The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่ 2 มนุษย์และการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2021-10-25 11:35:14

บทที่ 2 มนุษย์และการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ

บทที่ 2 มนุษย์และการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ

หน่วยที่ 3 หน่วยพนื้ ฐานของส่ิงมชี วี ติ

กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟ้าอากาศ
บทที่ 2 มนุษยแ์ ละการเปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศ

วิชาวิทยาศาสตร์ 2 ว21102
สอนโดย นางสาวอโนชา อทุ มุ สกลุ รตั น์

ครชู านาญการพิเศษ

สาหรบั นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม
ชื่อ-สกลุ ..................................................ชน้ั .........เลขที่........

สารบัญ หนา้

บทนำ................................................................................................................................ ก
คำชีแ้ จงการใช้ชุดกิจกรรม................................................................................................ ข
แบบประเมนิ ตนเองก่อนเรียน........................................................................................... 1
หนว่ ยกระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟ้าอากาศบทท่ี 2 ลมฟา้ อากาศรอบตวั ..................... 1
8
เร่ืองที่ 1 พายุ................................................................. 18
เรื่องท่ี 2 การเปล่ยี นแปลงอณุ หภมู ิอากาศอากาศโลก........................... 21
แบบประเมินตนเองหลงั เรียน............................................................................................
อ้างองิ ............................................................................................................................

บทนำ

ชุดกิจกรรมท่ีผู้เรียนจะได้ศึกษานี้เรียกว่าชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
หน่วยกระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ บทท่ี 2 มนุษย์และการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศ เป็นสื่อ
วิทยาศาสตร์ท่ีเน้นให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีระบบ พบคำตอบของปัญหาหรือ
สถานการณ์น้ันด้วยตนเอง ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้คดิ และลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ
และ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุดนกั เรียน

ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการเน้ือหาส่วนใหญ่เน้นการให้นักเรียนสามารถ
นำไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันเพอ่ื ให้นกั เรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาได้ดว้ ยตนเองจึงได้เรียบเรียง
เนื้อหาให้กระชบั และน่าสนใจและนอกจากนี้ยงั ได้แทรกรปู ภาพและคำถามชวนคิดไวต้ ลอดทำให้ไม่เบอ่ื ในการ
อา่ นและทำกิจกรรม

ผ้จู ัดทำชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนโิ สมนสิการหวงั เป็นอย่างย่ิงวา่ เอกสารชุดน้ีจะมี
ประโยชน์ในการเรียนรูเ้ นือ้ หาตามหลักสตู ร ผู้เรียนมคี วามรู้และความสามารถในการสืบค้น การจัดระบบสิ่งท่ี
เรยี นรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อสรา้ งองค์ความรู้ ได้เป็นอย่างดีสามารถนำความรู้ทไี่ ด้จากการ
เรียนรไู้ ปปรบั ใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ และเป็นประโยชนส์ ำหรบั ผู้ท่ีสนใจใช้เป็นแนวทาง ในการจดั กระบวนการ
เรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ได้ต่อไป

...........................................
( นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรัตน์ )
ผจู้ ัดทำชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์



คำชแี้ จงการใชช้ ดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนโิ สมนสิการ

หนว่ ยกระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟ้าอากาศ บทที่ 2 มนุษย์และการเปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศ

1. สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจองค์ประกอบและความสัมพนั ธข์ องระบบโลก กระบวนการเปลยี่ นแปลง

ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัตภิ ยั กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศและภมู ิอากาศโลก รวมท้งั
ผลต่อสง่ิ มชี วี ิตและส่ิงแวดลอ้ ม
2. มาตรฐานการเรยี นรู้ /ตวั ชีว้ ดั ว 3.2 ม.1/1 ,1/2, 1/3,1/4 , 1/5, 1/6, 1/7
3. วิธเี รียนรู้จากชดุ กิจกรรมน้ีเพอื่ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสุดนกั เรียนควรปฏบิ ัติตาม
คำชแ้ี จง ต่อไปนี้

1. ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตรส์ องภาษาตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ เร่ือง มนษุ ย์และการ
เปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศ ชุดนี้ ใช้เวลา 7 ช่ัวโมง
2. ให้นกั เรียนจัดกลุ่ม ๆ ละประมาณ 6 คน
3. ใหน้ ักเรียนศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชีว้ ดั ของชดุ การเรียน
4. ใหน้ ักเรียนปฏิบัตกิ ิจกรรมในชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ แบบโยนิโสมนสกิ าร โดยใช้

รูปแบบการเรียนรแู้ บบโยนโิ สมนสิการตามข้นั ตอนดงั น้ี
1. ข้นั พัฒนาปญั ญา
2. ขนั้ นำปญั ญาพัฒนาความคิด
3. ข้นั นำปัญญาพฒั นาตนเอง

4. สาระสำคญั
ลมฟา้ อากาศมกี ารเปลย่ี นแปลงไดต้ ลอดเวลาเม่ือองค์ประกอบของลมฟา้ อากาศมกี ารเปลี่ยนแปลงไป

บางครัง้ การเปลีย่ นแปลงลมฟา้ อากาศจะเกดิ อย่างรุนแรงซงึ่ ส่งผลกระทบต่อมนุษยแ์ ละสิง่ แวดล้อมอยา่ งมาก
สำหรับประเทศไทยพบการเปลย่ี นแปลงลมฟ้าอากาศไดแ้ ก่ พายฝุ นฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อน ซงึ่ พายุทง้ั
สองมกี ระบวนการเกดิ และผลกระทบท้ังเหมือนและแตกตา่ งกัน ลมฟา้ อากาศเป็นสภาวะของอากาศที่เกดิ ข้นึ
ในพ้ืนทห่ี น่งึ ๆ ในชว่ งเวลาหน่ึง เกดิ การเปล่ยี นแปลงไดด้ งั ที่กล่าวมา ภูมอิ ากาศเป็นลกั ษณะลมฟา้ อากาศโดย
เฉลย่ี ของพื้นท่หี นึ่ง ๆ ในแต่ละชว่ งเวลา มกี ารเปล่ียนแปลงได้เชน่ กัน ปัจจัยทีท่ ำให้เกิดการเปลยี่ นแปลง
ภูมิอากาศมที ง้ั ปัจจัยทางธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ การเปล่ยี นแปลงภมู อิ ากาศแมไ้ ม่ได้เกิดข้นึ อย่าง
รวดเร็วเหมือนดังการเปลีย่ นแปลงลมฟา้ อากาศ แตก่ ็ส่งผลกระทบตอ่ สง่ิ มีชวี ติ และส่งิ แวดล้อม
อยา่ งมาก มนุษย์จำเป็นต้องเรยี นรูส้ ถานการณ์ ผลกระทบ และแนวทางในการปฏิบตั ติ นภายใตก้ าร
เปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศและการเปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศ เพอื่ ใหม้ นุษยแ์ ละสงิ่ แวดล้อมดำรงอยไู่ ดอ้ ย่าง
ปลอดภัยและยงั่ ยืน

*** ขอให้นักเรียนทุกคนไดเ้ รียนรวู้ ทิ ยาศาสตรอ์ ย่างมีความสุข ***



แบบประเมนิ ตนเองก่อนเรยี น

คำชแี้ จง : ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามตอ่ ไปน้ี ใชเ้ วลา 10 นาที

1. เราใชเ้ กณฑใ์ นข้อใดจำแนกชนิดของพายุหมุนเขตรอ้ น

ก. บริเวณทอ้ งถนิ่ ทเี่ กิด ข. ความเร็วลมสูงสดุ ใกล้ศูนย์กลาง

ค. ความเร็วในการเคลอ่ื นท่ขี องพายุ ง. ความกวา้ งของรศั มีการพัดรอบศูนยก์ ลาง

2. จากภาพ ข้อความใดแสดงกระบวนการในวัฏจกั รคารบ์ อนได้ถูกตอ้ ง

ก. A คือกระบวนการหายใจ ข. B คือการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง

