The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบบันทึกPLCอโนชา2_66

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2024-03-14 01:03:08

แบบบันทึกPLCอโนชา2_66

แบบบันทึกPLCอโนชา2_66

บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม ที่ .......................................................... วันที่ 11 มีนาคม 2567 เรื่อง แบบรายงานผลการดำเนินงาน PLC (สิ้นสุดการดำเนินงาน) กลุ่ม “ยกระดับคุณภาพนักเรียน ให้ เก่ง ดี มีทักษะ แข็งแรง” ผ่านระบบช่วยเหลือนักเรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม ด้วยโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคมได้มีนโยบาย การขับเคลื่อนกระบวนการ PLC (ชุมชนแห่งการ เรียนรู้) สู่สถานศึกษาขึ้น เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ของครูให้มี ประสิทธิภาพ ข้าพเจ้านางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ประธานและกรรมการกลุ่ม “ยกระดับคุณภาพนักเรียน ให้ เก่ง ดี มีทักษะ แข็งแรง”ผ่านระบบช่วยเหลือนักเรียน EP2 เพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ปัญหาภาวะการ เรียนรู้ถดถอยของนักเรียน โดยการวางแผนของโรงเรียนทั้งระบบ (Whole School Planning) เพื่อสร้างความ พร้อมและความมั่นใจให้แก่บุคลากรของโรงเรียน โดยได้ดำเนินการระหว่างวันที่ 15 พฤศจิกายน 2566 -8 มีนาคม 2567 รวมทั้งสิ้น 12 ชั่วโมง บัดนี้กระบวนการ PLC ของกลุ่มได้เสร็จสิ้นแล้ว จึงขอรายงานการ ดำเนินงาน PLC ดังเอกสารแนบท้าย จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณา ลงชื่อ………………………..………..………….. (นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์) ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครุชำนาญการพิเศษ ความเห็นของผู้บริหารโรงเรียน ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ……………………..………………………. (นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม


แบบบันทึก “ยกระดับคุณภาพนักเรียน ให้ เก่ง ดี มีทักษะ แข็งแรง” ผ่านระบบช่วยเหลือนักเรียน 1. คณะกรรมการ 1. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ ประธานกรรมการ 2. นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม กรรมการ 3. นางสาวชลิสา ชำนาญวารี กรรมการ 4. นางสาวอรนุช เทพอัครพงศ์ กรรมการ 5. นายชูเกียรติ นิลโคตร กรรมการ 6. นางสาวหทัยรัตน์ ทับเปรม กรรมการ 7. นายณัฐกิตติ์ นาคพล กรรมการ/เลขานุการ ผู้เชี่ยวชาญ นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม 2. การระดมปัญหา/ความต้องการ 2.1 จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 พบว่า 1) เกิดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ด้าน ความรู้ และการเชื่อมโยงองค์ความรู้ 2) เกิดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ด้านเจตคติต่อการเรียนและวิชาที่เรียน 3) เกิดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ด้านทักษะทางวิทยาศาสตร์และทักษะการปฏิบัติ 4) การเปลี่ยนแปลงของ คุณลักษณะของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา และ 5) สภาวะทางอารมณ์ สัมพันธภาพ และสุขภาพจิตของ ผู้เรียน 3. แนวทางแก้ปัญหา 3.1 ประเมินสภาพแวดล้อมทั้งระบบ (Landscape Assessment) นัดผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับนักเรียน ประชุมหารือกันเพื่อวางแผนรับมือ 3.2 การวางแผนของโรงเรียนทั้งระบบ (Whole School Planning) เพื่อสร้างความพร้อมและความ มั่นใจให้แก่บุคลากรของโรงเรียน โรงเรียนกำหนดบทบาทหน้าที่ของครู 3.3 การสนับสนุนการพัฒนาวิชาชีพครู (Professional Development Support for Teachers) จัดอบรมครูให้เข้าใจปัญหาที่ทำให้ผู้เรียนเกิดอุปสรรคทางการเรียนรู้ 3.4 การช่วยเหลือเด็กเรียนรายบุคคล (Intervention and Support for Students) 3.5 การติดตามปรับปรุงและผลสะท้อนกลับ (Monitoring and Intervention Redesign) 4. สาเหตุ 4.1 ด้านครู 4.1.1 ผู้สอนยุคใหม่จำเป็นต้องเรียนรู้และทำความเข้าใจธรรมชาติของผู้เรียนยุค Gen Alpha เพื่อให้สามารถพัฒนาผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ และมีความสุขกับการใช้ชีวิตอยู่กับเด็กรุ่นใหม่ที่มีความ แตกต่างจากเดิม 4.1.2 ครูขาดความมั่นใจในตัวผู้เรียนว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด ครูมีหน้าที่กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา ตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพเท่านั้น 4.2 ด้านนักเรียน 4.2.1 ผู้เรียนในลักษณะ Gen Alpha เป็นเด็กรุ่นใหม่เก่ง เรียนรู้ได้เร็วคุ้นเคยกับเทคโนโลยี มาก ใช้ Social media ในการ update ข้อมูลต่างๆ นำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนรู้และการทำงาน 4.2.2 ผู้เรียนขาดความอดทนไม่ตรงเวลา รักอิสระ ขาดทักษะทางสังคม ลืมรากเหง้า มีสังคม อากาศของตนเอง


4.3 ด้านการบริหารจัดการ 4.3.1 ขาดการส่งเสริมและการนิเทศติดตามอย่างจริงจัง 5. วัตถุประสงค์ 5.1 เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับครูในสถานศึกษา 5.2 เพื่อพัฒนาแนวทางการด าเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง วิชาชีพสำหรับครูในสถานศึกษา 6. แนวทางดำเนินงาน ขั้นตอน กิจกรรม วิธีการ ระยะเวลา 1 ขั้นเตรียมการ (Plan) 1 ชม. 1. Community สร้างทีมครู 1. ประชุมปฏิบัติการ 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ และวางแผนการ ดำเนินงาน 2. ออกคำสั่งแต่งตั้งกรรมการ 3. วิเคราะห์ผู้เรียน คัดเลือกปัญหาที่จะพัฒนา 3. วิเคราะห์ผลการเรียนของนักเรียน 4. ศึกษาเทคนิค วิธีการ และสื่อการสอน 4. ประชุมปฏิบัติการ 2 ปฏิบัติตามแผน (Do) 1 ชม. จัดการเรียนรู้แบบร่วมกันสร้างสรรค์นวัตกรรม (Co-Creation Learning) 1. ระบุปัญหาที่พบในกระบวนการจัดการ เรียนรู้ 2. รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง กับปัญหาหรือนำไปสู่การแก้ปัญหานั้น 3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหาโดยจัดการ เรียนรู้แบบ แบบร่วมกันสร้างสรรค์ นวัตกรรม (Co-Creation Learning) 4. วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา 5. ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไข วิธีการแก้ปัญหาหรือพัฒนานวัตกรรมได้ 6. นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการ แก้ปัญหาหรือผลของนวัตกรรมที่พัฒนาได้ 3 การวัดและประเมินผล (Check) 7 ชม. 1. นิเทศแผนการจัดการเรียนรู้ 1. แบบนิเทศการสอน 2. นิเทศการสอน 1. คัดเลือกแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีความ โดดเด่นในกลุ่มสาระฯ 2. คัดเลือกครูที่มีรูปแบบวิธีสอนโดดเด่น ในกลุ่มสาระฯ 3..ใช้ออนไลน์เป็นสื่อกลางในการติดต่อ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างครูที่ ทำงานร่วมกัน เช่น กลุ่ม Line หรือ Facebook


ขั้นตอน กิจกรรม วิธีการ ระยะเวลา 4 สะท้อนผลเพื่อปรับปรุง แก้ไขและพัฒนาต่อ (การ ทบทวนผลการปฏิบัติงานReflection/After Action Review: AAR ) แลกเปลี่ยน/อภิปราย/เสนอแนะ(AAR) 2 ชม. 1. อภิปรายผลการสังเกตการสอนและร่วมกันหาแนว ทางแก้ไขและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น 2. ทบทวนเหตุการณ์การกระทำที่เกิดขึ้นและควรเกิดขึ้น 5 เผยแพร่นวัตกรรม 1. Page: โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม 2. Face Book:โรงเรียนสุวรรณาราม วิทยาคม 1 ชม. 7. การวัดผลและประเมินผล 7.1 สร้างแบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ 7.2 สร้างแบบสัมภาษณ์ตามกรอบที่กำหนด ดำเนินการแก้ไขตามคำแนะนำของครูที่ปรึกษา 7.3 เก็บรวบรวมและวิเคราะห์แบบสัมภาษณ์ นำข้อมูลที่ได้มายกร่างแนวทางการดำเนินงานระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ 7.4 สรุปรายงาน 8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 8.1 ได้ทราบสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับครูในสถานศึกษา 8.2 ได้แนวทางพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับครูในสถานศึกษา 8.3 ได้ข้อสนเทศสำหรับผู้บริหารและครูใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา รวม จำนวน......12...ชั่วโมง ลงชื่อ............................................................... (นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์) ครูผู้รายงาน


ขั้นตอนการวางแผน ขั้นตอนที่ 1 Community สร้างทีมครู ขั้นตอนที่ 2 Practice วิธีปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) เครื่องมือในการประเมิน - ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนได้ดำเนินการแบบมีส่วนร่วมได้ยึดวงจร PDCA ของเดมมิ่ง ในรูปแบบ SUWAN Model เพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ปัญหาภาวะการเรียนรู้ถดถอยของนักเรียน ขั้นตอนที่ 3 Reflection สะท้อนคิดเพื่อการพัฒนาการปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 4 Evaluation ประเมินเพื่อพัฒนาสมรรถนะครู ขั้นตอนที่ 5 Network Development สร้างเครือข่ายการพัฒนา


แบบบันทึกกิจกรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1 ชื่อกลุ่มกิจกรรม วิชาการ บุคลากร งบประมาณ บริหารทั่วไป กิจการนักเรียน พัฒนาผู้เรียน กิจกรรม “ยกระดับคุณภาพนักเรียน ให้ เก่ง ดี มีทักษะ แข็งแรง” ผ่านระบบช่วยเหลือนักเรียน EP2 เพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ปัญหาภาวะการ เรียนรู้ถดถอยของนักเรียน ครั้งที่ ...1................................................................ ภาคเรียนที่...2.......ปีการศึกษา.....2566........ วันเดือนปีที่จัดกิจกรรม.......15..พ.ย...66................ สถานที่.....ห้องประชุมกลุ่มบริหารงานบุคคล.... เวลา.......15.00-18.00.น............................... จำนวน.................3.............................ชั่วโมง ชื่อกิจกรรม “ยกระดับคุณภาพนักเรียน ให้ เก่ง ดี มีทักษะ แข็งแรง” ผ่านระบบช่วยเหลือนักเรียน เพื่อร่วมกันหาแนวทาง แก้ปัญหาภาวะการเรียนรู้ถดถอยของนักเรียน EP2 Community ผู้ร่วมอภิปราย Model Teacher ผู้พบปัญหา นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ Buddy Teacher ผู้ร่วมอภิปราย 1. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ ประธานกรรมการ 2. นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม กรรมการ 3. นางสาวชลิสา ชำนาญวารี กรรมการ 4. นางสาวอรนุช เทพอัครพงศ์ กรรมการ 5. นายชูเกียรติ นิลโคตร กรรมการ 6. นางสาวหทัยรัตน์ ทับเปรม กรรมการ 7. นายณัฐกิตติ์ นาคพล กรรมการ/เลขานุการ ผู้เชี่ยวชาญ นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม Mentor Coaching ผู้นำอภิปราย นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์ Recording ผู้บันทึกข้อมูล นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์


แบบบันทึกกิจกรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1 ประเด็นปัญหาที่พบ สืบเนื่องจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โควิด-19 ที่แพร่ระบาดอย่าง ต่อเนื่องตั้งแต่ปลายปี 2562 ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ รวมทั้งด้านการจัด การศึกษา ซึ่งสถานศึกษาจำเป็นต้องปิดเรียนเป็นเวลานานเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค มีการปรับ รูปแบบการเรียนการสอนเป็นรูปแบบทางไกลหรือออนไลน์และมีการปรับรูปแบบการวัดและประเมินผลผู้เรียน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ทางไกลหรือออนไลน์ผลกระทบของสถานการณ์โควิด-19 ที่เกิดขึ้นต่อระบบการศึกษามีทั้ง ผลกระทบในเชิงบวกและเชิงลบ ผลกระทบที่เกิดขึ้นของการเรียนการสอนแบบออนไลน์ในชวงสถานการณการแพรระบาดของเชื้อ ไวรัสโควิด-19 พบวา การเรียนการสอนออนไลน์สงผลต่อพัฒนาการด้านการศึกษาของนักเรียน ไม่เพียงแต่ ส่งผลกระทบทางลบในระยะสั้นเทานั้น เชน การสร้างความกังวล ความเครียด ความแปลกแยกโดดเดี่ยว ภาวะ ซึมเศรา มีความคิดและความพยายามฆาตัวตาย หรือแม้แต่มีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่ลดลง แต่ยังส่งผล กระทบระยะยาวต่อการพัฒนาการต่างๆ ของนักเรียนในชวงตอไปของชีวิตอีกด้วย อีกทั้งยังพบว่าผู้เรียนเกิด ปัญหาภาวะการเรียนรู้ถดถอยหรือการสูญเสียการเรียนรู้ Learning loss เช่น 1) เกิดภาวะถดถอยทางการ เรียนรู้ด้านความรู้ และการเชื่อมโยงองค์ความรู้ 2) เกิดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ด้านเจตคติต่อการเรียนและ วิชาที่เรียน 3) เกิดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ด้านทักษะทางวิทยาศาสตร์และทักษะการปฏิบัติ 4) การ เปลี่ยนแปลงของคุณลักษณะของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา และ 5) สภาวะทางอารมณ์ สัมพันธภาพ และ สุขภาพจิตของผู้เรียน ผู้ค้นพบปัญหาเล็งเห็นว่าหลักการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรมในการดำเนินชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 6 และมาตรา 22 แนวการจัดการศึกษายังให้ความสำคัญแก่ผู้เรียนทุกคนโดยยึดหลักว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ รวมทั้งมาตรา 23 ในการจัดการศึกษาต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณา การตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษาซึ่งเรื่องหนึ่งที่กำหนดให้ดำเนินการคือเรื่องความรู้และทักษะ ในการประกอบอาชีพและการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข การจัดกระบวนการเรียนให้คำนึงถึงความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ให้ผู้เรียนรู้จักประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา ให้รู้จักคิดเป็น ทำเป็น รวมทั้ง ปลูกฝังคุณธรรมค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชาอีกทั้งมีการประสานความร่วมมือ กับบิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อการพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ (สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2546) นอกจากจะดำเนินการด้วยการส่งเสริม สนับสนุนผู้เรียนแล้ว การ ป้องกันและช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนก็นับว่าเป็นเรื่องสำคัญและมีความจำเป็น อย่างยิ่ง เนื่องจากสภาพสังคมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว(กรมสุขภาพจิต, 2554) การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับครูใน สถานศึกษา เพื่อใช้ข้อมูลเป็นฐานในการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ให้นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึง


ประสงค์โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เน้นกระบวนการทำงานเป็นระบบ มีความชัดเจน มีการประสาน ความร่วมมือของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้งในและนอกสถานศึกษา โดยใช้หลักการการบริหารชุมชนแห่งการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อทำให้นักเรียนเป็นคนดี มีความสุข และอยู่ร่วมในสังคมอย่างมีสันติ ทั้งนี้เพื่อนำมาเป็น ข้อสนเทศสำหรับผู้บริหารและครูใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดย ใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับครูในสถานศึกษา ให้มีประสิทธิผลต่อไป สาเหตุของปัญหา สาเหตุของภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาจากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของไวรัสโควิด-19 มีสาเหตุมาจาก 1) สาเหตุจากผู้เรียน ได้แก่ แรงจูงใจ และความพร้อมในการเรียนที เปลี่ยนแปลงไป 2) สาเหตุจากครูผู้สอน ได้แก่การปรับตัวต่อการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ 3) สาเหตุ จากผู้ปกครอง ได้แก่ ความเข้าใจและการสนับสนุนการเรียนรู้ 4) สาเหตุจากโรงเรียน ได้แก่ นโยบาย และการ บริหารจัดการในช่วงการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 และ 5) สาเหตุจากสื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้ ได้แก่ ความไม่พร้อมด้านสื่อและเทคโนโลยี(อ้างอิงจากรายงานผลการศึกษาภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ ของผู้เรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานการณ์โควิด-19 : สภาพการณ์ บทเรียน และแนวทางการพัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้:มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) ความรู้และหลักการที่นำมาใช้ ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีความสำคัญเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุข ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต วัตถุประสงค์ของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน คือ เพื่อให้โรงเรียน ครูผู้รับผิดชอบรวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถ ตรวจสอบได้ องค์ประกอบของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนทั้ง 5 ด้าน ผู้ที่มีหน้าที่หลักในการดำเนินงาน คือ ครูที่ ปรึกษา โดยประสานความร่วมมือกับครูบุคลากรอื่นที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นความสำเร็จจะขึ้นอยู่กับความร่วมมือร่วม คิดร่วมทำของทุกคน โดยเฉพาะผู้บริหารจะต้องตระหนักและให้ความสำคัญให้การสนับสนุนทั้งด้านวัสดุ อุปกรณ์ส่งเสริมทั้งด้านความรู้เทคนิควิธีการเพื่อให้ครูและบุคลากรมีความรู้ความสามารถเกิดความมั่นใจ มี ขวัญและกำลังใจ เพื่อให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนด าเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ปกครอง ชุมชน สังคมเกิด การยอมรับและมีความเชื่อมั่น ซึ่งองค์ประกอบของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนดังกล่าว มีความหมาย ความสำคัญ วิธีการและขั้นตอนที่แตกต่างกันไป แต่มีความสัมพันธ์ที่เกี่ยวเนื่องกันซึ่งเอื้อให้การดูแลช่วยเหลือ นักเรียนของโรงเรียนเป็นระบบที่มีประสิทธิภาพ กิจกรรมที่ทำ/ปฏิบัติ กิจกรรม Share ครูแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน -มีสื่อ นวัตกรรม (เทคนิคการสอน/วิธีการสอน/รูปแบบการสอน) กิจกรรม Learn ครูเรียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน -พิจารณา สื่อ นวัตกรรม ที่มีความสอดคล้องกับการแก้ปัญหา


กิจกรรม Grow ทีมครู PLC มีแนวทางที่ดีในการแก้ปัญหาคุณภาพผู้เรียนร่วมกัน -เลือก สื่อ นวัตกรรม ที่มีความสอดคล้องกับการแก้ปัญหา ผลที่ได้รับจากกิจกรรม 1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (คู่มือการดำเนินงานระบบช่วยเหลือผู้เรียนให้ลดภาวะถดถอย ทางการเรียนรู้) 2. ได้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนได้ดำเนินการแบบมีส่วนร่วมได้ยึดวงจร PDCA ของ เดมมิ่งในรูปแบบ SUWAN Modelเพื่อยกระดับคุณภาพนักเรียน ให้ “เก่ง ดี มีทักษะ แข็งแรง” การนำผลที่ได้ไปใช้ 1. มีผลการพัฒนาแนวทางการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง วิชาชีพสำหรับครูในสถานศึกษา ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ด้านการคัด กรองนักเรียน ด้านการส่งเสริมนักเรียน ด้านการป้องกันและแก้ปัญหา และด้านการส่งต่อ ผลการประเมิน ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ 3. ได้บริหารจัดการศึกษาและขับเคลื่อนนโยบายสู่ปฏิบัติโดยมีจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพนักเรียนตาม แนวคิด ไม่มีเด็กคนใดถูกทอดทิ้งไว้ข้างหลัง No Child Left Behind (NCLB) เพื่อพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้มี ความสุข เป็นคนดี มีความรู้ และทักษะชีวิต ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพตามศักยภาพ และเพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตของนักเรียนจากการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ปัญหา/อุปสรรคที่พบ - กิจกรรม/ขั้นตอน/งานที่ปฏิบัติได้ดี ร่วมศึกษาปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา หรือกระบวนการที่จะใช้ในการแก้ไขปัญหา ดังนี้ 1) นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ กล่าวว่าโรงเรียนจะต้องการพัฒนาโรงเรียนสร้างเสริมสุขภาวะตามแนว ทางการพัฒนาทั้งระบบ Healthy School The Whole school approach โดยจะจัดให้มีการอบรม จิตวิทยาเชิงบวก และ 8 core skills ในวันที่ 10 พ.ค.66 ที่ผ่านมาเพื่อให้ครูและบุคลากรในโรงเรียน โดย มุ่งเน้นการฟังอย่างใส่ใจ เพื่อรับฟังและเรียนรู้จากผู้พูด และเมื่อสะท้อนความคิดออกไปก็ทำด้วยเจตนาที่ ต้องการเรียนรู้จากผู้พูดหรือต้องการแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกัน 2) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม กล่าวว่า เราควรร่วมมือกันพัฒนาโรงเรียนนำร่องระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน เพื่อพัฒนาแนวทางในการเรียนรู้พื้นฐานความเป็นมาของชีวิตนักเรียนแต่ละคนมีความแตกต่าง กันซึ่งจะทำให้รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลและส่งเสริมพัฒนาการให้เป็น “คนดี” ที่ไม่สามารถตอบสนองได้ โดย 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้นักเรียนเป็น “คนเก่ง” เท่านั้น 3) นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ กล่าวว่า ขอให้สมาชิกร่วมกันออกแบบรูปแบบการพัฒนาระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน โดยใช้SUWAN Model ตามที่เราได้ร่วมกันสร้าง รูปแบบการพัฒนาระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน โดย นายณัฐกิตติ์ นาคพล หัวหน้างานระบบช่วยเหลือนักเรียนนำคู่มือการดำเนินงาน ระบบช่วยเหลือผู้เรียน ของโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม มาทบทวนและประชาสัมพันธ์ให้ครูทุกคนใน โรงเรียนนำไปใช้เพื่อพัฒนาต่อ


