The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดที่ 1 เราจะเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2022-04-23 08:12:34

ชุดที่ 1 เราจะเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร

ชุดที่ 1 เราจะเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร

ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ ตามแนวคิดโยนิโสมนสกิ าร

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรอ่ื งเราจะเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์อย่างไร

วิชาวิทยาศาสตร์ 1 ว21101

สอนโดย
นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรัตน์

ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ

ปีการศกึ ษา 2565

สำหรบั นกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม
ช่ือ-สกุล..................................................ชั้น.........เลขที่........

สารบญั หน้า

บทนำ................................................................................................................................ ก
คำชแี้ จงการใชช้ ุดกจิ กรรม................................................................................................ ข
แบบประเมนิ ตนเองกอ่ นเรยี น........................................................................................... 1
หนว่ ยการเรยี นรูเ้ ร่ือง เราเรียนรู้วิทยาศาสตรอ์ ย่างไร................................................. 1
1
ข้ันพัฒนาปญั ญา 3
-ความสำคญั และความหมายของวทิ ยาศาสตร์.......................... 4
-กระบวนการทำงานของนักวิทยาศาสตร์.................................. 10
-กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์................................................. 13
-กิจกรรม ร่วม กนั คิด 1 14
-กิจกรรม รว่ ม กนั คดิ 2 16
-กิจกรรม รว่ ม กัน คดิ 3 16
18
ขั้นนำปญั ญาพัฒนาความคิด 18
-กิจกรรม นำ้ สีเคลื่อนท่อี ย่างไร………………………………………… 20
22
ขัน้ นำปัญญาพัฒนาตนเอง
-กิจกรรม จรวดกระดาษของใครบินไดน้ านที่สุด…………………

แบบประเมนิ ตนเองหลังเรียน............................................................................................
เอกสารอา้ งองิ ...................................................................................................................

บทนำ
ชุดกิจกรรมที่ผู้เรียนจะได้ศึกษาน้ีเรียกว่าชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ หน่วย
การเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เราจะเรยี นรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร เป็นสื่อวิทยาศาสตร์ท่ีเน้นให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด
แก้ปัญหาอย่างมีระบบ พบคำตอบของปัญหาหรือสถานการณ์น้ันด้วยตนเอง ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วย
ตนเอง ไดค้ ิดและลงมือปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตา่ ง ๆ และ เพือ่ ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สุดนักเรียน
ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสกิ ารเน้ือหาส่วนใหญ่เน้นการให้นักเรียนสามารถนำไป
ประยุกต์ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันเพ่ือให้นักเรียนสามารถเรียนรู้เน้ือหาได้ด้วยตนเองจึงได้เรียบเรียงเนื้อหาให้
กระชับและน่าสนใจและนอกจากนี้ยังได้แทรกรูปภาพและคำถามชวนคิดไว้ตลอดทำให้ไม่เบื่อใ นการอ่านและทำ
กจิ กรรม
ผู้จัดทำชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารชุดน้ีจะมี
ประโยชน์ในการเรียนรู้เน้ือหาตามหลักสูตร ผู้เรียนมีความรู้และความสามารถในการสืบค้น การจัดระบบส่ิงท่ี
เรียนรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อสรา้ งองค์ความรู้ ไดเ้ ปน็ อย่างดสี ามารถนำความรูท้ ่ีไดจ้ ากการเรียนรู้
ไปปรบั ใช้ในชีวติ ประจำวันได้ และเป็นประโยชนส์ ำหรับผู้ทสี่ นใจใช้เปน็ แนวทาง ในการจดั กระบวนการเรียนรู้ กลุ่ม
สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยไี ด้ตอ่ ไป

...........................................
( นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์ )
ผู้จัดทำชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์



คำชี้แจงการใชช้ ดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ แบบโยนิโสมนสกิ าร
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เรื่องเราจะเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรอ์ ย่างไร

1. สาระท่ี 4: เทคโนโลยี

2. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวชวี้ ดั เร่ือง เราจะเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์อย่างไร ชดุ น้ี ใช้เวลา 9 ชว่ั โมง
มาตรฐานการเรยี นรู้ /ตวั ช้ีวัด ว.4.1 ม.1/2, 1/3, 1/4
ว.4.2 ม.1/3, 1/4

3. วธิ เี รียนร้จู ากชดุ กจิ กรรมนี้เพื่อใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดนกั เรียนควรปฏบิ ัตติ ามคำชี้แจง ต่อไปน้ี
ตามลำดับ

1. ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ แบบโยนโิ สมนสกิ าร เร่ือง เรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์อย่างไร
เอกสารชดุ น้ี ใช้เวลาในการศกึ ษา 9 ชว่ั โมง

2. ใหน้ ักเรียนจดั กลุ่ม ๆ ละประมาณ 6 คน

3. ใหน้ กั เรียนศึกษามาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ช้ีวดั ของชุดการเรียน
4. ใหน้ กั เรยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรมในชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสกิ าร โดยใชร้ ปู แบบ

การเรียนรู้แบบโยนโิ สมนสกิ ารตามข้นั ตอนดังนี้
1. ขนั้ พัฒนาปญั ญา
2. ขนั้ นำปญั ญาพัฒนาความคิด

3. ขั้นนำปัญญาพัฒนาตนเอง
4. สาระสำคญั

วิทยาศาสตร์ ( Science ) หมายถงึ การศกึ ษาหาความจริงเกยี่ วกบั ปรากฏการณ์ธรรมชาตริ อบๆตัวเรา
ทัง้ ทีม่ ชี วี ิตและไมม่ ชี ีวิต อย่างมีข้ันตอนและระเบียบแบบแผน

การศกึ ษาทางวทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ การศกึ ษาสิ่งต่างๆ อย่างมีระเบียบแบบแผน เพ่อื ให้ไดข้ อ้ สรุป หรือความรทู้ ่ี

สามารถแสดง หรอื พสิ ูจน์ได้ โดยกระบวนการศกึ ษาทางวทิ ยาศาสตร์ เกดิ จากการสังเกตประเดน็ ที่ตอ้ งการหา
คำตอบ นำไปสูก่ ารตัง้ สมมติฐาน การทดลอง รวบรวมข้อมลู เพือ่ สรปุ หรืออธิบายประเด็นน้นั ๆซง่ึ นอกจากผศู้ ึกษา

จะมที ักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรท์ ด่ี แี ลว้ น้นั ผูศ้ กึ ษาจะต้องเป็นคนช่างสงั เกต ชา่ งคิด มีเหตผุ ล และมีความ
พยายาม จงึ จะทำให้การศึกษาทางวิทยาศาสตรป์ ระสบความสำเรจ็

*** ขอใหน้ ักเรียนทกุ คนได้เรยี นรูว้ ิทยาศาสตรอ์ ยา่ งมีความสขุ ***



แบบประเมินตนเองกอ่ นเรียน

คำช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนเลือกคำตอบท่ถี กู ตอ้ งทีส่ ดุ เพียงคำตอบเดียว ใชเ้ วลา 10 นาที

1. ข้อความในข้อใดที่ไม่ได้เกดิ จากการสงั เกต

ก. วันนีอ้ ากาศร้อนอบอา้ ว ข. โตะ๊ ตวั นสี้ งู 150 เซนติเมตร

ค. นำ้ ยาขวดนม้ี กี ลน่ิ ฉุน ง. ผา้ ผนื นีม้ นั วาวกวา่ ผา้ ผนื น้นั

2. ขอ้ ใดเปน็ ข้ันตอนแรกของกระบวนการศึกษาทางวทิ ยาศาสตร์

ก. การสังเกตเพอื่ ระบปุ ัญหา ข. การหาขอ้ มูลเพอ่ื รวบรวมขอ้ มลู

ค. การนำเสนอขอ้ มูลให้ผู้อื่นเขา้ ใจ ง. การคาดคะเนคำตอบของปัญหา

3. ถ้านักเรียนตอ้ งการทำการวัดปรมิ าตรของนำ้ ด่มื ขวดหนง่ึ ควรเลอื กใช้เครื่องมือวดั ใด เพื่อใหไ้ ด้คา่ ที่ถกู ต้องมาก

ทสี่ ดุ

ก. ขวดนำ้ ดม่ื ข. เคร่ืองชง่ั แบบดิจิตอล

ค. ถงั น้ำ ง. กระบอกตวง

4. สง่ิ ของทเ่ี ห็นในภาพ คอื ข้อใด
ก. ราวตากผ้า

ข. รองเท้า
ค. ดา้ ย
ง. เชอื กฟาง

5. ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรใ์ ดทตี่ ้องใชป้ ระสาทสัมผสั ทั้ง 5

ก. ทักษะการวัด ข. ทักษะการสงั เกต

ค. ทกั ษะการจำแนก ง. ทักษะการคำนวณ

6. ทกุ ขอ้ เปน็ ลักษณะของการเขียนรายงานการทดลองท่ดี ี ยกเวน้ ข้อใด

ก. มสี ว่ นประกอบครบถว้ น ข. ใชภ้ าษาในการเขียนที่เขา้ ใจงา่ ย

ค. จดั ระบบข้อมลู ท่ีไดจ้ ากการสำรวจ ง. มีข้อมลู ทีเ่ กีย่ วข้องเพมิ่ เตมิ มากๆ

7. สมมตฐิ านคอื อะไร

ก. การระบุคำถามซึ่งเกิดขึ้นจากการสังเกต
ข. การวางแผนการทำงาน
ค. การคาดคะเนคำตอบของคำถาม หรือสิ่งท่ีสงสัย
ง. การตอบคำถามก่อนทำการทดลอง