ค. C คอื กระบวนการหายใจ ง. D คอื การสังเคราะหด์ ้วยแสง

3. พิจารณาข้อความตอ่ ไปนี้

A. อณุ หภูมิอากาศส่งผลตอ่ การเกิดเมฆ

B. ปริมาณเมฆปกคลุมส่งผลตอ่ อุณหภมู อิ ากาศ

C. ไอน้ำในอากาศทีร่ วมตวั กนั อย่างหนาแนน่ เกิดเป็นเมฆ

ขอ้ ความใดถกู ต้อง

ก. A และB ข. A และC ค. B และ C ง. A B และC

4. จากภาพ อตั ราเร็วลมในบรเิ วณใดมคี ่านอ้ ยที่สุด

ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4

5. เหตุการณ์ใดไม่ไดเ้ ป็นผลมาจากการเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศโลก

ก. การกัดเซาะชายฝ่งั เพ่ิมมากขนึ้ ข. จำนวนวนั ทีฝ่ นตกหนักมเี พิ่มขึ้น

ค. กลางวนั มีความยาวนานขน้ึ ง. ดอกไม้บางพ้นื ท่ีบานเรว็ ขึ้น

ใช้ข้อมลู ตอ่ ไปนี้ ตอบคำถามขอ้ 6-7
ช่วงเวลาการหลอมเหลวของน้ำแขง็ ในทะเลอารก์ ติก ทะเลอารก์ ติกบางส่วนปกคลุมด้วยน้ำแข็งตลอด

ทั้งปี อยา่ งไรก็ตามนำ้ แขง็ ดงั กลา่ วจะมกี ารหลอมเหลวและแขง็ ตวั ขึ้นอยู่กับฤดกู าล ศูนย์ข้อมูลหิมะและนำ้ แข็ง
แหง่ ชาติสหรัฐเกบ็ ขอ้ มูลการหลอมเหลวของนำ้ แข็งในทะเลอาร์กตกิ โดยวันทนี่ ้ำแขง็ เริ่มตน้ การหลอมเหลว
และส้ินสุดการหลอมเหลวในแตล่ ะปี แสดงได้ดังกราฟ

6. จากขอ้ มูลในสถานการณ์ท่กี ำหนดให้ สามารถลงขอ้ สรปุ ตอ่ ไปน้ี ได้หรือไมไ่ ด้ จงเขียนวงกลมลอ้ มรอบคำว่า

“ได้”หรือ “ไม่ได้” ในแตล่ ะข้อสรปุ

ข้อสรปุ ได้หรอื ไมไ่ ด้

6.1 ระยะเวลาการหลอมเหลวของน้ำแขง็ ในแตล่ ะปยี าวนานขึน้ ได้/ไมไ่ ด้

6.2 ปรมิ าณน้ำแข็งในทะเลอาร์กตกิ ลดลง ได้/ไมไ่ ด้

7. ปริมาณนำ้ แขง็ ปกคลมุ บริเวณทะเลอาร์กตกิ ในเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2522 และ 2558 ควรเป็นอยา่ งไร
เม่ือเทียบกบั เดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2522 และ 2558 ตามลำดบั เพราะเหตใุ ด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

8. การเกบ็ ข้อมูลเกีย่ วกับการหลอมเหลวของนำ้ แขง็ ขัว้ โลก มีหลากหลายวธิ ี เชน่ การใชด้ าวเทียม การเก็บ
ขอ้ มลู จากสถานที่จริง การติดต้งั สถานีตรวจวดั ข้อสรปุ ใดถูกตอ้ ง

ก. การเกบ็ ข้อมลู เพอ่ื ศกึ ษาการหลอมเหลวของนำ้ แข็งขั้วโลก ควรเก็บข้อมูลจากบริเวณขว้ั โลกก็
เพยี งพอ
ข. การเกบ็ ข้อมลู ไม่จำเป็นตอ้ งใช้นกั วิทยาศาสตร์เทา่ นนั้ บุคลากรในท้องถิ่นสามารถเกบ็ ขอ้ มูลได้
ค. การเกบ็ ขอ้ มูลจากดาวเทียมกใ็ หข้ ้อมูลที่ครบถว้ นเพยี งพอ ไมจ่ ำเป็นต้องเกบ็ ข้อมลู ดว้ ยวิธีการอื่น
ง. ปัจจยั ท่ีส่งผลใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงของน้ำแข็งขวั้ โลกแตกตา่ งกันไปในแตล่ ะฤดู จึงควรเปลีย่ น
วธิ ีการตรวจวัดองคป์ ระกอบลมฟ้าอากาศทุกฤดู

คะแนนเต็ม 8 คะแนน

ได้ ........... คะแนน

กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟา้ อากาศ

บทที่ 2 มนุษย์และการเปลีย่ นแปลงลมฟ้าอากาศ เวลา 7 ช่ัวโมง

ข้นั พฒั นาปัญญา กิจกรรม ฝึ กอ่าน : ฝึ กคิด

เรือ่ งท่ี 1 พายุ

ภาพที่ 1 พายุหมนุ เขตรอ้ นในซีกโลกใต้ และพายฝุ นฟ้าคะนอง

ท่มี า หนังสอื แบบเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 สสวท

ภาพนำเรื่องคือภาพพายุหมุนเขตรอ้ นในซีกโลกใต้
ซง่ึ มที ศิ ทางการหมุนของพายตุ ามเขม็ นาฬิกา และ
ภาพพายฝุ นฟ้าคะนองขณะเกิดฟ้าแลบ

ทบทวนความรู้ก่อนเรยี น 1

เขยี นเครือ่ งหมาย  หน้าข้อท่ถี กู ต้อง

 ความช้นื อากาศ คือ น้ำในอากาศทอ่ี ยู่ในสถานะของเหลว
 น้ำระเหยได้เมื่ออณุ หภมู ิของน้ำถึงจุดเดือดเท่านนั้
 บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟยี ร์ เม่อื ระดบั ความสูงจากพ้ืนดนิ มากข้ึนอณุ หภมู ิอากาศจะลดลง
 อากาศเคลื่อนทจ่ี ากบรเิ วณทม่ี ีความกดอากาศต่ำไปยงั บรเิ วณที่มีความกดอากาศสงู
 บรเิ วณความกดอากาศสูง อุณหภูมอิ ากาศมีคา่ ต่ำ

1

กิจกรรมท่ี 1 พายุฝนฟ้าคะนองและพายหุ มุนเขตรอ้ นเกดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งไร
จุดประสงค์ :

รวบรวมข้อมูล เพอื่ อธบิ ายและเปรียบเทียบกระบวนการเกิดพายฝุ นฟา้ คะนอง และพายุหมนุ เขตร้อน
วัสดุและอปุ กรณ์

-
วิธกี ารทดลอง
1. อ่านข้อความการเกดิ พายุฝนฟ้าคะนองต่อไปนี้ “อากาศร้อน นำ้ ระเหยกลายเป็นไอนำ้ ไดม้ าก อากาศร้อนขน้ึ
จะลอยตัวสูงขึ้นอยา่ งรวดเร็วถึงระดบั ท่อี ุณหภูมิอากาศตำ่ ไอน้ำเกิดการควบแน่นเป็นละอองนำ้ ปริมาณมหาศาล
เกดิ เปน็ เมฆขนาดใหญ่ และฝนตกหนัก” วิเคราะหแ์ ละวาดภาพอธบิ ายการเกดิ พายุฝนฟา้ คะนองจากข้อความ
ดังกล่าว
2. สงั เกตภาพพายุหมนุ เขตรอ้ นด้านล่าง วเิ คราะหแ์ ละเขียนอธบิ ายเกยี่ วกบั พายุหมนุ เขตร้อนจากภาพใน
ประเด็นตา่ งๆ เช่น แหล่งท่เี กิด อัตราเร็วลม ลักษณะรูปร่าง

3. รวบรวมขอ้ มูลกระบวนการเกดิ พายุฝนฟา้ คะนองและพายุหมนุ เขตรอ้ นจากแหล่งข้อมลู ท่ีเชอ่ื ถอื ได้
4. นำขอ้ มูลการเกดิ พายุฝนฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตรอ้ น มาจัดกระทำในรปู แบบต่างๆที่น่าสนใจ และนำเสนอ
ต่อช้นั เรียน
ผลการทำกิจกรรม
ขอ้ 1 ภาพวาดอธบิ ายการเกดิ พายฝุ นฟา้ คะนอง