4) นายณัฐกิตติ์ นาคพล กล่าวว่า ให้แต่ละคนเลือกประเด็นความสำเร็จในการทำงานระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนคนละ 1 ประเด็น 5) นายชูเกียรติ นิลโคตร กล่าวถึงวิธีการเครื่องมือการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนตั้งเป้าหมายและวาง แผนการเรียนรู้ของตนเอง สร้างความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ครูคอยกระตุ้นให้ผู้เรียนมีวินัย ทำข้อตกลงการ เรียนรู้ร่วมกันระหว่างครูกับผู้เรียนเสริมแรง ให้คำแนะนำปรึกษา กำกับติดตามให้ผู้เรียนสามารถกำกับ ตนเอง และให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องจนบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ของ ผู้เรียนที่ตั้งไว้โดยกำหนดวันไว้คือระหว่างวันที่ 12 -15 ธันวาคม 2566 เวลา 16.30 - 18.00 น. โดยจะ ดำเนินการขอความร่วมมือระหว่างบ้าน โรงเรียนและชุมชน ในการแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของ นักเรียน 6) นางสาวชลิสา ชำนาญวารีกล่าวว่า คุณครูหลายท่านไม่ทราบวิธีการสร้างความสัมพันธ์กับเด็กนักเรียน ทำ ให้เกิดการผิดใจกันอยู่บ่อยครั้งโดยไม่ตั้งใจ หลักการจิตวิทยาเชิงบวกสามารถช่วยให้คุณครูกับนักเรียนเปิด ใจเข้าหากันได้ พลิกโฉมห้องเรียนให้เป็นพื้นที่ปลอดภัย 7) นายณัฐกิตติ์ นาคพล เสนอว่า โรงเรียนจะต้องมีแบบแผนกิจกรรมในหรือนอกห้องเรียน เพื่อปลูกฝัง เสริมสร้างจุดแข็งเชิงบวกให้เด็ก ๆ ตัวอย่างโจทย์ เช่น จะจัดกิจกรรมอะไรเพื่อส่งเสริมให้เด็ก ๆ มี teamwork มากขึ้น โดยเสนอการจัดตั้งชมรม/ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE 8) นางสาวหทัยรัตน์ ทับเปรม สนับสนุนคำพูดของ นายณัฐกิตติ์ นาคพล และให้กระตุ้นโครงการห้องเรียนสี ขาวที่เป็นรูปธรรมพัฒนาต่อจากภาคเรียนที่ 1/2566 9) นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ สรุปว่า เราเริ่มจากการกำหนดทิศทางการดำเนินระบบช่วยเหลือนักเรียน อย่างเป็นรูปธรรม สร้างการดำเนินการแบบมีส่วนร่วมได้ยึดวงจร PDCA ของเดมมิ่ง ในรูปแบบ SUWAN Model ประกอบกับ การเสริมพลังบวกให้นักเรียนด้วยจิตวิทยาเชิงบวก กิจกรรม “ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม


นักเรียนแบบมีส่วนร่วม” โดยได้รับความร่วมมือระหว่างบ้าน โรงเรียนและชุมชน ในการแก้ไขพฤติกรรมที่ ไม่พึงประสงค์ของนักเรียน และการจัดตั้งชมรม/ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE สิ่งที่ต้องพัฒนาต่อไป 1.ชมรม/ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE 2.โครงการ TO BE NUMBER ONE 3.โครงการห้องศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ผลการประเมินการแก้ปัญหา กระบวนการแก้ไขปัญหา ประสบความสำเร็จ กระบวนการแก้ไขปัญหา ไม่ประสบความสำเร็จ เนื่องจาก - ข้อเสนอแนะผู้รายงานการบันทึกกิจกรรม ....................................................นัดหมายครั้งต่อไป วันที่ ….29..พ.ย...66.................................. ลงชื่อ...............................................................ผู้รายงาน (นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์) ความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................... ................... ลงชื่อผู้รับรองกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community ลงชื่อ............................................................................... (นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม


แบบบันทึกกิจกรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1 ชื่อกลุ่มกิจกรรม วิชาการ บุคลากร งบประมาณ บริหารทั่วไป กิจการนักเรียน พัฒนาผู้เรียน กิจกรรม “ยกระดับคุณภาพนักเรียน ให้ เก่ง ดี มีทักษะ แข็งแรง” ผ่านระบบช่วยเหลือนักเรียน EP2 เพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ปัญหาภาวะการ เรียนรู้ถดถอยของนักเรียน ครั้งที่ ...2................................................................ ภาคเรียนที่...2.......ปีการศึกษา.....2566........ วันเดือนปีที่จัดกิจกรรม.......29..พ.ย...66................ สถานที่.....ห้องประชุมกลุ่มบริหารงานบุคคล.... เวลา.......16.00-18.00.น............................... จำนวน.................2.............................ชั่วโมง ชื่อกิจกรรม “ยกระดับคุณภาพนักเรียน ให้ เก่ง ดี มีทักษะ แข็งแรง” ผ่านระบบช่วยเหลือนักเรียน เพื่อร่วมกันหาแนวทาง แก้ปัญหาภาวะการเรียนรู้ถดถอยของนักเรียน EP2 Community ผู้ร่วมอภิปราย Model Teacher ผู้พบปัญหา นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ Buddy Teacher ผู้ร่วมอภิปราย 1. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ ประธานกรรมการ 2. นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม กรรมการ 3. นางสาวชลิสา ชำนาญวารี กรรมการ 4. นางสาวอรนุช เทพอัครพงศ์ กรรมการ 5. นายชูเกียรติ นิลโคตร กรรมการ 6. นางสาวหทัยรัตน์ ทับเปรม กรรมการ 7. นายณัฐกิตติ์ นาคพล กรรมการ/เลขานุการ ผู้เชี่ยวชาญ นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม Mentor Coaching ผู้นำอภิปราย นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์ Recording ผู้บันทึกข้อมูล นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์


แบบบันทึกกิจกรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1 ประเด็นปัญหาที่พบ สืบเนื่องจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โควิด-19 ที่แพร่ระบาดอย่าง ต่อเนื่องตั้งแต่ปลายปี 2562 ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ รวมทั้งด้านการจัด การศึกษา ซึ่งสถานศึกษาจำเป็นต้องปิดเรียนเป็นเวลานานเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค มีการปรับ รูปแบบการเรียนการสอนเป็นรูปแบบทางไกลหรือออนไลน์และมีการปรับรูปแบบการวัดและประเมินผลผู้เรียน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ทางไกลหรือออนไลน์ผลกระทบของสถานการณ์โควิด-19 ที่เกิดขึ้นต่อระบบการศึกษามีทั้ง ผลกระทบในเชิงบวกและเชิงลบ ผลกระทบที่เกิดขึ้นของการเรียนการสอนแบบออนไลน์ในชวงสถานการณการแพรระบาดของเชื้อ ไวรัสโควิด-19 พบวา การเรียนการสอนออนไลน์สงผลต่อพัฒนาการด้านการศึกษาของนักเรียน ไม่เพียงแต่ ส่งผลกระทบทางลบในระยะสั้นเทานั้น เชน การสร้างความกังวล ความเครียด ความแปลกแยกโดดเดี่ยว ภาวะ ซึมเศรา มีความคิดและความพยายามฆาตัวตาย หรือแม้แต่มีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่ลดลง แต่ยังส่งผล กระทบระยะยาวต่อการพัฒนาการต่างๆ ของนักเรียนในชวงตอไปของชีวิตอีกด้วย อีกทั้งยังพบว่าผู้เรียนเกิด ปัญหาภาวะการเรียนรู้ถดถอยหรือการสูญเสียการเรียนรู้ Learning loss เช่น 1) เกิดภาวะถดถอยทางการ เรียนรู้ด้านความรู้ และการเชื่อมโยงองค์ความรู้ 2) เกิดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ด้านเจตคติต่อการเรียนและ วิชาที่เรียน 3) เกิดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ด้านทักษะทางวิทยาศาสตร์และทักษะการปฏิบัติ 4) การ เปลี่ยนแปลงของคุณลักษณะของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา และ 5) สภาวะทางอารมณ์ สัมพันธภาพ และ สุขภาพจิตของผู้เรียน ผู้ค้นพบปัญหาเล็งเห็นว่าหลักการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรมในการดำเนินชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 6 และมาตรา 22 แนวการจัดการศึกษายังให้ความสำคัญแก่ผู้เรียนทุกคนโดยยึดหลักว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ รวมทั้งมาตรา 23 ในการจัดการศึกษาต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณา การตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษาซึ่งเรื่องหนึ่งที่กำหนดให้ดำเนินการคือเรื่องความรู้และทักษะ ในการประกอบอาชีพและการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข การจัดกระบวนการเรียนให้คำนึงถึงความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ให้ผู้เรียนรู้จักประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา ให้รู้จักคิดเป็น ทำเป็น รวมทั้ง ปลูกฝังคุณธรรมค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชาอีกทั้งมีการประสานความร่วมมือ กับบิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อการพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ (สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2546) นอกจากจะดำเนินการด้วยการส่งเสริม สนับสนุนผู้เรียนแล้ว การ ป้องกันและช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนก็นับว่าเป็นเรื่องสำคัญและมีความจำเป็น อย่างยิ่ง เนื่องจากสภาพสังคมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว(กรมสุขภาพจิต, 2554) การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับครูใน สถานศึกษา เพื่อใช้ข้อมูลเป็นฐานในการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ให้นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึง


