงชอ่ื ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รัตน์..) (นายสุรจักร์ิ แก้วม่วง.)

ลงชื่อ........................................... ลงช่ือ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกลุ รตั น.์ .) (..นายศวิ าวุฒิ รตั นะ..)

หัวหน้างานนเิ ทศ หวั หน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

ลงชอื่ ........................................................
(...นายจงจัด จันทบ...)

ผ้อู ำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม

21


Click to View FlipBook Version