ขอ้ 2 อธิบายการเกดิ พายหุ มุนเขตร้อน จากภาพ …………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2

คำถามท้ายกิจกรรม
1. กระบวนการเกิดพายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อนที่สร้างข้ึนเหมอื นและแตกต่างจากทไ่ี ด้รวบรวมมา
อยา่ งไร

กระบวนการเกิดพายุฝนฟ้าคะนองท่ีสร้างขึ้นเหมือนกบั ข้อมูลทไ่ี ด้รวบรวมมาคือ มีการรวมตัวกันของ
ละอองนำ้ และผลกึ นำ้ แขง็ ในแนวตัง้ จนทำใหเ้ มฆมีขนาดใหญข่ น้ึ

จากนั้นจงึ เกดิ พายุฝนฟ้าคะนองและแตกต่างกันคอื จากขอ้ มูลทรี่ วบรวมมพบว่าพายุฝนฟ้าคะนองมขี ้ัน
การเกิด 3 ระยะ คือ ระยะเจริญเตบิ โต ระยะเจรญิ เติบโตเตม็ ที่ และระยะสลายตวั เกิดการพัดข้ึนและลงของ
กระแสอากาศเนื่องจากความแตกต่างของอุณหภูมิ ทำให้เกิด สภาพอากาศรุนแรง เช่น ลมกระโชก ฟ้าแลบ
ฟ้าผา่ ฝนตกหนกั และลูกเห็บตก

กระบวนการเกิดพายหุ มนุ เขตร้อนท่ีสรา้ งข้นึ เหมอื นกับข้อมูลท่ไี ดร้ วบรวมมาคือเกดิ จากการระเหยของ
น้ำในมหาสมุทรและมีการเคลือ่ นท่ีของอากาศเข้าสูศ่ ูนยก์ ลาง และแตกต่างกันคือการเกิดพายหุ มนุ เขตรอ้ นจาก
ข้อมลู ท่ีรวบรวมมาพบวา่ สว่ นใหญ่ก่อตวั ในมหาสมุทร และจะเคล่ือนทไ่ี ปตามแนวความกดอากาศต่ำ เนอื่ งจาก
อากาศร้อนช้ืนมีไอน้ำอยู่เป็นจำนวนมากจึงช่วยหล่อเลี้ยงให้พายุมีความรุนแรง แต่เม่ือพายุเคล่ือนตัวเข้าสู่
แผ่นดนิ กจ็ ะเริ่มอ่อนกำลงั ลง เนอื่ งจากไม่มีไอน้ำในอากาศมาหล่อเล้ยี งพายุได้เพียงพอ

2. พายฝุ นฟา้ คะนองและพายหุ มนุ เขตรอ้ นมกี ระบวนการเกดิ และผลกระทบเหมือนและแตกต่างกันอยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………
………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………

3. จากกิจกรรมสรุปไดว้ ่าอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………
…………………………..………………………………………..……………………………………………………………………………………
……………………..………………………………………..…………………………………………………………………………………………
………………..………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………..………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…………………..………………………….…………………………………………………………………………………………..………………
………….…………………………………………………………………………………………..………………………….………………………
…………………………………………………………………..………………………….……………………………………………………………
……………………………..………………………….…………………………………………………………………………………………………
……………………………..………………………….…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………
…………………………..………………………………………..…………………………………………………………………….………………

3

• พายฝุ นฟา้ คะนอง (Thunderstorm) เกิดข้นึ ไดท้ วั่ ทุกภาคของประเทศไทยแตม่ ักจะเกิดไดบ้ ่อย

ระยะเจรญิ เติบโต ระยะเจริญเติบโตเต็มท่ี ระยะสลายตัว
อากาศท่ีมีอุณหภูมิและความช้ืน ยอดขอ งเมฆ ปะ ท ะกั บ ฝนค่อยๆหมดไป ทำให้ลมท่ีพัดลงสู่พื้นโลกมี
สูงลอยตัวขึ้น ทำให้มีอาการ อัตราเร็วลดลงเมฆเร่มิ สลายตัว
ลดลงของอุณหภูมิตามความสูง รอยต่อของชั้นโทนโพ ส
และไอน้ำใน อากาศเกิดการ เฟี ยร์และชั้น สตราโตส
ค ว บ แ น่ น เป็ น ล ะ อ อ ง น้ ำอ ย่ า ง
ตอ่ เนอ่ื ง เกดิ เปน็ เมฆขนาดใหญ่ เฟี ยร์ ทำให้ไม่สามารถ
ลอยตัวสูงขึ้นไปได้อีกยอด
เมฆ จึงเกิ ด ก ารแผ่อ อ ก

ด้านข้างในแนวราบ ต่อมา
เกิดฝนตกหนักลมแรง เกิด

ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า และอาจ
เกิดลูกเห็บตก

 พายฤุ ดรู ้อน คือ พายฟุ า้ คะนอง (Thunderstorms) ทมี่ ีความรนุ แรง
เกิดในชว่ งฤดูร้อน

• ฟ้าผา่ ฟา้ แลบและฟา้ รอ้ งเปน็ ปรากฎการณท์ างธรรมชาตทิ ่เี กดิ จากการถา่ ยเทประจไุ ฟฟ้า
จำนวนมากระหว่างวตั ถุทมี่ ปี ระจุไฟฟา้ ซง่ึ อาจเกิดขึน้ ระหว่างพนื้ โลกกบั ก้อนเฆมหรือระหวา่ งก้อนเฆมกบั
พ้ืนดนิ หมือนกับหลกั การท่ีว่าถา้ เอาวตั ถุตา่ งชนดิ มาถูกนั จะเกดิ อำนาจของไฟฟา้ ขึ้น ในวัตถทุ ้งั สองนั้น ซึง่
การที่ประจเุ คล่ือนที่จากก้อนเมฆไปสู่ผิวโลกจะเรียกวา่ ฟ้าผา่ ถ้าประจุเคลือ่ นท่จี ากกอ้ นเมฆไปยังกอ้ นเมฆ
เรยี กว่า ฟ้าแลบ และในขณะทปี่ ระจุไฟฟา้ แหวกผ่านไปในอากาศดว้ ยอัตราเรว็ สงู มันจะผลักดนั ให้อากาศ
แยกออกจากกนั แลว้ อากาศกก็ ลับเขา้ มาแทนที่โดยฉับพลันทันที ทำให้เกิดเสียงดงั ล่ันขึ้น เราเรยี กว่า ฟ้า
ร้อง

ฟ้าแลบและฟ้ารอ้ งในพายเุ กดิ ขนึ้ พรอ้ ม ๆ กนั แต่มนษุ ยเ์ รามองเห็นฟ้าแลบกอ่ นตอ่ มาจงึ ไดย้ นิ
ฟ้าร้องทั้งนี้ เพราะเหตุว่าแสงมีความเร็วมากกวา่ เสียง แสงมีอตั ราเร็ว 300,000 กิโลเมตรต่อวนิ าที สว่ นเสียงมี
อตั ราเร็วประมาณ 1/3 กโิ ลเมตรต่อวนิ าทีเท่าน้ัน

4

 ฟ้าแลบ เกิดจาก การแลกเปล่ียนประจุไฟฟ้าภายในก้อนเมฆ หรือระหว่าง
กอ้ นเมฆ

 ฟ้าผ่า เกิดจาก การแลกเปลี่ยนประจุไฟฟ้าระหว่างเมฆคิวมูโลนมิ บัสกับพื้น
โลก

 ฟ้าร้อง เกิดจาก การขยายตัวอย่างรวดเร็วของอากาศเกิดเป็นเสียงดัง

เนื่องจากเม่ือเกิดฟ้าแลบหรือฟ้าผ่าอากาศโดยรอบจะมีอุณหภูมิสูงมาก และ

อาจสงู ถงึ 30,000 องศาเซลเซยี ส

• พายหุ มนุ เขตรอ้ นพายุหมุนเขตร้อน เป็นปรากฏการณธ์ รรมชาติ ที่สามารถทำความเสียหายไดร้ ุนแรง