8. ข้อใดเปน็ ลำดับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ก. ระบุปัญหา รวบรวมข้อมูล ต้ังสมมตฐิ าน ทดลอง สรุปผล

ข. ระบปุ ัญหา ตงั้ สมมติฐาน ทดลอง รวบรวมขอ้ มูล สรุปผล

ค. ตง้ั สมมตฐิ าน สังเกต ระบปุ ญั หา ทดลอง สรุปผล

ง. สงั เกต ระบุปัญหา รวบรวมขอ้ มูล ต้ังสมมตฐิ าน ทดลอง

9. ขอ้ ใดเปน็ เคร่ืองมือในการวัดทเี่ ปน็ มาตรฐาน

ก. กระบอกตวง ตาชั่งสองแขน แทง่ ไม้

ข. ฝา่ มอื นิ้ว เทอรโ์ มมิเตอร์

ค. ไม้บรรทัด ตาชง่ั สปริง กระบอกตวง

ง. เทอร์โมมเิ ตอร์ ไม้เมตร ขวดนำ้

10. ขอ้ ใดเป็นประโยชน์ของกระบวนการศึกษาทางวทิ ยาศาสตร์
ก. เกิดการคดิ อย่างเปน็ เหตเุ ป็นผล
ข. เกดิ การแก้ปญั หาเพือ่ หาคำตอบของส่ิงที่สงสยั อย่างเปน็ ระบบ
ค. ข้อมูลท่ไี ดร้ ับมีความนา่ เชื่อถือ และเผยแพร่แกผ่ ้อู ื่นได้
ง. ถกู ทกุ ข้อ

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

หนว่ ยที่ 1 เราจะเรียนรู้วิทยาศาสตร์อยา่ งไร
เวลา 9 ช่ัวโมง

ขนั้ พฒั นาปัญญา กิจกรรม ฝึ กอ่าน : ฝึ กคิด

❖ ความสำคัญและความหมายของวิทยาศาสตร์

❖ ถา้ กล่าวถึงคำว่า "วิทยาศาสตร"์ (Science )
นกั เรียนจะนึกถึงอะไรบ้าง

...........................................................................................….…….......................
...........................................................................................….…….......................
...........................................................................................….…….......................
...........................................................................................….…….......................

วิทยาศาสตร์ ( Science ) หมายถงึ การศกึ ษาหาความจริงเก่ียวกบั ปรากฏการณธ์ รรมชาตริ อบๆตวั เรา

ทง้ั ท่มี ชี ีวติ และไม่มีชวี ิต อย่างมีขัน้ ตอนและระเบยี บแบบแผน

ลักษณะสำคัญทางวทิ ยาศาสตร์ คอื ความรู้ต่างๆ ท่ีนักวทิ ยาศาสตร์ค้นพบน้นั สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมือ่

มหี ลักฐานและขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ เนอ่ื งจากความเจริญทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีทำให้นักวิทยาศาสตร์มีเครื่องมอื
และวิธีการทันสมยั ในการค้นคว้าและศึกษาจนได้ขอ้ มลู ใหม่ซ่งึ เปน็ ท่ียอมรับมากขึ้นกว่าเดมิ

ร่วม กนั คน้ 1

คำสั่ง ใหน้ กั เรยี นช่วยกันคน้ หาเรอื่ งราวเกี่ยวกบั “ จันทรปุ ราคา ความเช่อื เกยี่ วกบั ราหูอมจนั ทร์ของคนสมยั
โบราณ” ในแต่ละทอ้ งถ่นิ มา 1 เรอ่ื งพร้อมระบแุ หล่งสบื ค้น
...........................................................................................….……...............................................................................
.....................................................................................….…….....................................................................................
...............................................................................….……...........................................................................................
.........................................................................….…….................................................................................................
...................................................................….…….......................................................................................................
.............................................................….…….............................................................................................................
ท่มี า : www………………………………………………………………………………………………..………………………………..………….
วันท่ีสบื คน้ .........................................................................................….……............................................................

1

ในปัจจุบันเราทราบแล้วว่าปรากฏการณ์จันทรุปราคา และ ปรากฏการณ์สุริยุปราคาน้ันมีหลักการเกิด
คลา้ ยๆ กนั ก็คือ เกิดจากการที่ดวงอาทติ ย์ โลก และดวงจนั ทรเ์ รียงอยู่ในแนวระนาบเดียวกนั พอดี โดยปรากฏการณ์
จนั ทรุปราคานัน้ โลกจะอยู่ตรงกลางระหว่างดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งปรากฏการณ์จนั ทรุปราคาจะเกิดในช่วงที่
ดวงจันทร์เต็มดวง โดยปรากฏการณ์จันทรปุ ราคาเกิดขึ้นขณะทด่ี วงจันทร์เคลอ่ื นทผ่ี ่านเข้าไปในเงาของโลก และเม่ือ
ดวงจันทร์โคจรผ่านเข้าไปในเงามืดของโลกแล้วดวงจันทร์จะค่อยๆ แหว่งไปทีละน้อยจนมืดท้ังดวง และเร่ิมโผล่อีก
คร้ังเมือ่ ดวงจันทร์เคล่ือนทผ่ี า่ นพ้นออกมาจากเงาของโลก

นักเรียนได้ความรู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์สุริยุปราคามาแล้วให้นักเรียน
เขียนแผนภาพแสดงตำแหน่งของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก ที่ทำให้
เกิดสุรยิ ุปราคา

ความเช่ือเกี่ยวกับจันทรุปราคา จากท่ีนักเรียนสืบค้นมาเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถหาหลักฐานมาพิสูจน์หรือ
อธิบายได้ ไม่จัดเป็นวิทยาศาสตร์ การเกิดสุริยุปราคาเนื่องจากการท่ีดวงจันทร์บังดวงอาทิตย์เป้นความจริง เป็น
ขอ้ มลู ทส่ี ามารถหาหลกั ฐานมาพสิ จู น์หรอื อธบิ ายได้อยา่ งสมเหตผุ ล จัดเป็นวิทยาศาสตร์

ตวั อยา่ งที่แสดงให้เหน็ วา่ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เปล่ียนแปลงได้ ความรู้ในปจั จบุ นั
ความรใู้ นอดตี

1. โบราณเชอ่ื วา่ โลกแบน 1. ภาพถ่ายจากดาวเทียมเป็นหลักฐานแนช่ ัดวา่ โลกกลม

2.โรคกลวั น้ำแต่โบราณเชอ่ื ว่าเกิดจากภตู ผีไม่สามารถ 2. ปจั จบุ นั สามารถปอ้ งกนั โรคกลัวนำ้ ได้ และมกี ล้อง

รกั ษาได้ จุลทรรศน์อเิ ลคตรอนมองเห็นเชื้อโรคกลัวน้ำได้

3.โบราณเช่อื ว่าโรคมาลาเรยี เกิดจากน้ำโสโครก 3.ปัจจุบันโรคมาลาเรียเปน็ โรคเกิดจากเช้ือโรคในตัวยุงกน้
ปล่อง

4.การเกดิ จันทรปุ ราคาโบราณวา่ เกิดจากราหูอมจันทร์ 4.ปัจจบุ นั อธิบายจันทรปุ ราคาเกิดจากโลกบงั ดวงอาทติ ย์

2

ลกั ษณะสำคญั ของ
นักวิทยาศาสตร์มอี ะไรบา้ งคะ

ลกั ษณะของนักวิทยาศาสตร์ ไดแ้ ก่ 2) เปน็ คนช่างคิดช่างสงสยั
1) เปน็ คนชา่ งสังเกต
4) เปน็ คนมคี วามพยายามและอดทน
3) เปน็ คนมีเหตมุ ีผล 6) เป็นคนทำงานอยา่ งมีระบบ
5) เปน็ คนมีความคดิ รเิ รมิ่

❖ กระบวนการทำงานของนักวิทยาศาสตร์

การดำรงชีวิตของมนุษย์ในทุกวันน้ีได้รับความสะดวกสบายตา่ งๆ มากมายเช่น ไม่ต้องเดินทางไป
หาเพ่ือนไกลๆ เพ่อื ถามข่าวคราวจากเพือ่ น เพยี งใชโ้ ทรศพั ท์หรอื อินเทอร์เน็ตก็สามารถติดต่อกับเพ่ือนได้

นอกจากนี้ยังมีเคร่ืองอำนวยความสะดวกอื่นๆ ท้ังในบ้านและนอกบ้าน เช่น ตู้เย็น โทรทัศน์ วิทยุ คอมพิวเตอร์
เคร่ืองบิน ดาวเทียม นักเรียนคิดว่าส่ิงอำนวยความสะดวกหรือความรู้ต่างๆ เหล่าน้ี นักวิทยาศาสตร์ค้นพบมาได้

อยา่ งไร และ นักวทิ ยาศาสตร์มีลักษณะนิสัยแตกตา่ งไปจากบุคคลอาชีพอ่นื หรือไม่ อย่างไร

เซอร์ ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) เป็นนกั วิทยาศาสตร์ผู้มีชื่อเสียงคนหนึ่ง

ของอังกฤษ มีชีวิตอยู่ระหว่าง พ.ศ. 2185 – 2270 นิวตันค้นพบความรู้ทางวิทยาศาสตร์

มากมาย เช่น ทฤษฎีเก่ียวกับการหักเหของแสง กฎการเคลื่อนที่ของวัตถุ กฎความโน้มถ่วง

ครัง้ หน่ึงนิวตันน่ังอยู่ใตต้ ้นแอปเป้ิล เขาเห็นลูกแอปเปิล้ ตกลงสพู่ ้ืนดนิ นวิ ตนั เกิดความสงสัยว่า

