The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2023-09-19 00:55:19

งานวิจัย65

งานวิจัย65

42 100 2 = B N F E 2.4 คำนวณหาประสิทธิภาพ ของชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบ โยนิโสมนสิการ โดยใช้สูตร E1 / E2 ( เสาวนีย์ สิกขาบัณฑิต 2528 : 285 ) สูตรที่ 1 E1 = 100 A N X เมื่อ E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการที่จัดไว้ใช้ในชุดกิจกรรม คิดเป็นร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่ได้จากการทำแบบฝึกหัด และหรือการประกอบกิจกรรมระหว่างเรียน X แทน คะแนนรวมจาการทำแบบฝึกหัดและหรือการประกอบ กิจกรรมระหว่างการเรียนของนักเรียน N แทน จำนวนนักเรียนทั้งหมด A แทน คะแนนเต็มของแบบฝึกหัดระหว่างเรียน และหรือกิจกรรม การเรียน สูตรที่ 2 E2 = 100 B N F เมื่อ E2 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการที่จัดไว้ใช้ในชุดกิจกรรม คิด เป็นร้อย ละของคะแนนเฉลี่ยที่ได้จากการท แบบฝึกหัดและ หรือการประกอบกิจกรรมระหว่างเรียน F แทน คะแนนรวมจาการทำแบบฝึกหัดและหรือการประกอบกิจ กรรรมระหว่างการเรียนของนักเรียน N แทน จำนวนนักเรียนทั้งหมด B แทน คะแนนเต็มของการสอบหลังเรียนและหรือกิจกรรมหลัง เรียน 3. สถิติที่ใช้ในการตรวจสอบสมมติฐาน 3.1 สถิติเพื่อทดสอบสมมติฐานข้อที่ 1 คำนวณหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ โดยใช้สูตร E1/E2 (เสาวนีย์ สิกขาบัณฑิต. 2528:285)


43 3.2 สถิติเพื่อทดสอบสมมติฐานข้อที่ 2 และ 3 การทดสอบผลวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนรู้ และการคิดวิเคราะห์ทางสถิติแบบ t – test แบบ Correlated Samples or Dependent Samples (พวงรัตน์ ทวีรัตน์. 2540:165 ) จากสูตร df N 1 N 1 N D ( D) D t 2 2 = − − − = เมื่อ t แทน ผลต่างของคะแนนแต่ละคู่ D แทน ผลรวมของความแตกต่างระหว่างคะแนนทดสอบ ของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน 2 D แทน ผลรวมของกำลังสองของความแตกต่างระหว่าง คะแนนทดสอบของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน N แทน จำนวนผู้เรียนในกลุ่มตัวอย่าง


บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยใช้สัญลักษณ์ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ n แทน จำนวนนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง X แทน ค่าเฉลี่ยของคะแนนของกลุ่มตัวอย่างจากการทดลองก่อนเรียน และหลังเรียน S.D. แทน ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) t แทน ค่าสถิติที่ใช้พิจารณาใน t-test แบบ dependent ** แทน ความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 กลุ่มทดลอง แทน นักเรียนกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรม วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลและแปรข้อมูล ผู้วิจัยได้เสนอตามขั้นตอนดังนี้ 1. เพื่อสร้างและพัฒนาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 ทั้ง 4 เล่ม ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ชุด กิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3. เพื่อพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จากการศึกษารวบรวมข้อมูล เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตาม แนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ปรากฏผล ดังนี้ ตารางที่2 แสดงผลการวิเคราะห์ค่าประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโส มนสิการ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 30 คน (การทดลองภาคสนาม) เล่มที่ 1 ถึงเล่มที่ 4 แยกเป็นรายเล่ม เล่มที่ ชื่อเรื่อง E1/E2 1 เรื่อง ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงของสสาร 84.80 / 82.00 2 เรื่อง การถ่ายโอนความร้อน 89.60 / 80.00 3 เรื่อง ลมฟ้าอากาศรอบตัว 88.00 / 84.00 4 เรื่อง มนุษย์และการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ 83.00 / 82.00 รวมเฉลี่ย 86.35/82.00