ประสงค์โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เน้นกระบวนการทำงานเป็นระบบ มีความชัดเจน มีการประสาน ความร่วมมือของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้งในและนอกสถานศึกษา โดยใช้หลักการการบริหารชุมชนแห่งการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อทำให้นักเรียนเป็นคนดี มีความสุข และอยู่ร่วมในสังคมอย่างมีสันติ ทั้งนี้เพื่อนำมาเป็น ข้อสนเทศสำหรับผู้บริหารและครูใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดย ใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับครูในสถานศึกษา ให้มีประสิทธิผลต่อไป สาเหตุของปัญหา สาเหตุของภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาจากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของไวรัสโควิด-19 มีสาเหตุมาจาก 1) สาเหตุจากผู้เรียน ได้แก่ แรงจูงใจ และความพร้อมในการเรียนที เปลี่ยนแปลงไป 2) สาเหตุจากครูผู้สอน ได้แก่การปรับตัวต่อการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ 3) สาเหตุ จากผู้ปกครอง ได้แก่ ความเข้าใจและการสนับสนุนการเรียนรู้ 4) สาเหตุจากโรงเรียน ได้แก่ นโยบาย และการ บริหารจัดการในช่วงการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 และ 5) สาเหตุจากสื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้ ได้แก่ ความไม่พร้อมด้านสื่อและเทคโนโลยี (อ้างอิงจากรายงานผลการศึกษาภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ ของผู้เรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานการณ์โควิด-19 : สภาพการณ์ บทเรียน และแนวทางการพัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้:มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) ความรู้และหลักการที่นำมาใช้ ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีความสำคัญเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุข ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต วัตถุประสงค์ของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน คือ เพื่อให้โรงเรียน ครูผู้รับผิดชอบรวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถ ตรวจสอบได้ องค์ประกอบของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนทั้ง 5 ด้าน ผู้ที่มีหน้าที่หลักในการดำเนินงาน คือ ครูที่ ปรึกษา โดยประสานความร่วมมือกับครูบุคลากรอื่นที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นความสำเร็จจะขึ้นอยู่กับความร่วมมือร่วม คิดร่วมทำของทุกคน โดยเฉพาะผู้บริหารจะต้องตระหนักและให้ความสำคัญให้การสนับสนุนทั้งด้านวัสดุ อุปกรณ์ส่งเสริมทั้งด้านความรู้เทคนิควิธีการเพื่อให้ครูและบุคลากรมีความรู้ความสามารถเกิดความมั่นใจ มี ขวัญและกำลังใจ เพื่อให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนด าเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ปกครอง ชุมชน สังคมเกิด การยอมรับและมีความเชื่อมั่น ซึ่งองค์ประกอบของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนดังกล่าว มีความหมาย ความสำคัญ วิธีการและขั้นตอนที่แตกต่างกันไป แต่มีความสัมพันธ์ที่เกี่ยวเนื่องกันซึ่งเอื้อให้การดูแลช่วยเหลือ นักเรียนของโรงเรียนเป็นระบบที่มีประสิทธิภาพ กิจกรรมที่ทำ/ปฏิบัติ กิจกรรม Share ครูแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน -มีสื่อ นวัตกรรม (เทคนิคการสอน/วิธีการสอน/รูปแบบการสอน) กิจกรรม Learn ครูเรียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน -พิจารณา สื่อ นวัตกรรม ที่มีความสอดคล้องกับการแก้ปัญหา


กิจกรรม Grow ทีมครู PLC มีแนวทางที่ดีในการแก้ปัญหาคุณภาพผู้เรียนร่วมกัน -เลือก สื่อ นวัตกรรม ที่มีความสอดคล้องกับการแก้ปัญหา ผลที่ได้รับจากกิจกรรม 1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (คู่มือการดำเนินงานระบบช่วยเหลือผู้เรียนให้ลดภาวะถดถอย ทางการเรียนรู้) 2. ได้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนได้ดำเนินการแบบมีส่วนร่วมได้ยึดวงจร PDCA ของ เดมมิ่งในรูปแบบ SUWAN Modelเพื่อยกระดับคุณภาพนักเรียน ให้ “เก่ง ดี มีทักษะ แข็งแรง” การนำผลที่ได้ไปใช้ 1. มีผลการพัฒนาแนวทางการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง วิชาชีพสำหรับครูในสถานศึกษา ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ด้านการคัด กรองนักเรียน ด้านการส่งเสริมนักเรียน ด้านการป้องกันและแก้ปัญหา และด้านการส่งต่อ ผลการประเมิน ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ 3. ได้บริหารจัดการศึกษาและขับเคลื่อนนโยบายสู่ปฏิบัติโดยมีจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพนักเรียนตาม แนวคิด ไม่มีเด็กคนใดถูกทอดทิ้งไว้ข้างหลัง No Child Left Behind (NCLB) เพื่อพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้มี ความสุข เป็นคนดี มีความรู้ และทักษะชีวิต ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพตามศักยภาพ และเพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตของนักเรียนจากการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ปัญหา/อุปสรรคที่พบ - กิจกรรม/ขั้นตอน/งานที่ปฏิบัติได้ดี ร่วมศึกษาปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา หรือกระบวนการที่จะใช้ในการแก้ไขปัญหา ดังนี้ 1) นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ ได้แจ้งให้สมาชิกทราบถึงกิจกรรม ค่ายพัฒนาความประพฤติ ยึดมั่นวินัย ให้กับนักเรียนม.ต้นที่มีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ณ มูลนิธิกระจกเงา เพื่อแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ของนักเรียน โดยได้นำเสนอผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม และกำหนดจัดขึ้นให้นักเรียนม.ต้น ในวันที่ 15 และนักเรียนม.ปลาย ในวันที่ 16 พ.ย. 2566 นักเรียนมีค่าใช้จ่ายเพื่อชำระให้มูลนิธิกระจกเงา โดยโรงเรียนจัดสรรรถรับส่งเพื่อความเป็นระเบียบและปลอดภัย 2) นายชูเกียรติ นิลโคตร กล่าวถึงกิจกรรมระหว่างวันที่ 12 -15 ธันวาคม 2566 เวลา 16.30 - 18.00 น. โดยจะดำเนินการขอความร่วมมือระหว่างบ้าน โรงเรียนและชุมชน ในการแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ของนักเรียน ก่อนถึงสัปดาห์ที่นัดหมายจะดำเนินการสรุปรายชื่อนักเรียนที่มีพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของ นักเรียนและมีคะแนนพฤติกรรมน้อยกว่า 40% ส่งให้หัวหน้าระดับประสานที่ปรึกษาแจ้งผู้ปกครองและ นักเรียนเพื่อมาประชุมผู้ปกครองนักเรียน กลุ่มย่อย 3) นายณัฐกิตติ์ นาคพล ได้แจ้งถึงการจัดกิจกรรม "ROADSHOW" เพิ่มภูมิคุ้มกันใจเท่าทันภัยโลกออนไลน์ ใน วันที่ 15 ธ.ค.2566 ณ ห้องประชุมสุพรรณิการ์รูปแบบของกิจกรรมจะเป็นลักษณะกิจกรรมชวนน้อง เรียนรู้เรื่อง Digital Literacy ผ่านการรับชมละคร และ ฐานกิจกรรมการเรียนรู้ 3 ฐาน โดยเลือกตัวแทน นักเรียนจากห้องเรียนเข้าร่วมกิจกรรม 4) นางสาวชลิสา ชำนาญวารีแจ้งว่า ในวันที่ 6 ธ.ค.66 จะมีการจัดกิจกรรมวันเอดส์โลก (World AIDS Day) มีการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดยจัดบูธให้ความรู้ ณ บริเวณหน้าห้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา พลศึกษา


5) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม เสนอว่า ทีมงานห้องเรียนสีขาวกำกับติดการทำงานให้ครูเพื่อให้เกิดงาน อย่างเป็นรูปธรรม และ ร่วมกันกับนายณัฐกิตติ์ นาคพล เสนอขอมีห้องชมรม/ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ผู้อำนวยการอนุมัติให้ใช้ห้องไร้พรมแดนเดิมเป็นห้องดำเนินกิจกรรม 6) นางสาวหทัยรัตน์ ทับเปรม สนับสนุนคำพูดของ นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม สิ่งที่ต้องพัฒนาต่อไป 1.งานกิจการนักเรียนเตรียมการซักซ้อมร่วมกับทีมหัวหน้าระดับถึงกิจกรรมพบผู้ปกครองกลุ่มย่อย ผลการประเมินการแก้ปัญหา กระบวนการแก้ไขปัญหา ประสบความสำเร็จ กระบวนการแก้ไขปัญหา ไม่ประสบความสำเร็จ เนื่องจาก - ข้อเสนอแนะผู้รายงานการบันทึกกิจกรรม ....................................................นัดหมายครั้งต่อไป วันที่ …19..ธ.ค...66.................................. ลงชื่อ...............................................................ผู้รายงาน (นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์) ความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อผู้รับรองกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community ลงชื่อ............................................................................... (นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม


แบบบันทึกกิจกรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1 ชื่อกลุ่มกิจกรรม วิชาการ บุคลากร งบประมาณ บริหารทั่วไป กิจการนักเรียน พัฒนาผู้เรียน กิจกรรม “ยกระดับคุณภาพนักเรียน ให้ เก่ง ดี มีทักษะ แข็งแรง” ผ่านระบบช่วยเหลือนักเรียน EP2 เพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ปัญหาภาวะการ เรียนรู้ถดถอยของนักเรียน ครั้งที่ ...3................................................................ ภาคเรียนที่...2.......ปีการศึกษา.....2566........ วันเดือนปีที่จัดกิจกรรม.......19..พ.ย...66................ สถานที่.....ห้องประชุมกลุ่มบริหารงานบุคคล.... เวลา.......15.00-18.00.น............................... จำนวน.................3.............................ชั่วโมง ชื่อกิจกรรม “ยกระดับคุณภาพนักเรียน ให้ เก่ง ดี มีทักษะ แข็งแรง” ผ่านระบบช่วยเหลือนักเรียน เพื่อร่วมกันหาแนวทาง แก้ปัญหาภาวะการเรียนรู้ถดถอยของนักเรียน EP2 Community ผู้ร่วมอภิปราย Model Teacher ผู้พบปัญหา นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ Buddy Teacher ผู้ร่วมอภิปราย 1. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ ประธานกรรมการ 2. นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม กรรมการ 3. นางสาวชลิสา ชำนาญวารี กรรมการ 4. นางสาวอรนุช เทพอัครพงศ์ กรรมการ 5. นายชูเกียรติ นิลโคตร กรรมการ 6. นางสาวหทัยรัตน์ ทับเปรม กรรมการ 7. นายณัฐกิตติ์ นาคพล กรรมการ/เลขานุการ ผู้เชี่ยวชาญ นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม Mentor Coaching ผู้นำอภิปราย นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์ Recording ผู้บันทึกข้อมูล นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์


แบบบันทึกกิจกรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1 ประเด็นปัญหาที่พบ สืบเนื่องจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โควิด-19 ที่แพร่ระบาดอย่าง ต่อเนื่องตั้งแต่ปลายปี 2562 ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ รวมทั้งด้านการจัด การศึกษา ซึ่งสถานศึกษาจำเป็นต้องปิดเรียนเป็นเวลานานเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค มีการปรับ รูปแบบการเรียนการสอนเป็นรูปแบบทางไกลหรือออนไลน์และมีการปรับรูปแบบการวัดและประเมินผลผู้เรียน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ทางไกลหรือออนไลน์ผลกระทบของสถานการณ์โควิด-19 ที่เกิดขึ้นต่อระบบการศึกษามีทั้ง ผลกระทบในเชิงบวกและเชิงลบ ผลกระทบที่เกิดขึ้นของการเรียนการสอนแบบออนไลน์ในชวงสถานการณการแพรระบาดของเชื้อ ไวรัสโควิด-19 พบวา การเรียนการสอนออนไลน์สงผลต่อพัฒนาการด้านการศึกษาของนักเรียน ไม่เพียงแต่ ส่งผลกระทบทางลบในระยะสั้นเทานั้น เชน การสร้างความกังวล ความเครียด ความแปลกแยกโดดเดี่ยว ภาวะ ซึมเศรา มีความคิดและความพยายามฆาตัวตาย หรือแม้แต่มีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่ลดลง แต่ยังส่งผล กระทบระยะยาวต่อการพัฒนาการต่างๆ ของนักเรียนในชวงตอไปของชีวิตอีกด้วย อีกทั้งยังพบว่าผู้เรียนเกิด ปัญหาภาวะการเรียนรู้ถดถอยหรือการสูญเสียการเรียนรู้ Learning loss เช่น 1) เกิดภาวะถดถอยทางการ เรียนรู้ด้านความรู้ และการเชื่อมโยงองค์ความรู้ 2) เกิดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ด้านเจตคติต่อการเรียนและ วิชาที่เรียน 3) เกิดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ด้านทักษะทางวิทยาศาสตร์และทักษะการปฏิบัติ 4) การ เปลี่ยนแปลงของคุณลักษณะของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา และ 5) สภาวะทางอารมณ์ สัมพันธภาพ และ สุขภาพจิตของผู้เรียน ผู้ค้นพบปัญหาเล็งเห็นว่าหลักการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรมในการดำเนินชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 6 และมาตรา 22 แนวการจัดการศึกษายังให้ความสำคัญแก่ผู้เรียนทุกคนโดยยึดหลักว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ รวมทั้งมาตรา 23 ในการจัดการศึกษาต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณา การตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษาซึ่งเรื่องหนึ่งที่กำหนดให้ดำเนินการคือเรื่องความรู้และทักษะ ในการประกอบอาชีพและการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข การจัดกระบวนการเรียนให้คำนึงถึงความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ให้ผู้เรียนรู้จักประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา ให้รู้จักคิดเป็น ทำเป็น รวมทั้ง ปลูกฝังคุณธรรมค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชาอีกทั้งมีการประสานความร่วมมือ กับบิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อการพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ (สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2546) นอกจากจะดำเนินการด้วยการส่งเสริม สนับสนุนผู้เรียนแล้ว การ ป้องกันและช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนก็นับว่าเป็นเรื่องสำคัญและมีความจำเป็น อย่างยิ่ง เนื่องจากสภาพสังคมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว(กรมสุขภาพจิต, 2554)


การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับครูใน สถานศึกษา เพื่อใช้ข้อมูลเป็นฐานในการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ให้นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เน้นกระบวนการทำงานเป็นระบบ มีความชัดเจน มีการประสาน ความร่วมมือของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้งในและนอกสถานศึกษา โดยใช้หลักการการบริหารชุมชนแห่งการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อทำให้นักเรียนเป็นคนดี มีความสุข และอยู่ร่วมในสังคมอย่างมีสันติ ทั้งนี้เพื่อนำมาเป็น ข้อสนเทศสำหรับผู้บริหารและครูใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดย ใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับครูในสถานศึกษา ให้มีประสิทธิผลต่อไป สาเหตุของปัญหา สาเหตุของภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาจากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของไวรัสโควิด-19 มีสาเหตุมาจาก 1) สาเหตุจากผู้เรียน ได้แก่ แรงจูงใจ และความพร้อมในการเรียนที เปลี่ยนแปลงไป 2) สาเหตุจากครูผู้สอน ได้แก่การปรับตัวต่อการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ 3) สาเหตุ จากผู้ปกครอง ได้แก่ ความเข้าใจและการสนับสนุนการเรียนรู้ 4) สาเหตุจากโรงเรียน ได้แก่ นโยบาย และการ บริหารจัดการในช่วงการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 และ 5) สาเหตุจากสื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้ ได้แก่ ความไม่พร้อมด้านสื่อและเทคโนโลยี (อ้างอิงจากรายงานผลการศึกษาภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ ของผู้เรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานการณ์โควิด-19 : สภาพการณ์ บทเรียน และแนวทางการพัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้:มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) ความรู้และหลักการที่นำมาใช้ ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีความสำคัญเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุข ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต วัตถุประสงค์ของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน คือ เพื่อให้โรงเรียน ครูผู้รับผิดชอบรวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถ ตรวจสอบได้ องค์ประกอบของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนทั้ง 5 ด้าน ผู้ที่มีหน้าที่หลักในการดำเนินงาน คือ ครูที่ ปรึกษา โดยประสานความร่วมมือกับครูบุคลากรอื่นที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นความสำเร็จจะขึ้นอยู่กับความร่วมมือร่วม คิดร่วมทำของทุกคน โดยเฉพาะผู้บริหารจะต้องตระหนักและให้ความสำคัญให้การสนับสนุนทั้งด้านวัสดุ อุปกรณ์ส่งเสริมทั้งด้านความรู้เทคนิควิธีการเพื่อให้ครูและบุคลากรมีความรู้ความสามารถเกิดความมั่นใจ มี ขวัญและกำลังใจ เพื่อให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนด าเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ปกครอง ชุมชน สังคมเกิด การยอมรับและมีความเชื่อมั่น ซึ่งองค์ประกอบของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนดังกล่าว มีความหมาย ความสำคัญ วิธีการและขั้นตอนที่แตกต่างกันไป แต่มีความสัมพันธ์ที่เกี่ยวเนื่องกันซึ่งเอื้อให้การดูแลช่วยเหลือ นักเรียนของโรงเรียนเป็นระบบที่มีประสิทธิภาพ กิจกรรมที่ทำ/ปฏิบัติ กิจกรรม Share ครูแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน -มีสื่อ นวัตกรรม (เทคนิคการสอน/วิธีการสอน/รูปแบบการสอน)


กิจกรรม Learn ครูเรียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน -พิจารณา สื่อ นวัตกรรม ที่มีความสอดคล้องกับการแก้ปัญหา กิจกรรม Grow ทีมครู PLC มีแนวทางที่ดีในการแก้ปัญหาคุณภาพผู้เรียนร่วมกัน -เลือก สื่อ นวัตกรรม ที่มีความสอดคล้องกับการแก้ปัญหา ผลที่ได้รับจากกิจกรรม 1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (คู่มือการดำเนินงานระบบช่วยเหลือผู้เรียนให้ลดภาวะถดถอย ทางการเรียนรู้) 2. ได้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนได้ดำเนินการแบบมีส่วนร่วมได้ยึดวงจร PDCA ของ เดมมิ่งในรูปแบบ SUWAN Modelเพื่อยกระดับคุณภาพนักเรียน ให้ “เก่ง ดี มีทักษะ แข็งแรง” การนำผลที่ได้ไปใช้ 1. มีผลการพัฒนาแนวทางการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง วิชาชีพสำหรับครูในสถานศึกษา ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ด้านการคัด กรองนักเรียน ด้านการส่งเสริมนักเรียน ด้านการป้องกันและแก้ปัญหา และด้านการส่งต่อ ผลการประเมิน ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ 3. ได้บริหารจัดการศึกษาและขับเคลื่อนนโยบายสู่ปฏิบัติโดยมีจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพนักเรียนตาม แนวคิด ไม่มีเด็กคนใดถูกทอดทิ้งไว้ข้างหลัง No Child Left Behind (NCLB) เพื่อพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้มี ความสุข เป็นคนดี มีความรู้ และทักษะชีวิต ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพตามศักยภาพ และเพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตของนักเรียนจากการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ปัญหา/อุปสรรคที่พบ - กิจกรรม/ขั้นตอน/งานที่ปฏิบัติได้ดี ร่วมศึกษาปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา หรือกระบวนการที่จะใช้ในการแก้ไขปัญหา ดังนี้ 1) นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ ได้แจ้งให้สมาชิกทราบถึงกิจกรรมแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของ นักเรียน ระหว่างวันที่ 12 -15 ธันวาคม 2566 เวลา 16.30 - 18.00 น. งานกิจการนักเรียน กลุ่ม บริหารงานบุคคล นำโดยนางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม เป็น ประธานในการประชุมผู้ปกครองนักเรียน กลุ่มย่อย กับกิจกรรม “ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนักเรียนแบบมี ส่วนร่วม” โดยได้รับความร่วมมือระหว่างบ้าน โรงเรียนและชุมชน ในการแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ของนักเรียน ในครั้งนี้มีผู้ปกครองเล็งเห็นถึงประโยชน์ของกิจกรรมดังกล่าวทำให้มีผู้ปกครองมาร่วมถึง 90%