ภาพ เซอร์ ไอแซกนิวตัน เม่ือแอปเปิ้ลหลุดจากตน้

ทำไมจงึ ตกลงสู่พนื้ ไม่ลอ่ งลอยไปในอากาศ ความสงสยั ดังกลา่ วทำให้ นวิ ตนั ศึกษาคน้

คว้าหาเหตุผลและเข้าใจว่า แอปเปิ้ลตกลงสู่พื้นด้วยแรงดึงดูดของโลก และต่อมาได้สรุปเป็นกฎแรงดึงดูดซึ่งใช้เป็น

กฎสากล เรยี กวา่ “กฎแรงดงึ ดูดระหวา่ งมวลของนิวตนั ”

เซอร์ อเลกซานเดอร์ เฟลมมงิ่ สงสัยว่า ทำไมแบคทีเรยี ท่มี ีเชื้อราขึ้น ภาพ เซอร์ อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง
อยใู่ กลๆ้ จึงตายหมด ซง่ึ นำไปสกู่ ารค้นพบยาเพนนิซลิ ิน เพนิซลิ นิ (อังกฤษ: Penicillins)
หรอื ฟีนอกซลิ เมตทลิ เพนซิ ิลลนิ (Phenoxymethylpenicillin-Penicillin V) คอื กล่มุ
ของยาท่ีอยใู่ นกลุ่มหลกั ๆที่เรียกกนั ว่า บีตา-แลคแทม (B-lactam) คุณสมบตั ิของยานค้ี อื
เป็นยาที่ใช้รกั ษาในการติดเช้ือจากแบคทีเรีย

ภาพ ทอมสั แอลวา เอดสิ นั ความพยายามและความอดทน เป็นลักษณะสำคัญอีกประการหนึง่ ของนักวิทยาศาสตร์
คอื ความเป็นผู้มีจิตใจแน่วแน่ ไม่ท้อถอย แมว้ ่าจะใชเ้ วลานานเพยี งใดกต็ ามก็ยงั คงคดิ
ศกึ ษาอยจู่ นพบความสำเร็จ ตวั อย่างนกั วิทยาศาสตร์ท่มี ีความพยายามและความอดทน
แลว้ ทำให้ได้คน้ พบความร้ตู า่ งๆ ท่ีเป็นประโยชนต์ อ่ โลก เช่น ทอมัส อัลวา เอดิสัน
ทอมสั แอลวา เอดิสัน (Thomas Alva Edison) เป็นนกั วิทยาศาสตร์ท่ยี ง่ิ ใหญ่ของโลกผู้
หน่ึงซ่งึ เปน็ ผูป้ ระดิษฐห์ ลอดไฟฟา้ ท่ีทำใหท้ ั่วโลกสว่างไสวในยามค่ำคนื ในการประดษิ ฐ์
หลอดไฟฟา้ นั้น เขาได้นำวสั ดเุ กอื บทกุ อย่างทีพ่ บเห็นมาทดลองทำไส้หลอดไฟฟ้าเขาครำ่
เคร่งทดลองครง้ั แลว้ คร้ังเล่า โดยไมท่ อ้ ถอยเป็นเวลานานถงึ ปกี ว่าจึงประสบความสำเร็จ

3

คนทม่ี ีความคิดริเริม่ หมายถึง ผูท้ ่ีมีความกล้าที่จะคดิ และทำสิ่งท่ผี ิดแปลกไปจากท่ีผูอ้ ่ืนคิดหรือทำอยูแ่ ล้ว
โดยเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม ลักษณะการเป็นผู้มีความคิดริเร่ิมเป็นลักษณะสำคัญของ
นกั วทิ ยาศาสตร์ เพราะจะทำให้ค้นพบและประดิษฐส์ ิ่งใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลาตัวอย่างเช่น เคร่อื งบินที่ใช้ประโยชน์อยู่

ทุกวันนี้นั้นผลจากความคิดริเร่ิมของบุคคลต่อไปน้ี โรเจอร์ เบคอน (Roger Bacon) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ มี
ความคิดฝันว่ามนุษย์นั้นสามารถที่จะบินได้เหมือนนก ถ้าติดปีกที่มีรูปร่าง ลักษณะคล้ายปีกนก และกระพือปีกได้
แบบเดยี วกับนก ต่อมา ลีโอนาโด ดาวินซี (Leonardo da Vince) ไดน้ ำความคดิ นี้ไปวาดเป็นภาพจำลองแบบต่างๆ
ของสง่ิ ทจี่ ะช่วยใหค้ นบินได้ แต่กย็ ังไม่มีการสรา้ งข้นึ มา จนกระท่ัง เซอร์ ยอร์จ เคยล์ ยี ์ ไดบ้ ุกเบิกสร้างเคร่ืองรอ่ น

ภาพ วิลเบอร์ และ ออวิลล์ ไรต์ จนถึงสมัยของ วิลเบอร์และออร์วิล ไรต์ (Wilbur and Oriville
Wright) ซ่งึ มคี วามสนใจในเร่อื งของการบนิ จงึ ศึกษาขอ้ มลู เกี่ยวกับการ

ร่อนและการบิน และได้ทดลองสร้างเคร่ืองร่อนพร้อมท้ังปรับปรุงให้ดี
ขึ้นจนกลายเป็นเครื่องบิน หลังจากน้ันได้มีผู้พัฒนาเคร่ืองบินมาโดย
ตลอดจนได้เคร่ืองบินที่มีประสิทธิภาพมาก ดังเช่นเคร่ืองบินไอพ่นใน

ปจั จุบนั

❖ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Science Process Skill)

กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ คอื วธิ ีการและขั้นตอนท่ใี ช้ดำเนินการค้นคว้าหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ กระบวน
การทางวิทยาศาสตรแ์ บ่งออกเป็น 3 ประเภท คอื

1) วิธีการทางวิทยาศาสตร์
2) ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
3) จติ วทิ ยาศาสตร์

วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (scientific method)

วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ เป็นข้ันตอนการทำงานอย่างเป็นระบบท่ีนักวิทยาศาสตรใ์ ชใ้ นการแสวงหาความรู้
ทางวิทยาศาสตร์ ประกอบดว้ ยขั้นตอนต่าง ๆ ดังน้ี

1. ขั้นระบุปัญหา คือ การระบุปัญหาหรือสง่ิ ทตี่ ้องการศึกษา และกำหนดขอบเขตของปัญหา

2. ขัน้ ตง้ั สมมตฐิ าน คอื การคิดคำตอบที่คาดหวังวา่ ควรจะเปน็ หรอื การคาดเดาคำตอบ ทจ่ี ะได้รบั

3.ข้ันตรวจสอบสมติฐาน คือ เมื่อตั้งสมมติฐานแล้ว หรือคาดเดาคำตอบหลายๆคำตอบไว้แล้ว
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ันต่อไป คือตรวจสอบสมมติฐาน ในการตรวจสอบสมมติฐานจะต้องยึดข้อกำหนด
สมมตฐิ านไวเ้ ปน็ หลกั สำคญั เสมอ

4. ข้นั การรวบรวมข้อมลู คอื การรวบรวมขอ้ มูล การวิเคราะห์ข้อมูลเพ่อื ตรวจสอบ สมมติฐานทีต่ ้งั ไวว้ า่ ถูก
หรือผดิ โดยมหี ลกั ฐาน ยนื ยนั อาจทำไดโ้ ดยการสงั เกต หรือการทดลอง

5. ข้ันสรุปผล คือการสรุปว่าจะปฏิเสธ หรือยอมรับสมมติฐาน ตามหลักเหตุและผลเพื่อให้ได้คำตอบของ
ปัญหา

4

ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific process skills)

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถงึ ความชำนาญและความสามารถในการใชก้ ารคิดและกระ
บวนการคิดเพือ่ ค้นหาความรูร้ วมทง้ั การแกป้ ญั หาต่าง ๆ ประกอบไปด้วย
1) ทักษะการสังเกต (Observation) หมายถึง ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอยา่ งหนึ่ง
หรอื หลายอยา่ งรวมกนั ไดแ้ ก่ ตา หู จมูก ลนิ้ และผวิ กาย เขา้ ไปสัมผัสโดยตรงกับวตั ถหุ รอื ปรากฏการณ์ต่างๆ โดย
ไมล่ งความเหน็ ของผสู้ ังเกต เปน็ วธิ กี ารพ้นื ฐานท่จี ะได้ขอ้ มลู มาตามความตอ้ งการ

นกั เรียนทราบหรอื ไมว่ า่ การ
สังเกตสำคัญอยา่ งไร

การสังเกตสำคัญอยา่ งไร
การสังเกต หมายถึง การใชป้ ระสาทสัมผัสอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ หรอื ประสาทสมั ผัสท้ัง 5 คอื ตา หู จมูก ปาก
และกาย เขา้ ไปสำรวจวตั ถุ หรอื ปรากฏการณต์ า่ งๆ ในธรรมชาตหิ รอื จากการทดลอง โดยไมใ่ สห่ รือเพม่ิ ความคิดเหน็
ของผู้สงั เกตลงไป

ภาพ ประสาทสัมผสั ทง้ั 5 (ตา หู จมกู ปาก กายสัมผสั )