และเปน็ บรเิ วณกวา้ งมลี กั ษณะเด่น คอื มศี นู ย์กลางหรอื ที่เรยี กวา่ ตาพายุเป็นบรเิ วณที่มลี มสงบ อากาศ

โปร่งใส โดยอาจมีเมฆและฝนบา้ งเลก็ น้อยล้อมรอบดว้ ยพื้นที่บริเวณกวา้ งรัศมหี ลายร้อยกโิ ลเมตร ซึ่ง

ปรากฏฝนตกหนัก

ดังนั้น ในบริเวณที่พายุหมุนเขตร้อนเคล่ือนท่ีผ่าน ครั้งแรกจะปรากฏลักษณะอากาศโปร่งใส เม่ือ

ด้านหน้าของพายุหมุนเขตร้อนมาถึงจะ ปรากฏลมแรง ฝนตกหนักและมีพายุฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรงและ

อาจปรากฏพายุทอร์นาโด ในขณะตาพายมุ าถึง อากาศจะโปร่งใสอีกครั้ง และเม่ือด้านหลังของพายุหมุนมาถึง

อากาศจะเลวรา้ ยลงอกี คร้ังและรุนแรงกวา่ คร้ังแรกลมพายุเกิดจากบริเวณ 2 บรเิ วณมอี ุณหภมู ิแตกต่างกันมาก

เป็นผลทำให้ความกดอากาศต่างกันมาก อากาศจะไหลเร็วขึ้น ถ้าลมพายุพัดวนรอบจุดศูนย์กลาง เราเรียกลม

พายชุ นดิ นว้ี า่ พายุหมุน

ตาราง ความเรว็ ลมสูงสุดใกล้ศนู ยก์ ลางของพายหุ มุนเขตร้อน

ประเภท ความเรว็ ลมสูงสดุ ใกลศ้ นู ย์กลาง (km/hr)

1. พายดุ เี ปรสชัน ไม่เกนิ 63

2. พายุโซนรอ้ น 63 - 118

3. พายไุ ต้ฝุ่น มากกว่า 118

5

จากตารางพายไุ ตฝ้ นุ่ จะมชี ือ่ เรยี กแตกตา่ งไปตามแหล่งที่เกดิ เช่น

- เกดิ ในทะเลจีนใต้ เรยี กว่า ไต้ฝุ่น
- เกิดในอา่ วเมก็ ซโิ ก เหนือแถบมหาสมทุ รแอตแลนติก มหาสมุทรแปซฟิ กิ และทะเล

แคริบเบยี น เรียกว่า เฮอริเคน

- เกิดในแถบทวีปออสเตรเลยี เรียกว่า วลิ ลี่ - วิลล่ี
- เกดิ ในอา่ วเบงกอล และมหาสมุทรอนิ เดยี เรียกวา่ ไซโคลน

ภาพ การชอ่ื เรียกพายหุ มนุ เขตรอ้ นท่ีแตกตา่ งกนั ในแตล่ ะบรเิ วณ

• พายุในซีกโลกเหนือและซกี โลกใต้แตกตา่ งกนั อย่างไร
พายทุ ่ีเกิดในซกี โลกเหนอื จะหมุนทวนเขม็ นาฬกิ า สว่ นในซีกโลกใต้จะหมนุ ตามเข็มนาฬกิ าเหตุทท่ี ำให้

พายุหมุนแตกตา่ งกันนีเ้ ป็นผลจาก "แรงคอรอิ อลิส" (Coriolis Force) แรงเสมอื นทีเ่ กดิ ขน้ึ จากการที่โลก
หมนุ รอบตนเองจากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวนั ออก ส่งผลให้ลมในซกี โลกเหนือเบนไปทางขวา ในขณะทล่ี มใน
ซีกโลกใต้เบนไปทางซา้ ย ในขณะทีต่ ำแหนง่ ไมเ่ กิน 5 องศาเหนอื และใต้จะไม่เกดิ พายุ เนื่องจากอย่ใู กลบ้ ริเวณ
เสน้ ศูนยส์ ูตรมากจงึ ไม่มีแรงคอรอิ อลสิ

พายุเฮอริเคนแมททวิ เกดิ ในมหาสมทุ รแอตแลนตกิ

6

พายุไซโคลนวินสตัน เกิดในมหาสมทุ รแปซิฟิกตอนใต้

ร่วม กนั คดิ 1

1. พายฝุ นฟา้ คะนองในระยะใดส่งผลกระทบมากที่สดุ เพราะเหตใุ ด
..............................................................................................................................................................................
2. เหตุใดอากาศทมี่ คี วามชื้นเมอ่ื ลอยตัวสูงขน้ึ สู่บรเิ วณทมี่ ีอุณหภูมิตำ่ กวา่ จึงเกิดการควบแน่นเป็นละอองน้ำ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. พายลุ ดกำลังลงหรือ สลายตัวเม่อื เคลอ่ื นที่เข้าสู่แผ่นดนิ หรือบริเวณอณุ หภูมติ ่ำกว่า 26-27 องศาเซลเซียส ได้
อยา่ งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. บรเิ วณข้ัวโลกเกิดพายุหมนุ เขตรอ้ นได้หรือไม่เพราะเหตใุ ด164
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
5. พายุฝนฟา้ คะนองและพายุหมนุ เขตร้อน พายุชนดิ ใดก่อใหเ้ กิดความเสียหายมากกว่ากนั เพราะเหตุใด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

7

เรอื่ งที่ 2 การเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศโลก

ภาพท่ี 2 หมขี ว้ั โลกได้รับผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศโลก
ท่มี า หนงั สอื แบบเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 สสวท

ภาพนำเรื่อง คอื ภาพหมีข้วั โลกที่อยู่บนแผ่นน้ำแข็งโดยน้ำแขง็ ขั้วโลกมี
การหลอมเหลวและมีปริมาณลดนอ้ ยลงทกุ ปี เนื่องจากการเปลย่ี นแปลง
ภมู อิ ากาศโลก

ทบทวนความรู้ก่อนเรยี น 2

จบั ค่ขู อ้ ความทมี่ ีความสัมพันธก์ ัน 1. อุณหภมู ิอากาศปัจจบุ ัน
o ปรากฏการณ์เรือนกระจก
2. องค์ประกอบของส่ิงมชี ีวิต
o แกส๊ เรอื นกระจก 3. สง่ ผลให้อณุ หภูมิโลกสูงขึ้น
o ลมฟา้ อากาศ 4. คาร์บอนไดออกไซด์ , ไอนำ้
o คาร์บอน

กิจกรรมท่ี 2 ภูมอิ ากาศเปลี่ยนแปลงได้หรอื ไม่
จุดประสงค์ : วเิ คราะห์ และอภิปรายขอ้ มลู ภูมิอากาศ พร้อมทั้งอธิบายผลกระทบตอ่ สง่ิ มีชวี ิตและสิ่งแวดลอ้ ม
วัสดุและอปุ กรณ์

-
วิธีการดำเนนิ กิจกรรม
1. จากกราฟวเิ คราะหข์ อ้ มูลและอภิปรายในประเด็นตอ่ ไปน้ี

• การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศภาคพ้ืนผิวเฉล่ยี ของโลกต้งั แตป่ ีพ.ศ. 2444 – 2558

• การเปล่ียนแปลงปริมาณหยาดนำ้ ฟ้าเฉลี่ยของโลกตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2444 – 2558

8

• การเปล่ยี นแปลงภมู อิ ากาศของประเทศไทยต้ังแต่ปี พ.ศ. 2494 – 2558
2. อภปิ รายสรุปร่วมกนั ในประเดน็ ภมู อิ ากาศโลกมีการเปล่ียนแปลงหรือไมอ่ ย่างไร และภมู อิ ากาศลักษณะ
ดงั กลา่ วส่งผลกระทบต่อส่งิ มีชีวติ และส่งิ แวดล้อมอยา่ งไร