45 จากตาราง 2 พบว่าประสิทธิภาพชุดชุดกิจกรรมตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 มีค่า 84.80 / 82.00 เล่มที่ 2 มีค่า 89.60 / 80.00 เล่มที่ 3 มีค่า 88.00 / 84.00 และเล่มที่ 4 มีค่า 83.00 / 82.00 รวมเฉลี่ย 86.35/82.00 ซึ่งพบว่าสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ กำหนด คือ 80/80 ซึ่งมีประสิทธิภาพสามารถนำไปใช้ได้ จากการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด แบบโยนิโสมนสิการ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียนและหลังเรียน เพื่อศึกษาความก้าวหน้าในการเรียนรู้ จากชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการที่ผู้รายงานสร้างขึ้น ดังตาราง 3 ตารางที่3 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ก่อนเรียนและหลังเรียนที่ได้รับการ จัดการเรียนรู้ที่ใช้ชุดกิจกรรม โดยใช้สถิติ t-test Dependent Sample กลุ่มทดลอง n K Mean S.D. t ก่อนเรียน 30 40 12.50 1.358 11.62** หลังเรียน 30 40 16.27 1.337 **(t.01 df = 30 = 2.756) df=n-1 จากตาราง 3 พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนหลังเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 แตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทั้งนี้โดยค่าเฉลี่ย ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ดังนี้ ค่าเฉลี่ยก่อนเรียน ( ) เท่ากับ 12.50 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.36.และคะแนนทดสอบหลัง เรียนมีค่าเฉลี่ย ( ) เท่ากับ 16.27 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.34 ตารางที่4 ค่าร้อยละของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคมที่ได้รับการจัดการ เรียนการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ จำแนกตาม ความคิดเห็นที่สะท้อนอัตมโนทัศน์ที่มีต่อตนเอง (Self Concept) ตอนที่ 1 ความคิดเห็นต่อข้อความที่สะท้อนอัตมโนทัศน์ ที่มีต่อตนเอง ใช่ ไม่ใช่ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 1. การทำสิ่งที่ไม่ดีมามาก 8 26.67 22 73.33 2. ฉันเป็นคนไม่เชื่อฟังเวลาที่อยู่ที่บ้าน 3 10.00 27 90.00 3. ฉันเคยได้รับความลําบากเสมอ 15 50.00 15 50.00 4. ฉันคิดไปในด้านอกุศลเสมอ 2 6.67 28 93.33


46 5. ฉันเป็นคนที่ไว้ใจได้ 26 86.67 4 13.33 6. ฉันเป็นคนเรียนดี 12 40.00 18 60.00 7. ฉันเป็นคนฉลาด 11 36.67 19 63.33 8. ฉันไม่ค่อยจะรู้เรื่องอะไรเลย 9 30.00 21 70.00 9. ฉันเป็นนักอ่านที่ดี 14 46.67 16 53.33 10. ฉันเรียนอะไรแล้วก็ลืมหมด 14 46.67 16 53.33 11. ฉันเป็นคนหน้าตาดี 14 46.67 16 53.33 12. ฉันมีหน้าตาแจ่มใสเสมอ 25 83.33 5 16.67 13. ฉันมีรูปร่างไม่ดี 11 36.67 19 63.33 14. ฉันเป็นคนแข็งแรง 24 80.00 6 20.00 15. ฉันเป็นผู้นําในการเล่นและการกีฬา 10 33.33 20 66.67 16. ฉันร้องไห้เก่ง 8 26.67 22 73.33 17. ฉันเป็นคนชอบวิตกกังวล 14 46.67 16 53.33 18. ฉันหวาดกลัวบ่อยๆ 8 26.67 22 73.33 19. ฉันจะว้าวุ่นใจเมื่อมีคนเรียกฉัน 6 20.00 24 80.00 20. ฉันเป็นคนขี้ตกใจ 12 40.00 18 60.00 21. คนมักเลือกฉันในการเล่นเกมต่างๆ 13 43.33 17 56.67 22. ฉันเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับเลือกให้เล่นเกม 5 16.67 25 83.33 23. ฉันลําบากใจที่จะเปนเพื่อนกับใคร 2 6.67 28 93.33 24. ฉันมีเพื่อนมาก 21 70.00 9 30.00 25. ฉันเปนคนที่ถูกลืม 5 16.67 25 83.33 26. ฉันเปนคนที่มีความสุข 25 83.33 5 16.67 27. ฉันเปนคนที่ไม่มีความสุข 3 10.00 27 90.00 28. ฉันพอใจในสภาพตัวเองขณะน 23 76.67 7 23.33 29. ฉันอยากเปนอยางอื่นที่ไมใชตัวฉันตอนนี้ 4 13.33 26 86.67 30. ฉันเปนคนราเริง 26 86.67 4 13.33