ประเภทของการสังเกต มี 4 ประเภทดังนี้
1. การสงั เกตเชิงคณุ ภาพ เปน็ การสงั เกตท่ไี ด้จากการใช้ประสาทสมั ผัสทัง้ 5 คือ ตา หู จมกู ล้ิน กายสัมผัส
ในการสังเกตวตั ถุน้นั ๆ เช่น
- ปากกาสแี ดง (ตา)
- ดอกไม้ชนดิ นม้ี กี ลนิ่ หอม (จมกู )
- สบู่เมื่อจบั แลว้ ลืน่ (กายสมั ผัส)
- เสยี งขบวนรถไฟ (หู)
- น้ำตาลมีรสหวาน (ลิน้ )
2. การสงั เกตเชิงปรมิ าณ เป็นการสังเกตที่ได้รายละเอยี ดมากย่ิงขน้ึ ซึ่งจะบอกออกมาเป็นปริมาณต่างๆ
เช่น ความยาว น้ำหนกั ความดนั แรง ซ่ึงค่าต่าง ๆ สามารถบอกรายละเอยี ด ออกมาเปน็ ตัวเลขได้ โดยอ้างองิ หนว่ ย
การวดั เชน่
- วัตถุชิ้นน้หี นกั ประมาณ 10 กรัม
- ดนิ สอสีแดงยาวกว่าดินสอสนี ้ำเงินประมาณ 2 เซนติเมตร
- อณุ หภูมใิ นห้องเรียนขณะนปี้ ระมาณ 27 °C

5

- นางสาวมาลมี นี ้ำหนกั ประมาณ 50 กิโลกรมั
- นายดำออกแรงดึงกลอ่ งใบหนึง่ ให้เคล่ือนทเ่ี ป็นระยะทางประมาณ 10 เมตร
3. การสงั เกตเก่ียวกบั การเปลี่ยนแปลง เปน็ การสังเกตการเปลย่ี นแปลงของวัตถุเมือ่ กระทำด้วยวิธกี าร
ต่างๆ ไดแ้ ก่ การใหค้ วามรอ้ น การบบี การนำไปแชน่ ้ำ เปน็ ต้น ตัวอย่างเชน่ เมือ่ นำเทยี นไขไปให้ความรอ้ น เทียนไข
จะละลาย หรอื อาหารถว้ ยนเี้ ปน็ ไขเมื่ออากาศเย็นลง เปน็ ต้น
4. การสังเกตเชิงเปรียบเทียบ เป็นการสงั เกตส่งิ หนง่ึ เปรยี บเทยี บกบั อกี สง่ิ หนงึ่ ซึง่ อาจเปรยี บเทียบใน
ลกั ษณะท่ไี มร่ ะบุเปน็ ตวั เลข หรือเปน็ ตัวเลขก็ได้ เชน่ มะม่วงผลนม้ี ขี นาดเล็กกว่าผลนนั้ หรือมันแกว 10 ผลมนี ำ้ หนกั
เทา่ กบั แตงโม 1 ผล เป็นตน้

ครูจะทดสอบความเข้าใจของนักเรยี นจาก กิจกรรมการสังเกตเชิง
ปริมาณ เชงิ คุณภาพ และสงั เกตการเปลี่ยนแปลง กจิ กรรมนี้นักเรยี น

ตอ้ งเตรยี มหมากฝร่ังมา 1 ชิ้น แลว้ สังเกตหมากฝรั่ง
ตามตารางที่ครกู ำหนดให้นะคะ

ภาพ ขัน้ ตอนการทำกจิ กรรม

ตารางบนั ทกึ ผลการสงั เกต

ขอ้ มลู การ ขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพ ขอ้ มูลเชงิ ปรมิ าณ ประสาทสัมผสั ท่ีใช้/
เปลี่ยนแปลง เครื่องมือที่ใช้

กอ่ นเคย้ี ว
หมากฝรัง่

ระหวา่ ง
เคี้ยว
หมากฝร่งั

หลงั
เคีย้ ว

หมากฝรัง่

6

2) การวัด ( measurement ) หมายถงึ ความสามารถในการเลอื กใช้เครือ่ งมอื ในการวดั อย่างเหมาะสม และ
ใชเ้ คร่ืองมือน้ันหาปรมิ าณของส่งิ ตา่ งๆ ออกมาเป็นตัวเลขไดถ้ กู ตอ้ งและรวดเรว็ โดยมหี นว่ ยกำกบั ตลอดจน
สามารถอา่ นคำที่วดั ได้ถกู ต้องและใกล้เคียงกบั ความเป็นจริง

ผทู้ ่ีมีทักษะการวัด ต้องมีความสามารถทแ่ี สดงให้เห็นวา่ เกิดทกั ษะน้ปี ระกอบดว้ ย
1. เลือกเครือ่ งมอื ทเี่ หมาะสมในการวัดปริมาณต่าง ๆ ของสิ่งทศ่ี กึ ษา
2. ใชเ้ คร่ืองมอื วดั ปริมาณตา่ งๆ ได้อยา่ งถกู ต้อง แม่นยำ รวดเรว็
3. คิดวธิ ีการท่จี ะหาคา่ ปรมิ าณตา่ งๆ ได้ ในกรณีที่ไมอ่ าจใช้เคร่อื งมอื วดั ปริมาณนนั้ ได้โดยตรง
4. เลอื กหนว่ ยทีม่ ีค่ามาก ๆ หรอื น้อยๆ นยิ มใชค้ ำอุปสรรคแทนพนุคูณปริมาณนน้ั ๆ
5. บอกความหมายของปรมิ าณซึ่งไดจ้ ากการวัดได้อย่างเหมาะสม กล่าวคือ ปริมาณทไี่ ด้จากการ

วัด ละเอียดถึงทศนยิ มหน่ึงตำแหนง่ ของหน่วยย่อยทีส่ ดุ เท่านั้น
3) ทักษะการคำนวณ (Using numbers) หมายถึง ความสามารถในการบวก ลบ คณู หาร หรอื จัดกระทำกบั ตัว
เลขทแ่ี สดงค่าปริมาณของสิ่งใดสง่ิ หน่ึง ซ่ึงได้จากการสงั เกต การวดั การทดลองโดยตรง หรือจากแหล่งอ่ืน ตัวเลขที่
คำนวณน้ันต้องแสดงค่าปริมาณในหน่วยเดียวกัน ตัวเลขใหม่ที่ได้จากการคำนวณจะช่วยให้สื่อความหมายได้ตรง
ตามท่ตี อ้ งการและชัดเจนยง่ิ ข้ึน
4) ทกั ษะการจำแนกประเภท (Classification) หมายถึง ความสามารถในการจัดจำแนกหรอื เรยี งลำดบั วตั ถุ
หรือส่ิงที่อยู่ในปรากฏการณ์ต่างๆ ออกเป็นหมวดหมู่โดยมีเกณฑ์ในการจัดจำแนก เกณฑ์ดังกล่าวอาจใช้ ความ
เหมือน ความแตกตา่ ง หรือความสัมพันธ์อยา่ งใดอย่างหน่ึงก็ได้ โดยจดั สงิ่ ท่ีมสี มบตั บิ างประการรว่ มกนั ให้อย่ใู นกลุ่ม
เดียวกัน
5) ทักษะระหวา่ งสเปซกับสเปซ และสเปซกบั เวลา (Space/space Relationship and Space/Time
Relationship) สเปซ (Space) ของวตั ถุ หมายถงึ ทีว่ ่างบริเวณที่วัตถุนั้นครอบครองอยู่ ซึ่งจะมรี ูปร่างและลกั ษณะ
เช่นเดียวกับวัตถุน้ัน โดยทั่วไป สเปซของวัตถุประกอบด้วยมี 3 มิติ (Dimensions) ได้แก่ ความกว้าง ความยาว
ความสูงหรือความหนาของวัตถุ ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับสเปซ และสเปซกับเวลา หมายถึง
ความสามารถในการระบุความสมั พนั ธร์ ะหว่างสงิ่ ต่อไปนี้ คือ

1. ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง 2 มติ ิ กบั 3 มิติ
2. สิ่งท่ีอยู่หน้ากระจกเงากบั ภาพท่ปี รากฏจะเปน็ ซา้ ยขวาของกันและกนั อย่างไร
3. ตำแหน่งท่ีอยู่ของวัตถุหน่ึงกบั อีกวัตถุหนึง่
4. การเปลยี่ นแปลงตำแหน่งทอ่ี ยู่ของวัตถุกบั เวลาหรือสเปสของวตั ถุ ทเี่ ปลี่ยนแปลงไปกับเวลา
6) ทักษะการจดั กระทำและสอ่ื ความหมายขอ้ มูล (Organizing data and communication) หมายถงึ ความ
สามารถในการนำข้อมูลท่ีไดจ้ ากการสงั เกต การวัด การทดลอง และจากแหล่งอ่ืนมาจัดกระทำใหม่โดยวิธีการต่างๆ
เช่น การจัดเรียงลำดับ การแยกประเภท หรือคำนวณหาค่าใหม่ เพ่ือให้ผู้อื่นเข้าใจมากขึ้น อาจนำเสนอในรูปของ
ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ กราฟ สมการ เปน็ ต้น
7) ทกั ษะการลงความเหน็ จากข้อมลู (Inferring) หมายถึง ความสามารถในการอธบิ ายข้อมลู ท่มี อี ย่อู ยา่ งมีเหตุ
ผล โดยอาศัยความรู้หรือประสบการณ์เดิมมาช่วย ข้อมูลท่ีมีอยู่อาจได้มาจากการสังเกต การวัด การทดลอง
คำอธิบายนั้นได้ มาจาก ความรู้หรือประสบการณ์เดิมของผู้สังเกตที่พยายามโยงบางส่วนที่เป็นความรู้หรือ
ประสบการณ์เดิมใหม้ าสมั พนั ธก์ ับขอ้ มูลทตี่ นเองมีอยู่
8) ทกั ษะการพยากรณ์ (Prediction) หมายถงึ ความสามารถในการทำนายหรือคาดคะเนสิง่ ทจ่ี ะเกิดข้นึ ลว่ งหน้า
โดยอาศัยการสังเกตปรากฏการณ์ทเ่ี กิดข้ึนซ้ำๆ หรือความรู้ที่เป็นหลักการ กฎ หรือทฤษฎีในเรื่องนั้นมาช่วยในการ
ทำนาย การทำนายอาจทำได้ภายในขอบเขตข้อมลู และภายนอกขอบเขตขอ้ มูล