9

คำถามท้ายกิจกรรม
1. อณุ หภมู ิอากาศเฉล่ียของโลกมีการเปลย่ี นแปลงหรอื ไม่ อยา่ งไร

มกี ารเปล่ยี นแปลงช่วงปี พ.ศ. 2443 - 2483 อุณหภมู ิอากาศผวิ พื้นตำ่ กวา่ ค่าเฉลย่ี ชว่ ง พ.ศ. 2483 -
ก่อนพ.ศ. 2523 มีการเปลยี่ นแปลงของอุณหภมู อิ ากาศไมแ่ นน่ อน บางชว่ งอุณหภมู ิสงู กว่าคา่ เฉล่ีย บางชว่ ง
อณุ หภมู ติ ำ่ กวา่ ค่าเฉลย่ี และหลัง พ.ศ. 2523 อุณหภูมิสูงกวา่ ค่าเฉลยี่ มาตลอดและมแี นวโนม้ เพม่ิ ขน้ึ
2. ปรมิ าณหยาดนำ้ ฟ้าเฉล่ียของโลกมีการเปลยี่ นแปลงหรือไม่ อย่างไร

มีการเปลี่ยนแปลง ช่วงกอ่ น พ.ศ. 2493 มปี รมิ าณหยาดน้ำฟา้ นอ้ ยกวา่ ค่าเฉล่ียแตห่ ลงั จากนนั้ ปริมาณ
หยาดน้ำฟา้ มีแนวโนม้ สูงกวา่ ค่าเฉล่ียจนถงึ ช่วง พ.ศ. 2523 - 2543 ปรมิ าณหยาดนำ้ ฟ้านอ้ ยกวา่ ค่าเฉลี่ยและ
หลังจากปี พ.ศ. 2543 ปริมาณหยาดนำ้ ฟ้ามากกว่าคา่ เฉลี่ย
3. อณุ หภูมิอากาศเฉลีย่ ของประเทศไทย มีการเปลย่ี นแปลงหรอื ไม่อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. ลกั ษณะภมู อิ ากาศดงั กลา่ วสง่ ผลตอ่ สิง่ มีชวี ิตใดบา้ ง อย่างไร164
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
5. จากกิจกรรมสรปุ ได้วา่ อยา่ งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

➢ เอลนโี ญ – ลานีญา
ลานญี า (สเปน: La Niña) เป็นปรากฏการณบ์ รรยากาศมหาสมทุ รคกู่ นั ซ่ึงเกิดขึน้ คู่กับเอลนีโญอนั เป็นส่วน

หนึ่งของเอลนีโญ-ความผันแปรของระบบอากาศ ในซีกโลกใต้ ในช่วงที่เกิดลานีญา อุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเล
ตลอดมหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลางตะวันออกแถบเส้นศูนย์สูตรจะต่ำกว่าปกติ 3-5 °C ชื่อลานีญากำเนิดจาก
ภาษาสเปน หมายถงึ "เดก็ หญิง" คล้ายกับเอลนีโญทหี่ มายถงึ "เด็กชาย"
ลานญี า หรือที่บางทีเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า "แอนติเอลนีโญ" เป็นปรากฏการณ์ตรงกนั ขา้ มกบั เอลนีโญ ซึ่ง
ปรากฏการณ์เอลนีโญน้ีจะเป็นช่วงที่อุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเลเพิ่มสูงข้ึนอย่างน้อย 0.5 °C และผลกระทบของ
ลานีญามักจะตรงกันขา้ มกับของเอลนีโญ เอลนีโญเป็นปรากฏการณ์ที่มีชื่อเสียงเนื่องจากสามารถมีผลกระทบ
รา้ ยแรงต่อสภาพอากาศของทั้งชายฝ่ังชลิ ี เปรูและออสเตรเลีย รวมทั้งอีกหลายประเทศ ลานญี ามักเกิดข้ึนหลัง
ปรากฏการณ์เอลนโี ญรนุ แรง ผลกระทบของลานีญาส่วนใหญ่จะตรงข้ามกับของเอลนีโญ ตัวอย่างเช่น
เอลนี โญจะทำให้เกิดชว่ งฝนตกในแถบสหรฐั อเมริกาตอนกลางตะวนั ตก ขณะทีล่ านญี าจะทำ ให้ เกิ ด ช่ ว ง
แห้งแล้งในพ้ืนท่ีเดียวกัน ส่วนอีกด้านหน่ึงของมหาสมุทรแปซิฟิก ลานีญาทำให้เกิดฝนตกหนัก สำหรบั อินเดีย
เอลนีโญมักเป็นสาเหตุของความกงั วลเพราะผลของมันตรงกันข้ามกับมรสุมตะวนั ตกเฉียงใต้ ซ่ึงเคยเกิดข้ึนใน
พ.ศ. 2552 แต่ลานีญา มักเป็นประโยชน์สำหรับฤดูมรสุม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงหลัง แต่ลานีญาซึ่งปรากฏ
ในมหาสมุทรแปซฟิ ิกยังอาจทำให้ฝนตกหนักในออสเตรเลีย ซึ่งเกิดเป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติครัง้ ร้ายแรงที่สุด
ครัง้ หน่ึงโดยพ้ืนท่ีสว่ นใหญ่ของรฐั ควีนส์แลนด์จมอยู่ใต้นำ้ จาก อุทกภัยอันเกิดจากสัดส่วนผิดปกติหรือถูกพายุ

10

หมุนเขตรอ้ นพัดถล่ม ซึง่ รวมไปถึงพายุหมุนเขตร้อนระดบั 5 ไซโคลนยาซี่ นอกจากน้ียงั ทำให้เกิดความหายนะ
แบบเดยี วกันในบราซิลตะวนั ออกเฉียงใตแ้ ละมีสว่ นทำใหเ้ กดิ ฝนตกหนกั และอุทกภยั ตามมาในศรีลังกา

จากปรากฏการณ์เอลนิโญ ซ่ึงเกิดจากการเปลี่ยนทิศทางของลมสินค้าหรือลมที่พัดจาก ทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือและลมท่ีพัดจากทิศตะวันออกเฉียงใต้พัดเข้าหาแนวเส้นศูนย์สูตรในมหาสมุทรแปซิฟิก
เปลีย่ นทิศทาง ทำให้กระแสน้ำอุ่นไหลย้อนกลบั ตามกระแส ส่งผลให้บริเวณทเี่ คยมกี ระแสแหง้ แล้งและมีอากาศ
หนาวเย็นมาก่อนกลับมีฝนตกชุกกว่าเดิมและมีสภาพอบอุ่นขึ้นเมื่อเอลนิโญได้ผ่านพ้นไป กระแสน้ำอุ่นก็ไหล
กลับคืนสู่สภาวะปกติในช่วงท่ีกระแสน้ำอุ่นไหลย้อนกลับจะดูดเอาน้ำทะเลที่อยู่ด้านล่าง ซึ่งมีอุณหภูมิต่ำกว่า
ไหลข้นึ มาแทนทำใหเ้ กิดปรากฎการณล์ านญี าขึ้น ส่งผลใหพ้ น้ื ท่ีบรเิ วณ น้ันมีสภาพภูมิอากาศหนาวเย็นมากข้ึน
โดยเฉพาะทางฝ่งั ตะวนั ออกของมหาสมทุ ร แปซิฟิก ในแนวเส้นศูนย์สูตรต้องเผชิญ กับความหนาวเย็น
ผดิ ปกติ ทำให้ประเทศที่เพง่ิ ประสบกบั ภยั แห้งแล้งจากเอลนิโญเกิดฝนตกชุกกวา่ ปกติ และมีพายุกอ่ ตัวข้ึนหลาย
ครั้งสำหรับประเทศที่ได้รับผลกระทบจากลานีญามากท่ีสุด คือ ออสเตรเลีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ตอนล่าง
เน่อื งจากอย่ใู ตเ้ ส้นศูนย์สูตร ตรงมหาสมุทรแปซิฟกิ แตส่ ำหรบั ประเทศไทยจะได้รับอิทธิพลความช่มุ ชนื่ จากพายุ
ฝน ที่ก่อตัวจากมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออกของหมู่เกาะฟิลิปปินส์ ซึ่งจะเคลื่อนเข้าไทยเป็นประจำ
ประมาณ 3-4 ลูกต่อปี แต่เม่ือเกิดปรากฎการณ์เอลนีโญ พายุก็เปล่ียนทิศทางขึ้นเหนือ เข้าสู่ทะเลจีนใต้หมด
ทำให้ประเทศไทยและท่อี ยู่แทบแหลมอินโดยจนี เกดิ ภาวะแหง้ แลง้ ในปี 2540 และตอนต้นปี 2541