47 ตารางที่5 ค่าร้อยละของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคมที่ได้รับการจัดการ เรียนการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ จำแนกตาม ความรูสึกเห็นคุณคาในตนเอง (Self–Esteem Scale) ตอนที่ 2 ความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง เห็นด้วยอย่างยิ่ง/ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย/ ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 31. ฉันเปนคนมีคุณคาทัดเทียมกับผูอื่น 27 90.00 3 10.00 32. ฉันเปนคนมีคุณสมบัติที่ดีหลายอยาง 25 83.33 5 16.67 33. ฉันรูสึกวาฉันทําอะไรไมสําเร็จเลย 8 26.67 22 73.33 34. ฉันมีความสามารถทําสิ่งตาง ๆ ไดดีเทาผูอื่น 25 83.33 5 16.67 35. ฉันมีความภาคภูมิใจในตนเองนอยเหลือเกิน 11 36.67 19 63.33 36. ฉันคิดถึงตัวเองในทางที่ดี 27 90.00 3 10.00 37. โดยทั่วไปแลวฉันมีความพอใจในตัวเอง 27 90.00 3 10.00 38. ฉันหวังวาฉันสามารถนับถือตัวเองไดมากกวานี้ 26 86.67 4 13.33 39. ขณะนี้ฉันรูสึกวาตนเองเปนคนไรประโยชน 12 40.00 18 60.00 40. บางครั้งฉันคิดวาฉันไมมีอะไรดีเลย 12 40.00 18 60.00 ตารางที่6 ค่าร้อยละของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคมที่ได้รับการจัดการ เรียนการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ จำแนกตามการ ประเมินอัตมโนทัศน์(Self Concept Rating) ตอนที่ 3 ความรู้สึกต่ออัตมโนทัศน์ ไม่เคยเลย ไม่บ่อย นัก บางครั้ง บ่อยครั้ง ตลอดมา 41. ฉันเปนเพื่อนกับทุก ๆ คน 3.33 6.67 20.00 30.00 40.00 (1) (2) (6) (9) (12) 42. ฉันมีความสุข 3.33 6.67 20.00 36.67 33.33 (1) (2) (6) (11) (10) 43. ฉันมีความกรุณา 3.33 6.67 30.00 36.67 23.33 (1) (2) (9) (11) (7) 44. ฉันเปนคนกลา 3.33 6.67 26.67 33.33 30.00 (1) (2) (8) (10) (9) 45. ฉันเปนคนซื่อสัตย 3.33 6.67 16.67 36.67 36.67 (1) (2) (5) (11) (11) 46. คนทั่ว ๆ ไปชอบฉัน 3.33 10.00 33.33 33.33 20.00