7

9) ทกั ษะการต้งั สมมตฐิ าน ( Formulating hypothesis) หมายถึง ความสามารถในการใหค้ ำอธบิ ายซึ่งเป็น
คำตอบลว่ งหน้าอยา่ งมีเหตุมผี ล ก่อนทีจ่ ะดำเนินการทดลอง เพื่อตรวจสอบความถกู ต้องเป็นจรงิ ในเร่ืองนนั้ ๆ ต่อไป
สมมติฐานเป็นข้อความท่ีแสดงการคาดคะเน ซึ่งอาจเป็นคำอธิบายของสิ่งที่ไม่สามารถตรวจสอบโดยการสังเกตได้
หรอื อาจเป็นข้อความที่แสดงความสัมพันธ์ที่คาดคะเนว่าจะเกิดขึ้นระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตาม ข้อความของ
สมมตฐิ านนสี้ รา้ งขนึ้ โดยอาศัยการสังเกตความรู้ ประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐาน การคาดคะเนคำตอบที่คิดล่วงหน้าน้ี
ยงั ไมท่ ราบ หรือยังไมเ่ ป็นหลักการ กฎ หรือทฤษฎมี ากอ่ น ข้อความของสมมตฐิ านตอ้ งสามารถทำการตรวจสอบโดย
การทดลองและแกไ้ ขเม่ือมีความรใู้ หม่ได้
10) ทกั ษะการกำหนดและควบคมุ ตวั แปร (Identifying and controlling variables) หมายถึง การชบี้ ่งตวั
แปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ต้องควบคุม ในสมมติฐานหนึ่ง การควบคุมตัวแปรน้ันเป็นการควบคุมส่ิงอ่ืนๆ
นอกเหนือจากตัวแปรตน้ ที่จะทำใหผ้ ลการทดลองคลาดเคลื่อน ถ้าหากว่าไม่ควบคมุ ใหเ้ หมือนกัน
11) ทักษะการทดลอง (Experimenting) หมายถึง กระบวนการปฏิบตั ิการเพอื่ หาคำตอบหรือทดสอบสมมติฐาน
ท่ีตัง้ ไว้ ในการทดลองจะประกอบด้วยกิจกรรม 3 ขน้ั ตอน คือ

- การออกแบบการทดลอง หมายถงึ การวางแผนการทดลองก่อนลงมอื ทดลองจริง เพื่อกำหนดวธิ กี าร
ดำเนนิ การทดลองซงึ่ เกยี่ วกับการกำหนดวิธีดำเนนิ การทดลองซงึ่ เกย่ี วกบั การกำหนดและควบคุมตัวแปร และวสั ดุ
อุปกรณ์ทต่ี ้องการใชใ้ นการทดลอง

– การปฏิบัติการทดลอง หมายถึง การลงมอื ปฏิบตั กิ ารทดลองจริง
– การบันทกึ ผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลทไี่ ด้จากการทดลอง ซง่ึ อาจเปน็ ผลของการ
สังเกต การวดั และอนื่ ๆ
12) ทักษะการตีความหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรุป (Interpreting data and conclusion) หมายถึง ความ
สามารถในการบอกความหมายของขอ้ มูลท่ไี ดจ้ ัดกระทำ และอยูใ่ นรปู แบบท่ีใช้ในการสอื่ ความหมายแล้ว ซึ่งอาจอยู่
ในรปู ตาราง กราฟ แผนภมู ิหรอื รปู ภาพต่างๆ รวมทง้ั ความสามารถในการบอกความหมายข้อมลู ในเชิงสถติ ิด้วย และ
สามารถลงข้อสรุปโดยการเอาความหมายของข้อมูลท่ีได้ท้ังหมด สรปุ ให้เห็นความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เก่ียวข้องกับ
ตัวแปรทตี่ อ้ งการศกึ ษาภายในขอบเขตของการทดลองน้ันๆ
13) ทักษะการกำหนดนยิ ามเชิงปฏิบตั ิการ 10. การกำหนดนยิ ามเชิงปฏบิ ตั กิ าร defining
operationally ) หมายถึง การกำหนดความหมายและขอบเขตของตัวแปรทีอ่ ยูใ่ นสมติฐานที่ต้องการทดสอบให้
เข้าใจตรงกัน และสามารถสังเกตหรอื วัดได้
นยิ ามเชงิ ปฏิบัตกิ ารมสี าระสำคัญ 2 ประการคอื

1. ระบุสิ่งที่สังเกต
2. ระบุการกระทำซ่งึ อาจไดจ้ ากการวดั ทดสอบ หรือจากการทดลอง
สง่ิ ทีค่ วรคำนงึ ถึงในการใหน้ ิยามเชิงปฏบิ ตั กิ าร มีดงั นี้
1. ควรใช้ภาษาท่ีชัดเจน ไมก่ ำกวม
2. อธบิ ายถึงส่ิงทีส่ ังเกตได้ และระบุการกระทำไวด้ ้วย
3. อาจมีนยิ ามเชงิ ปฏิบัติการมากกว่า 1 นิยามก็ไดข้ ้ึนอย่กู ับสถานการณ์สิ่งแวดลอ้ ม และเน้อื หา
ในบทเรียน
ผูท้ ี่มที กั ษะการกำหนดนิยามเชิงปฏิบัตกิ าร ตอ้ งมีความสามารถท่แี สดงใหเ้ หน็ วา่ เกิดทกั ษะนป้ี ระกอบดว้ ย
1. กำหนดความหมายและขอบเขตของคำหรอื ตัวแปรต่าง ๆ ให้สามารถทดสอบหรือวดั ได้
2. แยกนิยามเชิงปฏิบตั ิการออดจากนยิ ามทไี่ ม่ใช่นิยามเชงิ ปฏิบตั ิการได้
3. สามารถบ่งช้ีตัวแปรหรือคำท่ีตอ้ งการใช้ในการใหน้ ยิ ามเชงิ ปฏบิ ัติการได้

8

วิธีการทางวิทยาศาสตร์มกั จะเร่มิ จากการสังเกตปรากฏการณ์ตา่ งๆ ทีอ่ ยู่รอบๆ ตัวเรา เม่อื ไดข้ อ้ สังเกต
บางอยา่ งท่เี ราสนใจจะทำให้ได้สิ่งทต่ี ามมาคือ ปญั หา (Problem) เชน่

การสังเกต:
"ตน้ หญา้ ใต้ตน้ ไม้ใหญ่ หรือต้นหญ้าทอ่ี ย่ใู ต้หลังคามกั จะไมง่ อกงาม สว่ นต้นหญ้าในบรเิ วณใกลเ้ คยี งกนั ท่ีไดร้ บั
แสงเจริญงอกงามด"ี

การต้งั ปัญหา:
• "แสงแดดมีส่วนเก่ียวขอ้ งกับการเจรญิ งอกงามของตน้ หญ้าหรอื ไม"่
• "แบคทีเรยี ในจานเพาะเชือ่ เจรญิ ชา้ ไมง่ อกงามถ้ามีราสีเขียวอยใู่ นจานเพาะเชอ้ื นน้ั "

การตัง้ ปัญหาน้ันสำคัญกว่าการแก้ปญั หา" เพราะ การต้ังปญั หาทีด่ ีและชัดเจนจะทำใหผ้ ู้ตงั้ ปัญหาเกิดความ
เขา้ ใจและมองเหน็ ลู่ทางของการคน้ หาคำตอบเพอื่ แกป้ ญั หาท่ตี ้ังข้ึน

ดังน้นั จึงต้องหมน่ั ฝกึ การสงั เกตสิง่ ท่สี งั เกตน้นั : เป็นอะไร เกิดข้นึ เมื่อไร เกิดขน้ึ ทีไ่ หน เกดิ ขนึ้ ได้อย่างไร ทำไม
จงึ เป็นเชน่ นนั้

การต้งั สมมตฐิ าน:
กอ่ นที่นกั วทิ ยาศาสตร์จะทำการแกป้ ัญหาเรื่องใด ๆ ก็ตาม มักจะต้ังขอ้ สนั นษิ ฐานขึน้ ก่อนวา่ สงิ่ นัน้ ควรจะ
เป็นอยา่ งไร ตวั อย่างเช่น นกั วิทยาศาสตร์ เมอื่ เกดิ ปัญหาขนึ้ ว่าทำไมแมเ่ หล็กจึงดูดเหล็กหรอื แมเ่ หล็กด้วยกันได้
กอ่ นทีจ่ ะทำการค้นหาสาเหตุนี้ นักวทิ ยาศาสตร์ต้องตั้งข้อสนั นิษฐานขน้ึ วา่ อณูทกุ ๆ อณูของเหลก็ ธรรมดาเปน็
แมเ่ หลก็ อยแู่ ลว้ แต่มนั ไม่เรียงไดอ้ นกุ รมกนั จงึ ไม่มอี ำนาจแมเ่ หลก็ ขอ้ สนั นิษฐานที่กล่าวนี้เรยี กวา่ สมมตุ ิฐาน หรือ
Hypothesis
การตง้ั สมมติฐานทีด่ ีควรมลี กั ษณะดงั น้ี