ปรากฎการณเ์ อลนโี ญและลานญี าสง่ ผลกระทบตอ่ ประเทศไทยอยา่ งไร

➢ การเปลี่ยนแปลงอุณหภมู ิอากาศของโลก

ปัจจุบันโลกของเรามีอุณหภูมิสูงขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งสาเหตุที่ทำให้อุณหภูมิของโลกเปลี่ยนไปน้ีมีหลาย
ประการไม่ว่าจะเป็นจากธรรมชาติหรือจากฝีมือมนุษย์ แต่สาเหตุที่ทำให้เกิดการเปล่ียนแปลง อย่างเห็นได้ชัด
นา่ จะมาจากการกระทำของมนุษยท์ ง้ั อย่างตง้ั ใจและไม่ตงั้ ใจ

แสงอาทิตย์ เม่ือส่องผ่านบรรยากาศโลกจะเปล่ียนรูปเป็นพลังงานความร้อน ซึ่งความร้อนจะไม่
สามารถออกไปจากโลกได้ง่าย ความร้อนจะถูกดูดไว้ที่ผิวโลก ทำให้เกิดความร้อนเหมือนอยู่ในเรือนกระจก
นักวทิ ยาศาสตร์ใหเ้ หตุผลวา่ ปรากฏการณเ์ ชน่
นจี้ ะทำให้โลกร้อนขนึ้ เปน็ ผลทำใหน้ ้ำแข็งขว้ั โลกเหนือ ขั้วโลกใตล้ ะลายระดบั น้ำทะเล
จงึ สงู ขึ้น เกิดน้ำท่วมไปทัว่ โลกได้

ภาวะโลกร้อน หมายถึง การเปล่ยี นแปลงภูมิอากาศที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ ที่ทำให้อุณหภูมิ
เฉลยี่ ของโลกเพิ่มสูงขึ้น เราจึงเรียกว่า ภาวะโลกร้อน (Global Warming) กิจกรรมของมนุษยท์ ี่ทำใหเ้ กิดภาวะ
โลกร้อน คือ กิจกรรมที่ทำให้ปริมาณก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศเพิ่มมากข้ึน ได้แก่ การเพิ่มปริมาณก๊าซ
เรือนกระจกโดยตรง เช่น การเผาไหม้เช้อื เพลงิ และ การเพ่ิมปรมิ าณก๊าซเรือนกระจกโดยทางอ้อม คือ การตัด
ไมท้ ำลายปา่ ปรากฏการณ์เรอื นกระจก หมายถึง การทช่ี ั้นบรรยากาศของโลกกระทำตวั เสมอื นกระจกที่ยอมให้

11

รงั สีคลื่นส้นั จากดวงอาทิตยผ์ า่ นทะลุลงมายงั ผิวพื้นโลกได้ แต่จะดดู กลนื รงั สีคลื่นยาวท่ีโลกคายออกไปไม่ใหห้ ลุด
ออกนอกบรรยากาศ ทำให้โลกไม่เย็นจัดในเวลากลางคืน บรรยากาศเปรียบเสมือนผ้าห่มผืนใหญ่ที่คลุมโลกไว้
กา๊ ซที่ยอมใหร้ ังสคี ล่ืนส้ันจากดวงอาทิตย์ผ่านทะลุลงมาได้แต่ไม่ยอมให้รังสคี ล่ืนยาวท่ีโลกคายออกไปหลุดออก
นอกบรรยากาศ เรยี กว่า กา๊ ซเรือนกระจก

ก๊าซเรอื นกระจกทีส่ ำคัญ ได้แก่ กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทนและก๊าซไนตรัสออกไซด์
1. ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ เกิดจาก การเผาไหมเ้ ช้อื เพลงิ โรงงานอตุ สาหกรรม และการตัดไม้ทำลายปา่
2. ก๊าซมีเทน เกดิ จาก การย่อยสลายซากสิ่งมชี วี ิตในพื้นทท่ี มี่ ีน้ำขัง เช่น นาข้าว
3. กา๊ ซไนตรสั ออกไซด์ เกิดจาก อตุ สาหกรรมท่ใี ชก้ รดไนตริกในกระบวนการผลิตและการใชป้ ๋ ยุ ไนโตรเจนใน
การเกษตรกรรม

สำหรับ บรรยากาศของโลกประกอบด้วยก๊าซไนโตรเจน 78% ก๊าซออกซิเจน 21% ก๊าซอาร์กอน 0.9%
นอกน้นั เปน็ ไอนำ้ และกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซดจ์ ำนวนเล็กน้อย แม้ว่าไนโตรเจน ออกซิเจน และอาร์กอนจะเป็น
องค์ประกอบหลักของบรรยากาศแต่ก็มิได้มีอิทธิพลต่ออุณหภูมิของโลก ในทางตรงกันข้ามก๊าซโมเลกุลใหญ่
เช่น ไอน้ำ คาร์บอนไดออกไซด์ และมีเทน แม้จะมีอยู่ในบรรยากาศเพียงเล็กน้อยกลับมีความสามารถในการ
ดูดกลืนรงั สอี ินฟราเรด และมีอิทธิพลทำให้อณุ หภูมขิ องโลกอบอุน่ เราเรยี กก๊าซพวกน้ีว่า "กา๊ ซเรือนกระจก"
(Greenhouse gas) เนอื่ งจากคณุ สมบัติในการเก็บกกั ความร้อน หากปราศจากก๊าซเรือนกระจกแลว้ พื้นผิวโลก
จะมอี ณุ หภูมเิ พียง -18 องศาเซลเซยี ส ซ่ึงนนั่ ก็หมายความวา่ น้ำทัง้ หมดบนโลกน้ีจะกลายเป็นนำ้ แขง็

ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์เปน็ ก๊าซเรอื นกระจกทีส่ ำคัญ เน่ืองจากถกู ปลดปล่อยออกมามากถงึ สามในส่ี
ของปรมิ าณการปลดปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกทัง้ หมดกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ไมใ่ ช่กา๊ ซพิษ พบได้ในชวี ติ ประจำ
วนั ทว่ั ไปโดยมกี ารหมนุ เวียนอย่ใู นวฏั จกั รคารบ์ อน

12

พืชดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศไปใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง และสร้างเป็น
สารประกอบท่ีมีคาร์บอนไดออกไซด์เป็นองค์ประกอบ เชน่ น้ำตาล แปง้ และนำไปเก็บไว้ตามส่วนต่างๆของพืช
เม่ือส่ิงมชี ีวติ อ่ืน เช่นมนษุ ย์และสัตว์ มากินพืช คาร์บอนจะถกู ถา่ ยทอดไปยังส่ิงมีชีวิตดังกลา่ ว เมื่อสิง่ มีชีวิตตาย
ลงและถูกย่อยสลาย คาร์บอนบางส่วนจะถูกปล่อยเข้าสู่บรรยากาศในรูปก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ บางส่วนจะ
ถกู ทับถมในรปู กลายเป็นเชื้อเพลิงฟอสซลิ ซ่ึงเม่ือถูกนำมาใชก้ ็สามารถสลายกลายเป็นก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์
ในบรรยากาศต่อไป การหายใจของส่ิงมีชีวิตทุกชนิดจะปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่บรรยากาศ
เช่นกันนอกจากนั้นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศถูกดูดซับสะสมในมหาสมุทรและถูกปลดปล่อยสู่
บรรยากาศอกี ด้วย ในธรรมชาตคิ ารบ์ อนมีการหมนุ เวียนถา่ ยทอดในสิ่งแวดล้อมเปน็ วฎั จักรอย่างสมดุล