48 (1) (3) (10) (10) (6) 47. ฉันเปนคนที่ไวใจได 3.33 3.33 16.67 36.67 40.00 (1) (1) (5) (11) (12) 48. ฉันเปนคนดี 3.33 6.67 26.67 33.33 30.00 (1) (2) (8) (10) (9) 49. ฉันภาคภูมิใจในตัวฉัน 3.33 6.67 20.00 26.67 43.33 (1) (2) (6) (8) (13) 50. ฉันเปนคนเกียจคราน 10.00 33.33 36.67 10.00 10.00 (3) (10) (11) (3) (3) 51. ฉันใหความรวมมือกับทุกคนเสมอ 3.33 6.67 20.00 36.67 33.33 (1) (2) (6) (11) (10) 52. ฉันเปนคนราเริงแจมใส 3.33 6.67 20.00 30.00 40.00 (1) (2) (6) (9) (12) 53. ฉันเปนคนมีความคิด 3.33 3.33 23.33 36.67 33.33 (1) (1) (7) (11) (10) 54. ฉันเปนที่รูจักของคนทั่วไป 3.33 6.67 26.67 33.33 30.00 (1) (2) (8) (10) (9) 55. ฉันเปนคนออนโยน 3.33 6.67 36.67 33.33 20.00 (1) (2) (11) (10) (6) 56. ฉันเปนคนขี้อิจฉา 20.00 33.33 33.33 10.00 3.33 (6) (10) (10) (3) (1) 57. ฉันเปนคนที่ไมดื้อดึง 3.33 16.67 40.00 23.33 16.67 (1) (5) (12) (7) (5) 58. ฉันเปนคนสุภาพ 3.33 10.00 36.67 33.33 16.67 (1) (3) (11) (10) (5) 59. ฉันเปนคนขี้อาย 3.33 16.67 30.00 26.67 23.33 (1) (5) (9) (8) (7) 60. ฉันเปนคนสะอาด 3.33 3.33 16.67 33.33 43.33 (1) (1) (5) (10) (13) 61. ฉันเปนคนที่มีประโยชนตอผูอื่น 3.33 6.67 36.67 36.67 16.67 (1) (2) (11) (11) (5) 62. ฉันเปนคนมีความกตัญญู 3.33 3.33 20.00 30.00 43.33 (1) (1) (6) (9) (13)


49 การคิดคะแนนรวม คะแนนรวมคิดโดยการรวมคะแนนทั้ง 62 ขอ ของผู้ตอบแบบทดสอบเข้าด้วยกันเป็นคะแนนการ เห็นคุณค่าในตนเองของผู้ตอบแบบทดสอบแต่ละคนซึ่งมีช่วงคะแนนโดยทฤษฎี(Theoretical Range of Scores) ตั้งแต่62 – 190 ในการแบงระดับของคะแนนการเห็นคุณคาในตนเอง มีเกณฑการแบ่งต่อไปนี้ ถาได้คะแนนตั้งแต่159 - 190 ถือวาเป็นผู้ที่เห็นคุณคาในตนเอง ในระดับสูง ถาได้คะแนนตั้งแต่ 95 - 158 ถือวาเป็นผู้ที่เห็นคุณคาในตนเอง ในระดับปานกลาง ถาได้คะแนนตั้งแต่ 62 - 94 ถือวาเป็นผู้ที่เห็นคุณคาในตนเอง ในระดับต่ำ ตารางที่7 ค่าร้อยละของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคมที่ได้รับการจัดการ เรียนการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ จำแนกตามการ เห็นคุณค่าในตนเอง ระดับการเห็นคุณค่าในตนเอง จำนวน (n=30) ร้อยละ ระดับสูง 22 73.33 ระดับปานกลาง 8 26.67 ระดับต่ำ 0 0 จากตารางพบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคมที่ได้รับการจัดการ เรียนการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ เป็นผู้ที่เห็นคุณคาในตนเอง โดยนักเรียนส่วนใหญ่เป็นผู้ที่เห็นคุณคาในตนเองอยู่ในระดับสูงคิดเป็นร้อยละ 73.33 (จำนวน 22 คน) และรองลงมาเป็นผู้ที่เห็นคุณคาในตนเองอยู่ในระดับสูงคิดเป็นร้อยละ 26.67 (จำนวน 8 คน)


บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ และเพื่อศึกษาการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการ เรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ ซึ่งสรุปผลการศึกษาได้ดังนี้ ความมุ่งหมายของการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ตั้งความมุ่งหมายไว้ดังนี้ 1. เพื่อสร้างชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ชุด กิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3. เพื่อพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สมมติฐานในการวิจัย 1. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์2 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนและก่อนเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ตามแนวคิดแบบโยนิโส มนสิการสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม มีการเห็นคุณค่าใน ตนเองของนักเรียนอยู่ใน ระดับสูง วิธีดำเนินการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2,4 และ 6 โรงเรียน สุวรรณารามวิทยาคม ปีการศึกษา 2565 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 98 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โรงเรียนสุวรรณาราม วิทยาคมปีการศึกษา 2565 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 30 คน ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย ระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการวิจัย ผู้วิจัยทำการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โดยใช้เวลา 60 ชั่วโมง