1. เป็นสมมตฐิ านท่ีเข้าใจงา่ ย มกั นยิ มใช้วลี "ถ้า…ดงั นน้ั "
2. เปน็ สมมตฐิ านที่แนะล่ทู างท่จี ะตรวจสอบได้
3. เป็นสมมติฐานทต่ี รวจไดโ้ ดยการทดลอง
4. เป็นสมมตฐิ านทีส่ อดคลอ้ งและอยใู่ นขอบเขตข้อเทจ็ จริงทีไ่ ด้จากการสังเกตและสมั พนั ธ์กับ

ปญั หาท่ตี ง้ั ไว้

สมมตฐิ านท่ีเคยยอมรับอาจล้มเลิกได้ถา้ มขี ้อมูลจากการทดลองใหม่ๆ มาลบลา้ ง แต่กม็ บี างสมมตฐิ านท่ไี มม่ ี
ขอ้ มูลจากการทดลองมาคัดคา้ นทำให้สมมตฐิ านเหล่านั้นเป็นที่ยอมรับวา่ ถูกตอ้ ง เช่น สมมติฐานของเมนเดลเก่ยี วกับ
หนว่ ยกรรมพนั ธ์ุ ซึ่งเปล่ียนกฎการแยกตัวของยนี หรือสมมติฐานของอโวกาโดรซ่ึงเปลยี่ นเปน็ กฎของอโวกาโดร

การทดลอง:

การทดลอง เป็นกระบวนการปฏิบัติ หรือหาคำตอบหรือตรวจสอบสมมติฐานที่ต้ังไว้โดยการทดลองเพ่ือ
ทำการค้นคว้าหาข้อมูลและตรวจสอบดูว่าสมมติฐานข้อใดเป็นคำตอบที่ถูกต้องที่สุด ประกอบด้วยกิจกรรม 3
กระบวน การ คอื

1) การออกแบบการทดลองคือการวางแผนการทดลองก่อนที่จะลงมอื ปฏิบัตจิ รงิ โดยใหส้ อดคลอ้ ง
กับสมมติฐานทีต่ ัง้ ไว้เสมอ และควบคมุ ปัจจัยหรือตวั แปรต่างๆ ท่ีมผี ลต่อการทดลอง แบ่งไดเ้ ป็น 3 ชนดิ คอื

ตวั แปรอสิ ระหรือตัวแปรต้น (Independent Variable or Manipulated Variable) คือปจั จัยที่
เป็นสาเหตทุ ำให้เกิดผลการทดลองหรอื ตวั แปรท่ีตอ้ งศกึ ษาทำการตรวจสอบดวู า่ เปน็ สาเหตุทีก่ อ่ ใหเ้ กดิ ผลเช่นกนั

ตวั แปรตาม (Dependent Variable) คอื ผลท่เี กิดจากการทดลอง ซึ่งตอ้ งใช้วธิ ีการสังเกตหรือวัดผล

9

ด้วยวิธีการต่างๆ เพ่ือเก็บขอ้ มลู ไว้ และจะเปลีย่ นแปลงไปตามตวั แปรอสิ ระ
ตวั แปรท่ีต้องควบคมุ (Control Variable) คือปจั จยั อืน่ ๆ ท่นี อกเหนอื จากตวั แปรตน้ ท่ีมีผลต่อการ

ทดลองและต้องควบคุมให้เหมือนกันทุกชดุ การทดลอง เพ่อื ปอ้ งกนั ไม่ให้ผลการทดลองเกิดความคลาดเคลอ่ื นในการ
ตรวจสอบสมมตฐิ าน นอกจากจะควบคุมปัจจยั ทีม่ ีผลตอ่ การทดลองจะต้องแบ่งชุดการทดลองออกเป็น 2 ชุด ดงั น้ี

1) ชดุ ทดลอง หมายถึง ชดุ ท่เี ราใช้ศกึ ษาผลของตัวแปรอิสระ
2) ชุดควบคมุ หมายถงึ ชดุ ของการทดลองท่ีใชเ้ ปน็ มาตาฐานอา้ งองิ เพือ่ เปรียบเทยี บ
ขอ้ มูลทไ่ี ดจ้ ากการทดลอง ซ่ึงชุดควบคมุ น้จี ะมีตวั แปรต่างๆ เหมอื นชดุ ทดลองแต่จะแตกต่างจากชุดทดลองเพยี ง 1
ตวั แปรเท่าน้นั คือตวั แปรทเี่ ราจะตรวจสอบหรือตัวแปรอสิ ระ
2) การปฏิบตั ิการทดลอง ในกจิ กรรมนีจ้ ะลงมอื ปฏบิ ัตกิ ารทดลองจริงโดยจะดำเนินการไปตามขั้นตอนทไ่ี ด้
ออกแบบไว้ และควรจะทดลองซำ้ ๆ หลายๆ คร้ังเพ่ือใหแ้ น่ใจวา่ ได้ผลเชน่ นน้ั จริง
3) การบนั ทึกผลการทดลอง หมายถงึ การจดบันทึกทไี่ ด้จากการทดลองซง่ึ ข้อมลู ท่ีได้นส้ี ามารถรวบรวมไว้
ใชส้ ำหรับยืนยนั ว่าสมมตฐิ านท่ีตัง้ ไว้ถูกตอ้ งหรอื ไม่
ในบางครง้ั ข้อมลู อาจไดม้ าจากการสรา้ งข้อเท็จจริง เอกสาร จากการสงั เกตปรากฏการณ์ หรือจากการ
ซกั ถามผรู้ อบรู้ แลว้ นำขอ้ มูลที่ไดม้ านั้นไปแปรผลและลงขอ้ สรปุ ในต่อไป ดัง้ นัน้ การรวบรวมขอ้ มูลเป็นสง่ิ จำเป็นใน
วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์

ร่วม กนั คดิ 1

คำสัง่ ให้นกั เรียนตอบคำถามเร่ืองตวั แปรในสถานการณ์ทีก่ ำหนดให้ ( 10 คะแนน )
1. การเพาะเมลด็ ถัว่

ตวั แปรต้น (independent variable)
……...................................................................................................................................................................
ตัวแปรตาม (dependent variable)
.........................................................................................................................................................................
ตัวแปรควบคุม (control variable)
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
2. การทดลองความแขง็ แรงของไมไ้ อศกรีม

10

ตัวแปรตน้ (independent variable)
……...................................................................................................................................................................
ตวั แปรตาม (dependent variable)
.........................................................................................................................................................................
ตวั แปรควบคุม (control variable)
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
3. จากสมมติฐาน “ถ้าขเี้ ลือ่ ยดูดซบั กลิ่นได้ ดงั น้ัน กลน่ิ ขีห้ มูจะลดลง”
ตัวแปรตน้ (independent variable)
……...................................................................................................................................................................
ตัวแปรตาม (dependent variable)
.........................................................................................................................................................................
ตัวแปรควบคมุ (control variable)
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
4. จากสมมติฐาน “ผลของแสงตอ่ การงอกรากกลว้ ยไม้”
ตวั แปรตน้ (independent variable)
……...................................................................................................................................................................
ตวั แปรตาม (dependent variable)
.........................................................................................................................................................................
ตวั แปรควบคุม (control variable)
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
5. การงอกของเมลด็ ขา้ วในเวลาทีต่ ่างกันข้ึนอยูก่ บั ปรมิ าณของน้ำที่ได้รบั
ตัวแปรตน้ (independent variable)
……...................................................................................................................................................................
ตวั แปรตาม (dependent variable)
.........................................................................................................................................................................
ตวั แปรควบคมุ (control variable)
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
6. การสนั่ สะเทอื นของไมบ้ รรทดั จะให้เสียงสงู หรือตำ่ ข้ึนอยกู่ บั แรงดีดของคนดีด
ตวั แปรตน้ (independent variable)
……...................................................................................................................................................................
ตัวแปรตาม (dependent variable)
.........................................................................................................................................................................
ตัวแปรควบคมุ (control variable)
.........................................................................................................................................................................

11

7. อัตราการเจริญเตบิ โตของไก่ขึ้นอยกู่ บั ปรมิ าณของโปรตนี ในอาหาร

ตัวแปรตน้ (independent variable)
……...................................................................................................................................................................

ตวั แปรตาม (dependent variable)
.........................................................................................................................................................................

ตัวแปรควบคมุ (control variable)
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

8. เม่อื ใส่ผงอีโนลงไปมาก จรวดประดษิ ฐก์ ็จะพงุ่ ขนึ้ ไปไดส้ ูงมากเช่นกนั
ตวั แปรตน้ (independent variable)

……...................................................................................................................................................................
ตวั แปรตาม (dependent variable)
.........................................................................................................................................................................

ตวั แปรควบคมุ (control variable)
.........................................................................................................................................................................

9. แกละไดท้ ำการทดลองเพื่อดวู ่า แสงแดดมีอิทธพิ ลตอ่ การเจรญิ เติบโตของราหรือไม่ เขาจึงทำการทดลอง
นำขา้ วสกุ ใส่ถ้วยขนาดเลก็ เทา่ กัน 2 ใบ แล้วนำไปเก็บในกล่องกระดาษปิดให้มดิ ชิด 1 ใบ วางไวก้ ลางแจง้ 1 ใบ
ทิ้งไว้ 3 วัน จึงสังเกตและบันทกึ ผลท่ีเกดิ ข้ึน

ตวั แปรต้น (independent variable)
……...................................................................................................................................................................