ร่วม กนั คดิ 2

1. พน้ื ท่ที ่นี ักเรยี นอาศยั อยูพ่ บการเปลยี่ นแปลงภูมอิ ากาศหรอื ไมอ่ ยา่ งไร
พบว่าอณุ หภมู อิ ากาศมีแนวโนม้ สูงขึ้น ระยะเวลาในฤดหู นาวสนั้ ลงและอณุ หภูมใิ นฤดูหนาวที่สงู ขึน้ ฤดู

ร้อนยาวนานข้ึนและมอี ุณหภูมิสูงสุดเพิ่มขน้ึ
2. เหตุใดพืชบางชนิดออกดอกได้ลดลง

พชื บางชนิดออกดอกในช่วงท่ีอากาศค่อนขา้ งเยน็ แตถ่ ้าภมู อิ ากาศเปล่ียนแปลงไปทำ ให้ความหนาว
เย็นมาชา้ ไป หรืออากาศไม่เย็นกอ็ าจทำใหพ้ ชื ออกดอกไม่ได้หรอื ออกดอกได้ลดลงพชื บางชนิด ออกดอกในชว่ ง
ท่อี ากาศค่อนข้างเย็นแตถ่ า้ ภมู ิอากาศเปลี่ยนแปลงไปทำ ให้ความหนาวเย็นมาช้าไป หรืออากาศไมเ่ ย็นก็อาจทำ
ใหพ้ ืชออกดอกไม่ไดห้ รอื ออกดอกไดล้ ดลง
3. การเปลย่ี นแปลงภูมิอากาศส่งผลต่อการระบาดของไข้เวสต์ไนลอ์ ยา่ งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. คาร์บอนมีเสน้ ทางการหมุนเวยี นในสง่ิ มีชวี ติ และส่งิ แวดลอ้ มอย่างไรบ้าง

คารบ์ อนถูกปลดปล่อยส่บู รรยากาศจากการหายใจของส่งิ มชี ีวิต การปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
จากโรงงานออกส่บู รรยากาศ ต้นไม้ใชแ้ ก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง คาร์บอนส่วนหนึ่ง
ละลายอยูใ่ นน้ำ ทะเล ส่ิงมีชีวิตเมื่อตายลงคารบ์ อนกจ็ ะถูกฝังอยู่เม่อื เวลาผ่านไปจะเกดิ เป็นน้ำมัน ถ่านหนิ และ
แกส๊ ธรรมชาติ ซึ่งมนษุ ย์นำมาใช้เป็นพลังงานในการทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ เช่น เป็นเช้อื เพลิงในยานพาหนะ
เช้ือเพลิงในโรงไฟฟ้าหรือโรงงานอุตสาหกรรมได้
5. กจิ กรรมใดบา้ งทท่ี ำให้แก๊สคารบ์ อนไดออกไซดถ์ กู ปลดปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
6. กิจกรรมใดบา้ งท่ีทำให้แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ถูกดึงออกจากชั้นบรรยากาศ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

13

ขน้ั นำปัญญำพฒั นำควำมคิด คิดแบบนกั วิทย์

กิจกรรม ฝึ กทา : ฝึ กสร้าง

ให้นักเรยี นนำเสนอผังมโนทัศนส์ รุปองคค์ วามร้ใู นบทเรียน
มนุษย์และการเปลย่ี นแปลงลมฟา้ อากาศ

14

กิจกรรม คิดดี ผลงำนดี มคี วำมสขุ

ขนั้ นำปัญญำพฒั นำตนเอง

จากสถานการณ์ “ปฏบิ ตั ิตนอยา่ งไรเพอ่ื รับมอื กบั การเปลยี่ นแปลงภูมอิ ากาศในโลกอนาคต” (10 คะแนน)
จุดประสงค์ 1. ออกแบบนวัตกรรมท่ีใช้ภายใตส้ ถานการณก์ ารเปล่ยี นแปลงภูมอิ ากาศโลก

2. เสนอแนวทางการปฏิบตั ิตนภายใต้สถานการณ์การเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศโลก
วสั ดุและอปุ กรณ์
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ผลการทำกิจกรรม
เลือกออกแบบนวัตกรรมเพอื่ รับมือกบั ผลกระทบท่เี กิดจากการเปลยี่ นแปลงภมู ิอากาศโลก
ช่อื นวัตกรรม...............................................................................
รปู ชิ้นงาน

15

1. นวัตกรรมทีช่ ว่ ยลดปจั จยั ท่ีสง่ ผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงภูมอิ ากาศนัน้ ลดปัจจัยด้านใด และลดปัจจยั ไดอ้ ย่างไร

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2. นวัตกรรมทใ่ี ชภ้ ายใต้สถานการณก์ ารเปล่ียนแปลงภมู ิอากาศโลกนนั้ ออกแบบเพ่ือรบั มอื กับผลกระทบใด
และใชป้ ระโยชนไ์ ด้อยา่ งไร
..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

3. จากกิจกรรมสรปุ แนวทางการปฏบิ ัติตนภายใต้สถานการณก์ ารเปล่ยี นแปลงภูมอิ ากาศโลกได้วา่ อย่างไร

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

เกณฑก์ ารประเมิน

รายการประเมิน ดีมาก (5 คะแนน) ดี (3 คะแนน) พอใช้ (1 คะแนน)

การนำเสนอแบบรา่ ง นำเสนอแนวทางใน นำเสนอแนวทางในการ นำเสนอแนวทางในการ

การออกแบบนวัตกรรม ออกแบบนวตั กรรมเพ่ือ ออกแบบนวตั กรรมเพือ่

เพื่อรับมอื กบั ผลกระทบ รับมือกบั ผลกระทบที่เกิด รับมือกับผลกระทบที่เกดิ

16

ทเ่ี กดิ จากการเปลี่ยน จากการเปล่ียนแปลง จากการเปลยี่ นแปลง

แปลงภูมอิ ากาศโลก ภูมอิ ากาศโลกได้ถกู ตอ้ งแต่ ภูมิอากาศโลกไดถ้ ูกตอ้ ง

อาจจะไมค่ รบถว้ น บางส่วนและอาจมแี นวคิด

คลาดเคลือ่ น

ประสทิ ธิภาพ อปุ กรณ์ในการสรา้ ง อปุ กรณใ์ นการสร้าง อุปกรณใ์ นการสร้าง
นวตั กรรมเพือ่ รับมือ
กับผลกระทบท่ีเกิด นวตั กรรมเพ่อื รับมอื กบั นวตั กรรมเพื่อรับมอื กบั นวัตกรรมเพือ่ รับมือกบั
จากการเปลย่ี น
แปลงภมู อิ ากาศโลก ผลกระทบทเ่ี กิดจากการ ผลกระทบทีเ่ กิดจากการ ผลกระทบที่เกิดจากการ

การปรับปรุงชน้ิ งาน เปลี่ยนแปลงภมู อิ ากาศ เปล่ยี นแปลงภมู อิ ากาศโลก เปล่ยี นแปลงภูมิอากาศ