51 เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้นำมาจากแบบเรียนวิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร และเอกสารต่างๆ ซึ่ง ได้คัดเลือกให้มีความเหมาะสมสำหรับการฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยมีความยากง่ายเนื้อหา ที่สอดคล้องกับระดับความสามารถของนักเรียน โดยการวิเคราะห์จากผู้เชี่ยวชาญ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผู้วิจัยดำเนินการสร้างเครื่องมือในการวิจัย 1. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ 2. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียน สรุปผลการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับ การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ หลังเรียนสูงขึ้นอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นักเรียนส่วนใหญ่เป็นผู้ที่เห็นคุณคาในตนเองอยู่ในระดับสูงคิดเป็นร้อยละ 73.33 (จำนวน 22 คน) และรองลงมาเป็นผู้ที่เห็นคุณคาในตนเองอยู่ในระดับสูงคิดเป็นร้อยละ 26.67 (จำนวน 8 คน) อภิปรายผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และพัฒนาการเห็น คุณค่าในตนเองของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรม วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ ผลการวิจัยสามารถอภิปรายผลได้ดังนี้ การศึกษาการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเอง ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตาม แนวคิดแบบโยนิโสมนสิการนั้น ก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐาน ผลการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการ จัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการนั้นภาพรวมอยู่ในระดับสูง มากที่สุด และรองลงมาอยู่ในระดับปานกลางจากผลการวิจัยดังกล่าว สรุปได้ดังนี้ ประการแรก ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการเป็นสื่อการเรียน การสอนที่มีการจัดลำดับขั้นตอนอย่างชัดเจนและเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงออกทางความคิดอย่าง สร้างสรรค์ ระดมสมองช่วยกันแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์อย่างมีขั้นตอน ได้แก่ การระบุปัญหา การตั้งสมมติฐาน การทดลอง และการสรุปผลการทดลอง โดยใช้สถานการณ์ในชุดกิจกรรมเป็นตัว ยั่วยุให้เกิดปัญหาและคิดแก้ปัญหาตามที่วางแผนที่ปฏิบัติไว้เป็นการดึงดูดความสนใจในการคิดของ ผู้เรียนให้เป็นไปอย่างมีเหตุผลและเกิดการจูงใจในการอยากรู้ อยากเห็น กระตือรือร้นที่จะแสวงหา


52 คำตอบของปัญหาโดยใช้กระบวนการคิด ไตร่ตรองพิจารณาต่อสิ่งต่าง ๆ อย่างรอบคอบและมีเหตุผล ผู้สอนเป็นผู้กระตุนใหเกิดการเรียนรูโดยสงเสริมแนวทางการสอนโดยเนนผู้เรียนเป็นสำคัญ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองมีผลสัมฤทธิ์เพิ่มสูงขึ้น และจากการสังเกตและสัมภาษณ์ผู้เรียนพบว่า ผู้เรียนชอบการเรียนการสอน ที่ใช้รูปแบบการแก้ปัญหามากกว่ารูปแบบการสอนแบบเก่า รวมทั้งเห็น ว่ารูปแบบดังกล่าว มีประสิทธิภาพในการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเอง ซึ่งลักษณะการจัดกิจกรรม ของชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ ทำให้เกิดการรับรู้ว่าตนเองมีคุณค่า มี ศักยภาพและภูมิใจในตนเอง ผู้ที่ตระหนักรู้คุณค่าในตนเองจะมีแนวคิดและวิธีการดำเนินชีวิตที่ สอดคล้องเหมาะสม รักตัวเองเป็น กล้าที่จะเผชิญหน้ากับความท้าทายใหม่ๆ ยอมรับความแตกต่าง ระหว่างบุคคล รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีความสามารถในการปรับตัวได้ดี รวมทั้ง มองโลกในแง่ดี และมีเหตุผล ประการที่สอง บทบาทของครูในการเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเองให้กับนักเรียน ครู ควรจัดสภาพแวดล้อม และบรรยากาศที่ผ่อนคลาย เข้าใจ ยอมรับ ความสามารถของนักเรียนแต่ละ คนเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น กระตุ้นให้นักเรียนแสดงออกในทางที่เหมาะสมและเป็น แบบอย่างที่ดีให้นักเรียนได้เห็น และปฏิบัติตาม ดังนั้นการจัดสร้างนวัตกรรมและวิธีการสอนที่ส่งเสริม การคิดการแสดงออก กระตุ้นให้เด็กเกิดการเรียนรู้ และเห็นคุณค่าในตนเอง ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะทั่วไป 1.1 ครูควรอธิบายกระบวนการจัดการด้วยชุดกิจกรรมให้นักเรียนเข้าใจก่อนจัดกิจกรรม การเรียนการสอน พร้อมทั้งชี้แจงกำหนดเวลาในการทำกิจกรรมในแต่ละชุดกิจกรรมให้ชัดเจน เนื่องจากกิจกรรมมีหลายขั้นตอน 1.2 ครูควรสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนและบันทึกพฤติกรรมในแบบประเมินเพื่อนำผล ของการบันทึกนั้นมาปรับปรุงและพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคล 2. ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรศึกษาตัวแปรอื่น ๆ ควบคู่ไปกับการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เช่น ความสามารถในการออกแบบนวัตกรรมการศึกษาสร้างสรรค์ของนักเรียน 2.2 ควรศึกษาลักษณะของสมาชิกกลุ่มที่แตกต่างกันออกไป คือกลุ่มที่มีลักษณะ เหมือนกัน หรือเป็นหนึ่งเดียวกัน (homogeneous group) กับกลุ่มที่มีลักษณะแตกต่างกัน (heterogeneous group) เช่น แตกต่างกันด้านอายุ เพศ ระดับการศึกษา สถาบันการศึกษา เป็นต้น ว่ามีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงด้านการปรับตัวและการเห็นคุณค่าในตนเองหรือไม่ อย่างไร ภายหลังที่ได้รับได้รับการ จัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ


บรรณานุกรม


54 บรรณานุกรม กรรณิการ์ ไผทฉันท์. (2541). ผลการใช้ชุดกิจกรรมสิ่งแวดล้อมตามวิธีการวิจัยในการพัฒนาทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อสิ่งแวดล้อมตามวิธีการวิจัยในกิจกรรมชุมนุม วิทยาศาสตร์. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรมวิชาการ. (2536). นวัตกรรมการเรียนการสอนสังคมศึกษาระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพราว . กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2547). คู่มือส่งเสริมสุขภาพจิตนักเรียนระดับมัธยมศึกษา สำหรับครู. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: เอส.อาร์ พริ้นติ้งแมสโปรดักส์. กิดานันท์ มลิทอง (2540). เทคโนโลยีทางการศึกษาและนวัตกรรม.กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์ชวนชม. ชลสีต์ จันทาสี. (2543). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความ สามารถในการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการ สอนโดยใช้ชุดกิจกรรมการตัดสินใจทางวิทยาศาสตร์กับการสอนตามคู่มือครู. ปริญญา นิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการมัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนคริ นทรวิโรฒ. นภัสนันท์ สินสุ. (2549). ศึกษาการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุ ในศูนย์ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง. เชียงใหม่ : รายงานการค้นคว้าแบบอิสระ, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. นารีรัตน์ ฟักสมบูรณ์. (2541). การใช้ชุดส่งเสริมศักยภาพทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหาทาง วิทยาศาสตร์และบุคลิกภาพนักวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. ปริญญา นิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการมัธยมศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. เนื้อทอง นายี่. (2544). ผลการใช้ชุดกิจกรรมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กับการสอน โดยครูเป็นผู้สอนที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และความสนใจทาง วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการมัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. บุญเกื้อ ควรหาเวช. (2545). นวัตกรรมการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : ภาควิชาเทค โนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ป. มหาขันธ์. (2536). สอนเด็กให้มีความนับถือตนเอง. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. ประเทิน มหาขันธ. (2536). สอนเด็กใหนับถือตนเอง. กรงเทพฯ ุ : โอเดียนสโตร. ปราณี กองจินดา. (2549). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์และทักษะการคิด เลขในใจของนักเรียนที$ได้รับการสอนตามรูปแบบซิปปาโดยใช้แบบฝึกหัดที่เน้นทักษะ การคิดเลขในใจกับนักเรียนที$ได้รับการสอนโดยใช้คู่มือครู.วิทยานิพนธ์ ค.ม.(หลักสูตรและ การสอน). พระนครศรีอยุธยา : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.