ตวั แปรตาม (dependent variable)
.........................................................................................................................................................................
ตัวแปรควบคมุ (control variable)

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

10. แมบ่ ้านชะเอมต้องการทดสอบเปรยี บเทียบ การขจัดคราบสกปรกออกจากผ้าของ ผงซกั ฟอก ท่ีมขี ายใน
ท้องตลาด เพื่อตดั สินในเลอื ก แม่บ้านชะเอมจะตอ้ งจดั อะไรให้ แตกตา่ งกัน

.........................................................................................................................................................................

ประเมนิ ตนเอง : จากการทำกิจกรรม นกั เรียนอยใู่ นระดบั ใด

 ดมี าก  ดี  พอใช้  ปรบั ปรุง

12

ร่วม กนั คดิ 2

คำสัง่ ให้สังเกตภาพดา้ นขวามอื ของแต่ละขอ้ ข้างล่างนแ้ี ลว้ เขียนคำตอบลงในช่องวา่ ง

1. เสน้ ตรง กข กบั เสน้ ตรง คง ขนานกนั หรอื ไม่

เมื่อใช้ไมบ้ รรทัดวดั ระยะหา่ งของเส้นตรง กข กบั เสน้ ตรง
คง ผลการวัดบอกได้ว่าเส้นตรงทง้ั 2 เส้นขนานกันหรือไม่

2. จากการสังเกตดว้ ยสายตา คดิ ว่าเส้นตรง กข กับ ก
เสน้ ตรง คง ยาวเท่ากนั หรือไม่
คข ง
เมือ่ วัดความยาวเสน้ ตรง กข และเส้นตรง คง
ด้วยไมบ้ รรทดั ผลที่ไดเ้ ป็นอย่างไร

3. จากการสังเกตด้วยสายตา คิดว่าเส้นตรง กข กับ เส้นตรง
คง ยาวเท่ากันหรือไม่

เมือ่ วดั ความยาวเสน้ ตรง กข และเสน้ ตรง คง ด้วยไมบ้ รรทดั
ผลที่ได้เป็นอย่างไร

จากกิจกรรมข้างตน้ นักเรียนคดิ ว่าตาเช่ือถอื ได้
เสมอไปหรอื ไม่

13

ร่วม กนั คดิ 3

คำส่ัง บอกชอื่ อปุ กรณแ์ ละอ่านค่าจากอปุ กรณท์ ใ่ี ชว้ ดั ปรมิ าณต่าง ๆ ได้

1ใหน้ กั เรียนเติมคาลงในชอ่ งวา่ งใหส้ มั พนั ธก์ บั ปริมาณท่กี าหนดให้

ปรมิ าณท่วี ดั อุปกรณท์ ี่ใชว้ ดั ปริมาณ หนว่ ยทใี่ ชว้ ดั ปรมิ าณ
มวล
ความยาว
เวลา
ปรมิ าตร
อุณหภูมิ
พืน้ ที่

2. ใหน้ กั เรียนเขียนตวั เลขแสดงค่าทีอ่ ่านไดล้ งในชอ่ งว่างดา้ นขวามือ

1)

2)

3)

3. ถา้ ต้องการศึกษาส่งิ ต่อไปนี้ ควรใชอ้ ุปกรณ์ชนดิ ใดจึงจะเหมาะสมที่สุด
1) แบคทเี รยี ในนมเปร้ียว ………………………….…………………………………….………
2) พฤตกิ รรมของกวางในทงุ่ หญ้า……….…………………..………………………………..
3) สว่ นประกอบของเมล็ดถวั่ เขยี ว……………………………………..………………………
4) ดาวบรวิ ารของดาวเสาร์.......…………………………………………………………………

4. เครอ่ื งมอื แพทย์ท่ีใชฟ้ งั เสียงการทำงานของอวัยวะบางอยา่ งภายในร่างกายของคนไขเ้ พอื่ เก็บข้อมูล
ประกอบการวนิ ิจฉัยโรค คอื ………..…………………………………………………………………………….……………………………

14

5. คนทไ่ี ดย้ นิ เสยี งในระยะใกล้ เมอ่ื เทียบกบั คนหปู กติ เรยี กว่า...........................................................................เกดิ

จาก…………………………………………ควรแกไ้ ขโดยใช้…………………..….…..…….……..เพื่อให้สามารถใหไ้ ด้ยินเสียงเหมือน
คนปกติ

6. เม่อื ใชม้ ือหยิบก้อนน้ำแข็งจะรู้สกึ เย็นเป็นเพราะ
...........................................................................................………..………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
7. เทอร์โมมิเตอร์สรา้ งโดยอาศัยหลกั การใด................................................................................................................
………..……………………………………………………….......................................……………………………………………………………..

8. เพราะเหตุใดจึงห้ามใช้น้ำเดอื ดทำความสะอาดเทอรโ์ มมิเตอรว์ ดั ไข้
………..………………………………………………………………………………..………………………..……………………………………………

……………………………………………………....………………………………………………………………………………………………………..
9. ทำไมจงึ ไม่ใชเ้ ทอร์โมมเิ ตอรใ์ นห้องทดลองวดั อุณหภูมิของรา่ งกาย
………..………………………………………………………………………………..………………………..………..……………………………………

…………………………………………..………………………..……………………………………………………………………………………………
10. เพราะเหตุใดจึงตอ้ งสลัดเทอร์โมมิเตอรใ์ ห้ปรอททงั้ หมดลงไปอยูใ่ นกระเปาะเสยี ก่อน แลว้ จงึ ค่อยใชแ้ อลกอฮอล์

เช็ด
………..………………………………………………………………………………..………………………..………..……………………………………
…………………………………………..………………………..……………………………………………………………………………………………

ประเมนิ ตนเอง : จากการทำกจิ กรรม นักเรียนอย่ใู นระดับใด

 ดีมาก  ดี  พอใช้  ปรบั ปรุง

จติ วิทยาศาสตร์ (Scientific mind)

จิตวิทยาศาสตร์ หมายถึง คุณลักษณะหรือลักษณะนิสัยของบุคคลท่ีเกิดขึ้นจากการศึกษาหาความรู้โดย
ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จิตวิทยาศาสตร์ประกอบด้วยคุณลักษณะต่าง ๆ ได้แก่ ความสนใจใฝ่รู้ ความ
มุ่งม่ัน อดทน รอบคอบ ความรับผิดชอบ ความซ่ือสัตย์ ประหยัด การร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟัง
ความคดิ เหน็ ของผู้อน่ื ความมเี หตผุ ล การทำงานรว่ มกับผู้อ่นื ได้อย่างสรา้ งสรรค์

15

คดิ แบบนกั วิทย์

ขนั้ นำปัญญำพฒั นำควำมคิด กิจกรรม ฝึ กทา : ฝึ กสร้าง

กจิ กรรม นำ้ สเี คล่ือนท่อี ย่างไร

จดุ ประสงค์ : สังเกตการณท์ ดลองการเคลอ่ื นท่ีของน้ำสี และวิเคราะห์การใช้ ทกั ษะกระบวนการทาง

วทิ ยาศาสตร์ในการทดลอง

อปุ กรณ์

1) นำ้ เย็นและนำ้ ร้อน อุณหภมู ิประมาณ 15C และ 60C ระวังนำ้ รอ้ นลวก
2) สผี สมอาหารสีแดงและสเี ขยี ว หรือสที ี่แตกต่างกนั 2 สี มอื นะคะ
3) แก้วนำ้

4) กระดาษแข็งขนาดพอดปี ากแกว้ นำ้

5) ถาด

วิธีการทดลอง

1) เตมิ น้ำเย็นและนำ้ ร้อนในแก้วอยา่ งละใบจนเต็มแก้ว โดยหยอดสีผสมอาหารสีแดงลงในแก้วนำ้ รอ้ นและสี

เขยี วลงในแกว้ น้ำเย็น

2) วางแก้วนำ้ เย็นลงบนถาดใช้กระดาษแข็งปดิ ปากแก้วนำ้ รอ้ นแลว้ ควำ่ แล้วน้ำร้อนลงบนแกว้ นำ้ เย็นโดยจัดวาง

ปากแก้วท้งั สองให้ประกบกันพอดแี ละให้แกว้ น้ำรอ้ นอยู่ดา้ นบน

3) พยากรณส์ ิ่งทเี่ กิดข้ึนเมื่อดึงกระดาษท่ีปดิ ปากแก้วออก บันทกึ สิง่ ท่พี ยากรณ์
4) ดงึ กระดาษที่ปดิ ปากแก้วออก สังเกตสิ่งที่เกิดขึ้นโดยไมเ่ พิ่มความเหน็ สว่ นตวั ลงไปบนั ทกึ ผลและอภปิ รายผล

การทดลองร่วมกนั ในกลมุ่ ว่าเกิดผลเช่นนน้ั ไดอ้ ย่างไร
5) ทำซ้ำขอ้ 1-3 แต่สลับตำแหนง่ แก้วโดยนำแล้วนำ้ รอ้ นไว้บนถาดแล้วนำกระดาษปิดปากแกว้ นำ้ เยน็

ประกบลงบนแก้วน้ำรอ้ นพยากรณผ์ ลทเี่ กิดข้ึนพร้อมอธบิ ายว่าเหตุใดจึงพยากรณ์เช่นน้นั บนั ทกึ ผล

16

6) ดึงกระดาษทปี่ ิดปากแกว้ ออกสังเกตส่ิงที่เกิดขึ้นโดยไม่เพม่ิ ความเห็นสว่ นตัว
ลงไปและบนั ทกึ ผล

7) อภิปรายผลการทดลองร่วมกันในกลมุ่ ว่าเกิดผลเชน่ น้ันไดอ้ ย่างไร จากน้นั รว่ มกนั นำเสนอแนวคดิ
ดังกล่าวโดยสร้างเปน็ แผนผัง รูปภาพ ข้อความหรืออ่นื ๆเพอื่ ใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจแนวคิดนนั้