โลก ได้เปน็ สว่ นใหญ่ โลกได้บ้าง

วเิ คราะหข์ อ้ บกพร่องใน วเิ คราะหข์ อ้ บกพรอ่ งใน วเิ คราะหข์ อ้ บกพร่องใน

ช้ินงานได้ พรอ้ มเสนอวธิ ี ชนิ้ งานได้ พร้อมเสนอ ช้ินงานได้ แต่ไม่นำเสนอ

แกไ้ ขชิ้นงานโดยใช้ความ วธิ แี กไ้ ขช้นิ งานโดยใช้ความรู้ วธิ ีแก้ไขชนิ้ งาน

รู้เกี่ยวกับการเปลีย่ น เกยี่ วกับการเปลีย่ นแปลง

แปลงภูมิอากาศโลกหรือ ภูมิอากาศโลกหรอื ความรู้

ความรู้วิทยาศาสตรอ์ น่ื ๆ วทิ ยาศาสตรอ์ น่ื ๆ ได้โดย

ได้อยา่ งมเี หตผุ ลได้ดว้ ย การช้ีแนะของครู

ตนเอง

17

แบบประเมินตนเองหลังเรยี น

คำชแี้ จง : ใหน้ ักเรยี นตอบคำถามต่อไปน้ี ใช้เวลา 10 นาที

1. เราใช้เกณฑ์ในขอ้ ใดจำแนกชนดิ ของพายหุ มนุ เขตรอ้ น

ก. บรเิ วณท้องถ่นิ ท่เี กิด ข. ความเร็วลมสูงสดุ ใกล้ศูนยก์ ลาง

ค. ความเรว็ ในการเคลื่อนที่ของพายุ ง. ความกว้างของรัศมกี ารพัดรอบศนู ย์กลาง

2. จากภาพ ขอ้ ความใดแสดงกระบวนการในวัฏจักรคารบ์ อนได้ถกู ต้อง

ก. A คือกระบวนการหายใจ ข. B คอื การสังเคราะห์ด้วยแสง

ค. C คอื กระบวนการหายใจ ง. D คือการสงั เคราะห์ด้วยแสง

3. พิจารณาขอ้ ความตอ่ ไปนี้

A. อุณหภมู อิ ากาศส่งผลต่อการเกดิ เมฆ

B. ปริมาณเมฆปกคลมุ ส่งผลต่ออุณหภูมอิ ากาศ

C. ไอน้ำในอากาศทรี่ วมตัวกนั อยา่ งหนาแน่นเกิดเป็นเมฆ

ข้อความใดถกู ต้อง

ก. A และB ข. A และC ค. B และ C ง. A B และC

4. จากภาพ อัตราเรว็ ลมในบริเวณใดมีค่าน้อยท่ีสุด

ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4

5. เหตุการณ์ใดไมไ่ ดเ้ ปน็ ผลมาจากการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลก

ก. การกัดเซาะชายฝ่งั เพิม่ มากขน้ึ ข. จำนวนวนั ทฝ่ี นตกหนกั มเี พิ่มขน้ึ

ค. กลางวนั มคี วามยาวนานข้นึ ง. ดอกไม้บางพนื้ ทีบ่ านเร็วขึ้น

ใชข้ ้อมลู ต่อไปนี้ ตอบคำถามข้อ 6-7
ชว่ งเวลาการหลอมเหลวของนำ้ แขง็ ในทะเลอารก์ ตกิ ทะเลอารก์ ตกิ บางส่วนปกคลมุ ด้วยนำ้ แข็งตลอด

ทงั้ ปี อย่างไรกต็ ามนำ้ แข็งดังกลา่ วจะมีการหลอมเหลวและแขง็ ตวั ขึน้ อยกู่ ับฤดกู าล ศนู ยข์ ้อมูลหิมะและน้ำแข็ง

18

แห่งชาติสหรัฐเก็บข้อมูลการหลอมเหลวของน้ำแข็งในทะเลอาร์กติก โดยวันท่นี ้ำแขง็ เร่มิ ตน้ การหลอมเหลวและ
สน้ิ สดุ การหลอมเหลวในแต่ละปี แสดงได้ดงั กราฟ

6. จากข้อมลู ในสถานการณ์ทกี่ ำหนดให้ สามารถลงข้อสรุปตอ่ ไปนี้ ไดห้ รือไม่ได้ จงเขยี นวงกลมล้อมรอบคำวา่

“ได้”หรอื “ไม่ได้” ในแตล่ ะขอ้ สรปุ

ข้อสรุป ได้หรอื ไมไ่ ด้

6.1 ระยะเวลาการหลอมเหลวของน้ำแขง็ ในแตล่ ะปยี าวนานขึ้น ได้/ไมไ่ ด้

6.2 ปริมาณนำ้ แข็งในทะเลอาร์กติกลดลง ได้/ไมไ่ ด้

7. ปรมิ าณน้ำแข็งปกคลมุ บรเิ วณทะเลอาร์กติก ในเดอื นพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2522 และ 2558 ควรเป็นอย่างไร
เม่ือเทียบกับเดอื นกนั ยายน ปี พ.ศ. 2522 และ 2558 ตามลำดับ เพราะเหตุใด
…ป…ร…ิมา…ณ…น…ำ้ …แ…ข็ง…ป…ก…คล…ุม…บ…ร…เิ ว…ณ…ท…ะ…เล…อ…าร…ก์ …ต…กิ …ใน…เ…ดือ…น…พ…ฤ…ษ…ภ…าค…ม…ป…ี …พ….ศ…. …25…2…2…ค…ว…รม…ีป…ร…มิ …าณ…ม…า…ก…กว…่า…ใน…เ…ดอื…น…
…ก…นั …ยา…ย…น…ป…ี …พ….ศ…. 2…5…2…2…แ…ล…ะป…ร…ิม…าณ…น…ำ้…แ…ข…็ง…ป…กค…ล…ุม…บ…ริเ…วณ……ทะ…เ…ลอ…า…ร…ก์…ต…กิ …ใน…เ…ด…ือน…พ…ฤ…ษ…ภ…าค…ม……ปี…พ….ศ….…2…55…8…
…ค…ว…รม…ี ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ปรมิ าณมากกวา่ ในเดือนกนั ยายน ปี พ.ศ. 2558 เนื่องจากเป็นชว่ งเริ่มตน้ ของการหลอมเหลวของน ้ำแขง็
8อ.ยกา่ างรไเรกบ็ ข้อมลู เกี่ยวกับการหลอมเหลวของน้ำ แขง็ ขั้วโลก มีหลากหลายวิธี เช่น การใช้ดาวเทียม การเกบ็
ขกอ้ ต็ มาูลมจาปกรสิมถาาณนนท ี่จ ร้ำิงแกขา็งปรตกิดคตล้งัมุ สเถดาือนนตี พรฤวษจภวดัาคขม้อสปรี พุป.ใศด.ถ2ูก5ต2้อ2งควรมีปริมาณมากกว่า ปี พ.ศ. 2558

ก. การเกบ็ ขอ้ มูลเพื่อศึกษาการหลอมเหลวของนำ้ แข็งขั้วโลก ควรเก็บขอ้ มูลจากบรเิ วณขัว้ โลกก็
เพยี งพอ
ข. การเก็บขอ้ มลู ไมจ่ ำเป็นต้องใชน้ กั วิทยาศาสตรเ์ ทา่ น้ัน บุคลากรในท้องถิน่ สามารถเก็บข้อมูลได้

19

ค. การเกบ็ ขอ้ มูลจากดาวเทียมกใ็ ห้ขอ้ มลู ที่ครบถ้วนเพยี งพอ ไมจ่ ำเป็นต้องเกบ็ ขอ้ มูลด้วยวธิ กี ารอ่ืน
ง. ปจั จัยท่ีสง่ ผลใหเ้ กดิ การเปล่ยี นแปลงของนำ้ แข็งข้วั โลกแตกตา่ งกันไปในแตล่ ะฤดู จึงควรเปลี่ยน
วิธีการตรวจวัดองคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศทุกฤดู

คะแนนเต็ม 8 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

20

เอกสารอา้ งองิ
ศรลี ักษณ์ ผลวฒั นะ และ คณะ . (2551). สอ่ื การเรียนร้แู ละเสรมิ สรา้ งทักษะตามมาตรฐานและ

ตัวชี้วดั ชนั้ ปกี ลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เลม่ 1. กรุงเทพฯ.นยิ มวทิ ยา.
ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ,สถาบัน. คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 1 ช้ัน

มัธยมศึกษาปีที่ 1 เลม่ 1. (2553). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพค์ ุรสุ ภาลาดพร้าว.
สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี , (2553). สถาบนั .หนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ 1 ช้ัน

มธั ยมศกึ ษา ปที ่ี 1 เลม่ 1 .กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ครุ สุ ภาลาดพร้าว.
ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี , (2561). สถาบัน.หนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ เลม่ 2 ช้ัน

มธั ยมศกึ ษา ปีท่ี 1 เลม่ 2 .กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์คุรสุ ภาลาดพรา้ ว.

21


Click to View FlipBook Version