2) นายชูเกียรติ นิลโคตร ได้แจ้งให้สมาชิกทราบว่า งานกิจการนักเรียน กลุ่มบริหารงานบุคคล จัดค่ายพัฒนา ความประพฤติ ยึดมั่นวินัย ให้กับนักเรียนที่มีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ณ มูลนิธิกระจกเงา เป็นไปด้วย ความเรียบร้อย 3) นายณัฐกิตติ์ นาคพล ได้แจ้งถึงการจัดกิจกรรม "ROADSHOW" เพิ่มภูมิคุ้มกันใจเท่าทันภัยโลกออนไลน์ ใน วันที่ 15 ธ.ค.2566 ณ ห้องประชุมสุพรรณิการ์รูปแบบของกิจกรรมจะเป็นลักษณะกิจกรรมชวนน้อง เรียนรู้เรื่อง Digital Literacy ผ่านการรับชมละคร และ ฐานกิจกรรมการเรียนรู้ 3 ฐาน โดยเลือกตัวแทน นักเรียนจากห้องเรียนเข้าร่วมกิจกรรมเงา เป็นไปด้วยความเรียบร้อยบรรลุตามวัตถุประสงค์


4) นางสาวชลิสา ชำนาญวารีแจ้งว่า ในวันที่ 6 ธ.ค.66 จะมีการจัดกิจกรรมวันเอดส์โลก (World AIDS Day) มีการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดยจัดบูธให้ความรู้ ณ บริเวณหน้าห้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา พลศึกษาเป็นไปด้วยความเรียบร้อยบรรลุตามวัตถุประสงค์ 5) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม แจ้งให้สมาชิกทราบว่า เมื่อเดินสำรวจห้องเรียนห้องเรียนสีขาวกำกับติดการ ทำงานให้ครูเพื่อให้เกิดงานอย่างเป็นรูปธรรม พบว่าครูที่ปรึกษา/ครูแนะแนว และคณะครูมีภาระหน้าที่ ในการขับเคลื่อนกิจกรรมให้ความรู้แก่นักเรียน และให้คำปรึกษา แนะนำ ในการดำเนินงานห้องเรียนสีขาว โดยมีร่องรอยบันทึกการปฏิบัติงานห้องเรียนสีขาว ในแต่ละชั้นเรียน 6) นางสาวหทัยรัตน์ ทับเปรม แจ้งว่าลงตรวจสภาพห้องเรียนสีขาว ประกอบด้วยมีแหล่งเรียนรู้แผนผัง โครงสร้าง คติธรรมประจำห้อง ทุกห้องเรียน


7) นายณัฐกิตติ์ นาคพล ได้แจ้งถึงการจัดกิจกรรม ประชุมผู้ปกครอง สานสัมพันธ์ บ้าน-โรงเรียน เพื่อลูก (Classroom Meeting) ครั้งที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 วันที่ 14 ม.ค.2567 โดยในครั้งที่งาน ระบบช่วยเหลือนักเรียนร่วมกับ งานกิจการนักเรียน มีเอกสาร MOU ให้ผู้ปกครองลงนามร่วมกับทาง โรงเรียนโดยมีแนวทางเพื่อความปลอดภัย ป้องกันอันตรายจากสารเสพติด ของนักเรียนในโรงเรียน สิ่งที่ต้องพัฒนาต่อไป 1.งานกิจการนักเรียนเตรียมเอกสาร MOU ที่ปรับปรุงใหม่ ผลการประเมินการแก้ปัญหา กระบวนการแก้ไขปัญหา ประสบความสำเร็จ กระบวนการแก้ไขปัญหา ไม่ประสบความสำเร็จ เนื่องจาก - ข้อเสนอแนะผู้รายงานการบันทึกกิจกรรม ....................................................นัดหมายครั้งต่อไป วันที่ …27..ม.ค...67.................................. ลงชื่อ...............................................................ผู้รายงาน (นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์) ความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อผู้รับรองกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community ลงชื่อ............................................................................... (นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม


แบบบันทึกกิจกรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1 ชื่อกลุ่มกิจกรรม วิชาการ บุคลากร งบประมาณ บริหารทั่วไป กิจการนักเรียน พัฒนาผู้เรียน กิจกรรม “ยกระดับคุณภาพนักเรียน ให้ เก่ง ดี มีทักษะ แข็งแรง” ผ่านระบบช่วยเหลือนักเรียน EP2 เพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ปัญหาภาวะการ เรียนรู้ถดถอยของนักเรียน ครั้งที่ ...4................................................................ ภาคเรียนที่...2.......ปีการศึกษา.....2566........ วันเดือนปีที่จัดกิจกรรม.......27..ม.ค...67................ สถานที่.....ห้องประชุมกลุ่มบริหารงานบุคคล.... เวลา.......16.00-18.00.น............................... จำนวน.................2.............................ชั่วโมง ชื่อกิจกรรม “ยกระดับคุณภาพนักเรียน ให้ เก่ง ดี มีทักษะ แข็งแรง” ผ่านระบบช่วยเหลือนักเรียน เพื่อร่วมกันหาแนวทาง แก้ปัญหาภาวะการเรียนรู้ถดถอยของนักเรียน EP2 Community ผู้ร่วมอภิปราย Model Teacher ผู้พบปัญหา นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ Buddy Teacher ผู้ร่วมอภิปราย 1. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ ประธานกรรมการ 2. นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม กรรมการ 3. นางสาวชลิสา ชำนาญวารี กรรมการ 4. นางสาวอรนุช เทพอัครพงศ์ กรรมการ 5. นายชูเกียรติ นิลโคตร กรรมการ 6. นางสาวหทัยรัตน์ ทับเปรม กรรมการ 7. นายณัฐกิตติ์ นาคพล กรรมการ/เลขานุการ ผู้เชี่ยวชาญ นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม Mentor Coaching ผู้นำอภิปราย นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์ Recording ผู้บันทึกข้อมูล นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์


แบบบันทึกกิจกรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1 ประเด็นปัญหาที่พบ สืบเนื่องจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โควิด-19 ที่แพร่ระบาดอย่าง ต่อเนื่องตั้งแต่ปลายปี 2562 ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ รวมทั้งด้านการจัด การศึกษา ซึ่งสถานศึกษาจำเป็นต้องปิดเรียนเป็นเวลานานเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค มีการปรับ รูปแบบการเรียนการสอนเป็นรูปแบบทางไกลหรือออนไลน์และมีการปรับรูปแบบการวัดและประเมินผลผู้เรียน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ทางไกลหรือออนไลน์ผลกระทบของสถานการณ์โควิด-19 ที่เกิดขึ้นต่อระบบการศึกษามีทั้ง ผลกระทบในเชิงบวกและเชิงลบ ผลกระทบที่เกิดขึ้นของการเรียนการสอนแบบออนไลน์ในชวงสถานการณการแพรระบาดของเชื้อ ไวรัสโควิด-19 พบวา การเรียนการสอนออนไลน์สงผลต่อพัฒนาการด้านการศึกษาของนักเรียน ไม่เพียงแต่ ส่งผลกระทบทางลบในระยะสั้นเทานั้น เชน การสร้างความกังวล ความเครียด ความแปลกแยกโดดเดี่ยว ภาวะ ซึมเศรา มีความคิดและความพยายามฆาตัวตาย หรือแม้แต่มีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่ลดลง แต่ยังส่งผล กระทบระยะยาวต่อการพัฒนาการต่างๆ ของนักเรียนในชวงตอไปของชีวิตอีกด้วย อีกทั้งยังพบว่าผู้เรียนเกิด ปัญหาภาวะการเรียนรู้ถดถอยหรือการสูญเสียการเรียนรู้ Learning loss เช่น 1) เกิดภาวะถดถอยทางการ เรียนรู้ด้านความรู้ และการเชื่อมโยงองค์ความรู้ 2) เกิดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ด้านเจตคติต่อการเรียนและ วิชาที่เรียน 3) เกิดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ด้านทักษะทางวิทยาศาสตร์และทักษะการปฏิบัติ 4) การ เปลี่ยนแปลงของคุณลักษณะของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา และ 5) สภาวะทางอารมณ์ สัมพันธภาพ และ สุขภาพจิตของผู้เรียน ผู้ค้นพบปัญหาเล็งเห็นว่าหลักการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรมในการดำเนินชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 6 และมาตรา 22 แนวการจัดการศึกษายังให้ความสำคัญแก่ผู้เรียนทุกคนโดยยึดหลักว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ รวมทั้งมาตรา 23 ในการจัดการศึกษาต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณา การตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษาซึ่งเรื่องหนึ่งที่กำหนดให้ดำเนินการคือเรื่องความรู้และทักษะ ในการประกอบอาชีพและการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข การจัดกระบวนการเรียนให้คำนึงถึงความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ให้ผู้เรียนรู้จักประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา ให้รู้จักคิดเป็น ทำเป็น รวมทั้ง ปลูกฝังคุณธรรมค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชาอีกทั้งมีการประสานความร่วมมือ กับบิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อการพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ (สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2546) นอกจากจะดำเนินการด้วยการส่งเสริม สนับสนุนผู้เรียนแล้ว การ