บนั ทกึ ผลการทดลอง

คำถามท้ายการทดลอง
นักเรยี นได้ฝึกทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ใดบา้ ง ในการทำกิจกรรมแต่ละขัน้ ตอน

สรปุ ผลการทดลอง

17

กิจกรรม คิดดี ผลงำนดี มีควำมสขุ

ขน้ั นำปัญญำพฒั นำตนเอง

กจิ กรรม จรวดกระดาษของใครบนิ ได้นานทสี่ ดุ
จดุ ประสงค์ : ทำกจิ กรรมรอ่ นจรวดและวเิ คราะหก์ ารใชท้ กั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรใ์ นการทำ

กจิ กรรม
อปุ กรณ์

กระดาษ

วิธีการทดลอง
1) ให้นักเรียนแต่ละกลุม่ สืบค้นและอภปิ รายวา่ จรวดกระดาษลกั ษณะแบบใดที่น่าจะร่อนอยู่ในอากาศให้
นานที่สดุ
2) เลอื กพับจรวดกระดาษตามวิธที ี่ได้จากการอภิปราย โดยใชก้ ระดาษ 1 แผน่ ในการพบั จรวด 1 ชน้ิ และ
ไม่ใช้วัสดอุ ื่นใดประกอบ
3) แขง่ ขนั การรอ่ นจรวด โดยร่วมกันตกลงกติกาการแข่งขัน และวิธีการสงั เกตว่าจรวดใดอยู่ในอากาศได้
นานทีส่ ุด จากนน้ั แขง่ ขันรอ่ นจรวด 3 ครง้ั บนั ทึกเวลาทจี่ รวดอยู่ในอากาศท้งั 3 คร้งั และหาคา่ เฉล่ีย
4) จดั กลุ่มจรวดกระดาษ ตามเวลาเฉล่ยี ทรี่ ่อนอย่ใู นอากาศและจัดแสดงผลงานจรวดรวมทั้งเวลาเฉลย่ี ที่
จรวดแต่ละช้นิ ใช้ในเวลาเคลอ่ื นที่ให้เข้าใจงา่ ย
5) รว่ มกันอภปิ รายและลงขอ้ สรุป เกีย่ วกบั ลักษณะรว่ มกนั ของจรวดกระดาษที่สามารถรอ่ นอย่ใู นอากาศ
ได้นานทีส่ ดุ

คำถามทา้ ยการทดลอง
นักเรียนไดฝ้ กึ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ใดบ้าง ในการทำกจิ กรรมแต่ละขนั้ ตอน
การพยากรณ์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
การหาความสมั พนั ธร์ ะหว่างสเปซกบั สเปซ …………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
การสังเกต …………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
การลงความเห็นจากขอ้ มูล ………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
การจดั กระทำและส่อื ความหมายขอ้ มลู …………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

18

สรปุ ผลการทดลอง

วทิ ยาศาสตร์ มีคำตอบ รอบรู้ได้

วทิ ยาศาสตร์ ทดลองให้ เราเห็นผล
วทิ ยาศาสตร์ คอื ความจริง ทกุ สงิ่ ตน
วทิ ยาศาสตร์ ความรู้ล้น เหลือประมาณ

ฟิสกิ ส์ คอื เร่ืองราว ธรรมชาติ

กลศาสตร์ ปราชญ์เชิดชู ปพู น้ื ฐาน
คลื่นเสยี ง แสง ไฟฟ้า วิชาการ

ลว้ นเบกิ บาน ขานตอบโจทย์ โดยฉับไว

เคมี นท้ี ดลอง พร้อมจดั หมู่

สารเคมี น่ารู้ ดูสงสัย
ศึกษาธาตุ สารประกอบ แสนชอบใจ
ปฏกิ ิรยิ า หลากหลายไซร้ ไดอ้ ศั จรรย์

ชวี วทิ ยา คอื ชีวติ

คอื รอบตัว อันใกล้ชดิ คอื เพอ่ื นฉนั
เรยี นรเู้ ซลล์ โครงสร้าง นบั อนนั ต์
เปน็ สีสนั เป็นความสุข ทกุ เวลา

19

แบบประเมนิ ตนเองหลังเรยี น

คำชแี้ จง : ให้นกั เรียนเลือกคำตอบทีถ่ ูกต้องที่สดุ เพียงคำตอบเดียว ใชเ้ วลา 10 นาที

1. ขอ้ ความในขอ้ ใดท่ีไม่ได้เกิดจากการสงั เกต
ก. วนั นอ้ี ากาศร้อนอบอา้ ว
ข. โต๊ะตัวนส้ี ูง 150 เซนตเิ มตร
ค. นำ้ ยาขวดนีม้ กี ลน่ิ ฉนุ

ง. ผา้ ผนื นม้ี นั วาวกวา่ ผา้ ผนื น้ัน

2. ขอ้ ใดเป็นขน้ั ตอนแรกของกระบวนการศึกษาทางวทิ ยาศาสตร์
ก. การสงั เกตเพอื่ ระบุปัญหา
ข. การหาข้อมลู เพอ่ื รวบรวมขอ้ มลู
ค. การนำเสนอขอ้ มลู ให้ผู้อืน่ เขา้ ใจ
ง. การคาดคะเนคำตอบของปัญหา

3. ถ้านักเรียนต้องการทำการวดั ปรมิ าตรของน้ำดื่มขวดหนึ่ง ควรเลือกใชเ้ ครือ่ งมือวดั ใด เพ่อื ให้ได้ค่าที่ ถกู ตอ้ ง

มากทสี่ ุด

ก. ขวดนำ้ ดม่ื ข. เคร่ืองชั่งแบบดิจติ อล

ค. ถังนำ้ ง. กระบอกตวง

4. ส่งิ ของท่เี หน็ ในภาพ คือขอ้ ใด
ก. ราวตากผา้

ข. รองเทา้
ค. ด้าย
ง. เชอื กฟาง

5. ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรใ์ ดทีต่ ้องใชป้ ระสาทสัมผสั ทงั้ 5

ก. ทักษะการวดั
ข. ทักษะการสังเกต

ค. ทกั ษะการจำแนก
ง. ทักษะการคำนวณ

6. ทุกข้อเป็นลักษณะของการเขียนรายงานการทดลองทีด่ ี ยกเว้นขอ้ ใด
ก. มสี ว่ นประกอบครบถว้ น
ข. ใช้ภาษาในการเขยี นที่เข้าใจง่าย
ค. จัดระบบข้อมูลที่ไดจ้ ากการสำรวจ
ง. มีขอ้ มลู ท่เี กยี่ วขอ้ งเพม่ิ เติมมากๆ

20

7. สมมตฐิ านคืออะไร
ก. การระบคุ ำถามซง่ึ เกิดข้นึ จากการสงั เกต
ข. การวางแผนการทำงาน

ค. การคาดคะเนคำตอบของคำถาม หรือสง่ิ ที่สงสยั
ง. การตอบคำถามก่อนทำการทดลอง

8. ขอ้ ใดเป็นลำดับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ก. ระบุปัญหา รวบรวมขอ้ มูล ตง้ั สมมติฐาน ทดลอง สรุปผล

ข. ระบปุ ญั หา ตั้งสมมติฐาน ทดลอง รวบรวมข้อมูล สรปุ ผล

ค. ตั้งสมมติฐาน สังเกต ระบุปัญหา ทดลอง สรุปผล

ง. สงั เกต ระบปุ ัญหา รวบรวมข้อมูล ต้งั สมมติฐาน ทดลอง

9. ข้อใดเป็นเครือ่ งมือในการวดั ทีเ่ ป็นมาตรฐาน

ก. กระบอกตวง ตาช่งั สองแขน แทง่ ไม้

ข. ฝา่ มอื น้ิว เทอรโ์ มมเิ ตอร์

ค. ไมบ้ รรทดั ตาชง่ั สปรงิ กระบอกตวง

ง. เทอรโ์ มมเิ ตอร์ ไม้เมตร ขวดนำ้

10. ข้อใดเปน็ ประโยชน์ของกระบวนการศึกษาทางวทิ ยาศาสตร์
ก. เกดิ การคดิ อยา่ งเป็นเหตเุ ป็นผล

ข. เกดิ การแก้ปัญหาเพือ่ หาคำตอบของสง่ิ ที่สงสยั อย่างเป็นระบบ
ค. ขอ้ มลู ที่ได้รับมคี วามน่าเช่ือถือ และเผยแพร่แกผ่ ู้อื่นได้
ง. ถกู ทุกข้อ

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

21

เอกสารอ้างองิ

ศรีลกั ษณ์ ผลวฒั นะ และ คณะ . (2551). ส่ือการเรยี นรู้และเสรมิ สร้างทักษะตามมาตรฐานและ
ตวั ชวี้ ดั ชนั้ ปกี ลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เลม่ 1. กรงุ เทพฯ.นิยมวิทยา.

ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ,สถาบัน. คู่มือครู รายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ 1 ชน้ั
มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 เล่ม 1. (2553). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพค์ ุรุสภาลาดพร้าว.

สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี , (2553). สถาบัน.หนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ 1 ช้นั
มธั ยมศึกษา ปีท่ี 1 เลม่ 1 .กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์ครุ ุสภาลาดพร้าว.

ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี , (2561). สถาบัน.หนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ เล่ม1 ช้นั
มธั ยมศกึ ษา ปีท่ี 1 เลม่ 1 .กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พค์ ุรุสภาลาดพรา้ ว.


Click to View FlipBook Version