ป้องกันและช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนก็นับว่าเป็นเรื่องสำคัญและมีความจำเป็น อย่างยิ่ง เนื่องจากสภาพสังคมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว(กรมสุขภาพจิต, 2554) การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับครูใน สถานศึกษา เพื่อใช้ข้อมูลเป็นฐานในการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ให้นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เน้นกระบวนการทำงานเป็นระบบ มีความชัดเจน มีการประสาน ความร่วมมือของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้งในและนอกสถานศึกษา โดยใช้หลักการการบริหารชุมชนแห่งการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อทำให้นักเรียนเป็นคนดี มีความสุข และอยู่ร่วมในสังคมอย่างมีสันติ ทั้งนี้เพื่อนำมาเป็น ข้อสนเทศสำหรับผู้บริหารและครูใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดย ใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับครูในสถานศึกษา ให้มีประสิทธิผลต่อไป สาเหตุของปัญหา สาเหตุของภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาจากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของไวรัสโควิด-19 มีสาเหตุมาจาก 1) สาเหตุจากผู้เรียน ได้แก่ แรงจูงใจ และความพร้อมในการเรียนที เปลี่ยนแปลงไป 2) สาเหตุจากครูผู้สอน ได้แก่การปรับตัวต่อการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ 3) สาเหตุ จากผู้ปกครอง ได้แก่ ความเข้าใจและการสนับสนุนการเรียนรู้ 4) สาเหตุจากโรงเรียน ได้แก่ นโยบาย และการ บริหารจัดการในช่วงการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 และ 5) สาเหตุจากสื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้ ได้แก่ ความไม่พร้อมด้านสื่อและเทคโนโลยี (อ้างอิงจากรายงานผลการศึกษาภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ ของผู้เรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานการณ์โควิด-19 : สภาพการณ์ บทเรียน และแนวทางการพัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้:มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) ความรู้และหลักการที่นำมาใช้ ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีความสำคัญเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุข ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต วัตถุประสงค์ของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน คือ เพื่อให้โรงเรียน ครูผู้รับผิดชอบรวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถ ตรวจสอบได้ องค์ประกอบของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนทั้ง 5 ด้าน ผู้ที่มีหน้าที่หลักในการดำเนินงาน คือ ครูที่ ปรึกษา โดยประสานความร่วมมือกับครูบุคลากรอื่นที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นความสำเร็จจะขึ้นอยู่กับความร่วมมือร่วม คิดร่วมทำของทุกคน โดยเฉพาะผู้บริหารจะต้องตระหนักและให้ความสำคัญให้การสนับสนุนทั้งด้านวัสดุ อุปกรณ์ส่งเสริมทั้งด้านความรู้เทคนิควิธีการเพื่อให้ครูและบุคลากรมีความรู้ความสามารถเกิดความมั่นใจ มี ขวัญและกำลังใจ เพื่อให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนด าเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ปกครอง ชุมชน สังคมเกิด การยอมรับและมีความเชื่อมั่น ซึ่งองค์ประกอบของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนดังกล่าว มีความหมาย ความสำคัญ วิธีการและขั้นตอนที่แตกต่างกันไป แต่มีความสัมพันธ์ที่เกี่ยวเนื่องกันซึ่งเอื้อให้การดูแลช่วยเหลือ นักเรียนของโรงเรียนเป็นระบบที่มีประสิทธิภาพ กิจกรรมที่ทำ/ปฏิบัติ


กิจกรรม Share ครูแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน -มีสื่อ นวัตกรรม (เทคนิคการสอน/วิธีการสอน/รูปแบบการสอน) กิจกรรม Learn ครูเรียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน -พิจารณา สื่อ นวัตกรรม ที่มีความสอดคล้องกับการแก้ปัญหา กิจกรรม Grow ทีมครู PLC มีแนวทางที่ดีในการแก้ปัญหาคุณภาพผู้เรียนร่วมกัน -เลือก สื่อ นวัตกรรม ที่มีความสอดคล้องกับการแก้ปัญหา ผลที่ได้รับจากกิจกรรม 1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (คู่มือการดำเนินงานระบบช่วยเหลือผู้เรียนให้ลดภาวะถดถอย ทางการเรียนรู้) 2. ได้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนได้ดำเนินการแบบมีส่วนร่วมได้ยึดวงจร PDCA ของ เดมมิ่งในรูปแบบ SUWAN Modelเพื่อยกระดับคุณภาพนักเรียน ให้ “เก่ง ดี มีทักษะ แข็งแรง” การนำผลที่ได้ไปใช้ 1. มีผลการพัฒนาแนวทางการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง วิชาชีพสำหรับครูในสถานศึกษา ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ด้านการคัด กรองนักเรียน ด้านการส่งเสริมนักเรียน ด้านการป้องกันและแก้ปัญหา และด้านการส่งต่อ ผลการประเมิน ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ 3. ได้บริหารจัดการศึกษาและขับเคลื่อนนโยบายสู่ปฏิบัติโดยมีจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพนักเรียนตาม แนวคิด ไม่มีเด็กคนใดถูกทอดทิ้งไว้ข้างหลัง No Child Left Behind (NCLB) เพื่อพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้มี ความสุข เป็นคนดี มีความรู้ และทักษะชีวิต ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพตามศักยภาพ และเพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตของนักเรียนจากการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ปัญหา/อุปสรรคที่พบ - กิจกรรม/ขั้นตอน/งานที่ปฏิบัติได้ดี ร่วมศึกษาปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา หรือกระบวนการที่จะใช้ในการแก้ไขปัญหา ดังนี้ 1) นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ ได้แจ้งให้สมาชิกทราบว่าในวันที่ 18 ม.ค.2566 งานอนามัยร่วมกับงาน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เข้ารับการประเมินผลกระบวนการพัฒนาโรงเรียนโครงการพัฒนาโรงเรียน เสริมสร้างสุขภาวะตามแนวทางการพัฒนาทั้งระบบระยะที่ 3 ส่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้กับ นางสาวชลิสา ชำนาญวารีเพื่อตอบโจทย์ “ยกระดับคุณภาพนักเรียน ให้ เก่ง ดี มีทักษะ แข็งแรง”


2) นายชูเกียรติ นิลโคตร ได้แจ้งให้สมาชิกทราบว่า งานกิจการนักเรียน กลุ่มบริหารงานบุคคล จัดค่ายพัฒนา ความประพฤติ ยึดมั่นวินัย ให้กับนักเรียนที่มีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ครั้งที่ 2 ในช่วงปิดภาคเรียน ระหว่างวันที่ 6-7 มีนาคม 2567 3) นายณัฐกิตติ์ นาคพล ได้แจ้งถึงการจัดกิจกรรม ประชุมผู้ปกครอง สานสัมพันธ์ บ้าน-โรงเรียน เพื่อลูก (Classroom Meeting) ครั้งที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 วันที่ 14 ม.ค.2567 เสร็จสิ้นบรรลุ วัตถุประสงค์ที่วางไว้


4) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม ได้แจ้งให้สมาชิกทราบว่าคณะกรรมการสภานักเรียน และกลุ่มนักเรียนTo Be Number One โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม จัดกิจกรรมอำลานักเรียน ม.3 และม..6 ณ สนามหน้าเสา ธงโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม ในวันที่ 20 ก.พ.2567 5) นายณัฐกิตติ์ นาคพล ได้แจ้งถึงปฏิทินการส่งงานของงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนดังนี้1. เอกสารรายงานประชุมผู้ปกครอง 2/66 2. เอกสารรายงานห้องเรียนสีขาว โดยกำหนดส่งภายในวันที่ 15 มีนาคม 2567 ณ ห้องกลุ่มบริหารงานบุคคล สิ่งที่ต้องพัฒนาต่อไป - ผลการประเมินการแก้ปัญหา กระบวนการแก้ไขปัญหา ประสบความสำเร็จ กระบวนการแก้ไขปัญหา ไม่ประสบความสำเร็จ เนื่องจาก - ข้อเสนอแนะผู้รายงานการบันทึกกิจกรรม ....................................................นัดหมายครั้งต่อไป วันที่ …8..มี.ค...67.................................. ลงชื่อ...............................................................ผู้รายงาน (นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์) ความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อผู้รับรองกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community ลงชื่อ............................................................................... (นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม


แบบบันทึกกิจกรรม แบบบันทึกกิจกรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1 ชื่อกลุ่มกิจกรรม วิชาการ บุคลากร งบประมาณ บริหารทั่วไป กิจการนักเรียน พัฒนาผู้เรียน กิจกรรม “ยกระดับคุณภาพนักเรียน ให้ เก่ง ดี มีทักษะ แข็งแรง” ผ่านระบบช่วยเหลือนักเรียน EP2 เพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ปัญหาภาวะการ เรียนรู้ถดถอยของนักเรียน ครั้งที่ ...5................................................................ ภาคเรียนที่...2.......ปีการศึกษา.....2566........ วันเดือนปีที่จัดกิจกรรม.......8..มี.ค...67................ สถานที่.....ห้องประชุมกลุ่มบริหารงานบุคคล.... เวลา.......16.00-18.00.น............................... จำนวน.................2.............................ชั่วโมง ชื่อกิจกรรม “ยกระดับคุณภาพนักเรียน ให้ เก่ง ดี มีทักษะ แข็งแรง” ผ่านระบบช่วยเหลือนักเรียน เพื่อร่วมกันหาแนวทาง แก้ปัญหาภาวะการเรียนรู้ถดถอยของนักเรียน EP2 Community ผู้ร่วมอภิปราย Model Teacher ผู้พบปัญหา นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ Buddy Teacher ผู้ร่วมอภิปราย 1. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ ประธานกรรมการ 2. นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม กรรมการ 3. นางสาวชลิสา ชำนาญวารี กรรมการ 4. นางสาวอรนุช เทพอัครพงศ์ กรรมการ 5. นายชูเกียรติ นิลโคตร กรรมการ 6. นางสาวหทัยรัตน์ ทับเปรม กรรมการ 7. นายณัฐกิตติ์ นาคพล กรรมการ/เลขานุการ ผู้เชี่ยวชาญ นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม Mentor Coaching ผู้นำอภิปราย นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์ Recording ผู้บันทึกข้อมูล นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์


ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1 ประเด็นปัญหาที่พบ สืบเนื่องจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โควิด-19 ที่แพร่ระบาดอย่าง ต่อเนื่องตั้งแต่ปลายปี 2562 ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ รวมทั้งด้านการจัด การศึกษา ซึ่งสถานศึกษาจำเป็นต้องปิดเรียนเป็นเวลานานเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค มีการปรับ รูปแบบการเรียนการสอนเป็นรูปแบบทางไกลหรือออนไลน์และมีการปรับรูปแบบการวัดและประเมินผลผู้เรียน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ทางไกลหรือออนไลน์ผลกระทบของสถานการณ์โควิด-19 ที่เกิดขึ้นต่อระบบการศึกษามีทั้ง ผลกระทบในเชิงบวกและเชิงลบ ผลกระทบที่เกิดขึ้นของการเรียนการสอนแบบออนไลน์ในชวงสถานการณการแพรระบาดของเชื้อ ไวรัสโควิด-19 พบวา การเรียนการสอนออนไลน์สงผลต่อพัฒนาการด้านการศึกษาของนักเรียน ไม่เพียงแต่ ส่งผลกระทบทางลบในระยะสั้นเทานั้น เชน การสร้างความกังวล ความเครียด ความแปลกแยกโดดเดี่ยว ภาวะ ซึมเศรา มีความคิดและความพยายามฆาตัวตาย หรือแม้แต่มีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่ลดลง แต่ยังส่งผล กระทบระยะยาวต่อการพัฒนาการต่างๆ ของนักเรียนในชวงตอไปของชีวิตอีกด้วย อีกทั้งยังพบว่าผู้เรียนเกิด ปัญหาภาวะการเรียนรู้ถดถอยหรือการสูญเสียการเรียนรู้ Learning loss เช่น 1) เกิดภาวะถดถอยทางการ เรียนรู้ด้านความรู้ และการเชื่อมโยงองค์ความรู้ 2) เกิดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ด้านเจตคติต่อการเรียนและ วิชาที่เรียน 3) เกิดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ด้านทักษะทางวิทยาศาสตร์และทักษะการปฏิบัติ 4) การ เปลี่ยนแปลงของคุณลักษณะของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา และ 5) สภาวะทางอารมณ์ สัมพันธภาพ และ สุขภาพจิตของผู้เรียน ผู้ค้นพบปัญหาเล็งเห็นว่าหลักการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรมในการดำเนินชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 6 และมาตรา 22 แนวการจัดการศึกษายังให้ความสำคัญแก่ผู้เรียนทุกคนโดยยึดหลักว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ รวมทั้งมาตรา 23 ในการจัดการศึกษาต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณา การตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษาซึ่งเรื่องหนึ่งที่กำหนดให้ดำเนินการคือเรื่องความรู้และทักษะ ในการประกอบอาชีพและการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข การจัดกระบวนการเรียนให้คำนึงถึงความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ให้ผู้เรียนรู้จักประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา ให้รู้จักคิดเป็น ทำเป็น รวมทั้ง ปลูกฝังคุณธรรมค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชาอีกทั้งมีการประสานความร่วมมือ กับบิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อการพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ (สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2546) นอกจากจะดำเนินการด้วยการส่งเสริม สนับสนุนผู้เรียนแล้ว การ ป้องกันและช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนก็นับว่าเป็นเรื่องสำคัญและมีความจำเป็น อย่างยิ่ง เนื่องจากสภาพสังคมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว(กรมสุขภาพจิต, 2554) การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับครูใน สถานศึกษา เพื่อใช้ข้อมูลเป็นฐานในการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ให้นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เน้นกระบวนการทำงานเป็นระบบ มีความชัดเจน มีการประสาน


ความร่วมมือของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้งในและนอกสถานศึกษา โดยใช้หลักการการบริหารชุมชนแห่งการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อทำให้นักเรียนเป็นคนดี มีความสุข และอยู่ร่วมในสังคมอย่างมีสันติ ทั้งนี้เพื่อนำมาเป็น ข้อสนเทศสำหรับผู้บริหารและครูใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดย ใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับครูในสถานศึกษา ให้มีประสิทธิผลต่อไป สาเหตุของปัญหา สาเหตุของภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาจากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของไวรัสโควิด-19 มีสาเหตุมาจาก 1) สาเหตุจากผู้เรียน ได้แก่ แรงจูงใจ และความพร้อมในการเรียนที เปลี่ยนแปลงไป 2) สาเหตุจากครูผู้สอน ได้แก่การปรับตัวต่อการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ 3) สาเหตุ จากผู้ปกครอง ได้แก่ ความเข้าใจและการสนับสนุนการเรียนรู้ 4) สาเหตุจากโรงเรียน ได้แก่ นโยบาย และการ บริหารจัดการในช่วงการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 และ 5) สาเหตุจากสื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้ ได้แก่ ความไม่พร้อมด้านสื่อและเทคโนโลยี (อ้างอิงจากรายงานผลการศึกษาภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ ของผู้เรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานการณ์โควิด-19 : สภาพการณ์ บทเรียน และแนวทางการพัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้:มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) ความรู้และหลักการที่นำมาใช้ ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีความสำคัญเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุข ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต วัตถุประสงค์ของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน คือ เพื่อให้โรงเรียน ครูผู้รับผิดชอบรวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถ ตรวจสอบได้ องค์ประกอบของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนทั้ง 5 ด้าน ผู้ที่มีหน้าที่หลักในการดำเนินงาน คือ ครูที่ ปรึกษา โดยประสานความร่วมมือกับครูบุคลากรอื่นที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นความสำเร็จจะขึ้นอยู่กับความร่วมมือร่วม คิดร่วมทำของทุกคน โดยเฉพาะผู้บริหารจะต้องตระหนักและให้ความสำคัญให้การสนับสนุนทั้งด้านวัสดุ อุปกรณ์ส่งเสริมทั้งด้านความรู้เทคนิควิธีการเพื่อให้ครูและบุคลากรมีความรู้ความสามารถเกิดความมั่นใจ มี ขวัญและกำลังใจ เพื่อให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนด าเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ปกครอง ชุมชน สังคมเกิด การยอมรับและมีความเชื่อมั่น ซึ่งองค์ประกอบของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนดังกล่าว มีความหมาย ความสำคัญ วิธีการและขั้นตอนที่แตกต่างกันไป แต่มีความสัมพันธ์ที่เกี่ยวเนื่องกันซึ่งเอื้อให้การดูแลช่วยเหลือ นักเรียนของโรงเรียนเป็นระบบที่มีประสิทธิภาพ กิจกรรมที่ทำ/ปฏิบัติ กิจกรรม Share ครูแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน -มีสื่อ นวัตกรรม (เทคนิคการสอน/วิธีการสอน/รูปแบบการสอน) กิจกรรม Learn ครูเรียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน -พิจารณา สื่อ นวัตกรรม ที่มีความสอดคล้องกับการแก้ปัญหา กิจกรรม Grow ทีมครู PLC มีแนวทางที่ดีในการแก้ปัญหาคุณภาพผู้เรียนร่วมกัน


-เลือก สื่อ นวัตกรรม ที่มีความสอดคล้องกับการแก้ปัญหา ผลที่ได้รับจากกิจกรรม 1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (คู่มือการดำเนินงานระบบช่วยเหลือผู้เรียนให้ลดภาวะถดถอย ทางการเรียนรู้) 2. ได้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนได้ดำเนินการแบบมีส่วนร่วมได้ยึดวงจร PDCA ของ เดมมิ่งในรูปแบบ SUWAN Modelเพื่อยกระดับคุณภาพนักเรียน ให้ “เก่ง ดี มีทักษะ แข็งแรง” การนำผลที่ได้ไปใช้ 1. มีผลการพัฒนาแนวทางการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง วิชาชีพสำหรับครูในสถานศึกษา ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ด้านการคัด กรองนักเรียน ด้านการส่งเสริมนักเรียน ด้านการป้องกันและแก้ปัญหา และด้านการส่งต่อ ผลการประเมิน ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ 3. ได้บริหารจัดการศึกษาและขับเคลื่อนนโยบายสู่ปฏิบัติโดยมีจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพนักเรียนตาม แนวคิด ไม่มีเด็กคนใดถูกทอดทิ้งไว้ข้างหลัง No Child Left Behind (NCLB) เพื่อพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้มี ความสุข เป็นคนดี มีความรู้ และทักษะชีวิต ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพตามศักยภาพ และเพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตของนักเรียนจากการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ปัญหา/อุปสรรคที่พบ - กิจกรรม/ขั้นตอน/งานที่ปฏิบัติได้ดี ร่วมศึกษาปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา หรือกระบวนการที่จะใช้ในการแก้ไขปัญหา ดังนี้ 1) นายชูเกียรติ นิลโคตร ได้แจ้งให้สมาชิกทราบว่า งานกิจการนักเรียน กลุ่มบริหารงานบุคคล จัดค่ายพัฒนา ความประพฤติ ยึดมั่นวินัย ให้กับนักเรียนที่มีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ครั้งที่ 2 ในช่วงปิดภาคเรียน ระหว่างวันที่ 6-7 มีนาคม 2567 เป็นด้วยความเรียบร้อย แต่ยังคงมีนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมค่ายพัฒนา ความประพฤติยึดมั่นวินัยไม่ครบ 2 วัน คือเข้าร่วมกิจกรรม 1 วัน และไม่เข้าร่วมกิจกรรม จึงประสานให้ คุณครูที่ปรึกษาแจ้งนักเรียนกลุ่มดังกล่าว มาทำกิจกรรมดังกล่าวในวันจันทร์ที่ 11-15 มีนาคม 2567 นี้ เวลา 07:50 น. รวมทั้งสิ้น 5 วัน


2) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม ได้แจ้งให้สมาชิกทราบว่าคณะกรรมการสภานักเรียน และกลุ่มนักเรียนTo Be Number One โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม จัดกิจกรรมอำลานักเรียน ม.3 และม..6 ณ สนามหน้าเสา ธงโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม ในวันที่ 20 ก.พ.2567 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย 3) นายณัฐกิตติ์ นาคพล ได้แจ้งถึงให้เพื่อนสมาชิกทราบว่างานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ได้เข้าอบรม“ครู ที่ปรึกษาทางใจ รุ่นที่ 1 สพม.กท1. ในวันที่ 29 ก.พ.67 สิ่งที่ต้องพัฒนาต่อไป มาตรการเสริมแรงห้องเรียนสีขาว ผลการประเมินการแก้ปัญหา กระบวนการแก้ไขปัญหา ประสบความสำเร็จ กระบวนการแก้ไขปัญหา ไม่ประสบความสำเร็จ เนื่องจาก -


ข้อเสนอแนะผู้รายงานการบันทึกกิจกรรม ....................................................นัดหมายครั้งต่อไป -.................................. ลงชื่อ...............................................................ผู้รายงาน (นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์) ความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อผู้รับรองกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community ลงชื่อ............................................................................... (นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม


Click to View FlipBook Version