55 บรรณานุกรม (ต่อ) ปรีชา ธรรมา. (2547). จิตวิทยาและจิตวิทยาพัฒนาการ. โครงการสารานุกรมศึกษาศาสตร์ คณะ ศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา.(2547, เมษายน). การเห็นคุณค่าในตนเอง. วารสารสารามุกรมศึกษาศาสตร์. ปริยทิพย์บุญคง. (2546). การศึกษาปัจจัยบางประการที่สัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่1.วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางการศึกษา,คณะศึกษาศาสตร์,มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปุริมาพร แสงพยับ. 2553. ผลการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีเผชิญความจริงที่มีต่อการ ตระหนักรู้และการเห็นคุณค่าในตนเองของนักศึกษามหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธ์, มหาวิทยาลัยรามคำแหง. พรรณราย ทรัพยะประภา. 2548. จิตวิทยาประยุกต์ในชีวิตและในการทำงาน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พจนารถ บัวเขียว. (2535). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการวิเคราะห ตนเองของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่สอนโดยการสอนแบบแกปญหาที่ใช้วิธีคิดแบบโยนิโส มนสิการ. วิทยานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. พรศรี ดาวรุ่ง. ( 2548 ). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถในการ คิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนโดยชุดกิจกรรม แก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์.สารนิพนธ์ กศ.ม. ( การมัธยมศึกษา ). กรุงเทพฯ : บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร. พวงรัตน์ ทวีรัตน์. ( 2540. ).วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 7 กรุงเทพฯ: สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2549). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์บริษัท สหธรรมิก จำกัด. พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2545). พฤติกรรมการสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพ วิชาการ. พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. 2548. วิธีวิทยาการสอนวิทยาศาสตร์ทั่วไป. กรุงเทพฯ: พัฒนาคุณภาพวิชาการ เพชรรัตดา เทพพิทักษ์. ( 2545 ) .การพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่องเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อการคิด ทำโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. ( วิทยาศาสตร์ศึกษา ). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่าย เอกสาร. ไพศาล หวังพานิช. (2536). การวัดผลการศึกษา.กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. ลักษณา สกุลทอง. (2550). ศึกษาการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โดยใช้โปรแกรมฝึกการคิดแบบโยนิโสมนสิการ. ขอนแก่น : วิทยานิพนธ์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.


56 บรรณานุกรม (ต่อ) วรรณทิพา รอดแรงค้า. (2544). การสอนวิทยาศาสตร์ที่เน้นกระบวนการ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.). วัลนิกา ฉลากบาง. (2548). การพัฒนาความสามารถในการรูจักคิดแบบโยนิโสมนสิการและการ บริโภคดวยปญญาของนักศึกษาสถาบันราชภัฏสกลนคร. (ปริญญานิพนธการวิจัย พฤติกรรมศาสตรประยุกตสาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยศรีนคริ นทรวิโรฒ). ถวัลย์มาศจรัส และพรพรต เจนสุวรรณ์. (2556). นวัตกรรมการศึกษา ชุดเอกสาร ประกอบการ เรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร: ธารอักษร . ธนะโสธร. (2529). ผลของการมีต าแหนงเป็นหัวหน้าห้องต่อความรูสึกเห็นคุณค่าใน ตนเอง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ ค.ม. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สํารอง บุตรโท. (2543). ผลการสอนเรื่องทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ด้วยวิธีสร้างศรัทธาและโยนิโส มนสิการสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 6 โรงเรียนบานพับ และโรงเรียนบานกอ จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ศึกษาศาสตร์(หลักสูตรและการสอน) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เสาวนีย์ สิกขาบัณฑิต (2528).การผลิตวัสดุเทคโนโลยีทางการศึกษา กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ สิริมา กลิ่นกุหลาบ. (2546). การศึกษาผลสมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการตัดสนใจ ของผูเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่เรียนคุณธรรมที่สงเสริมการเปนพลเมืองดีตามระบบ ประชาธิปไตยดวยชุดการสอนแบบโยนิโสมนสิการกับชุดการสอนแบบกระบวนการกระ จางค่านิยม. วิทยานพนธิ์ การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สมพร เชื้อพันธ์. (2547). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่3 โดยใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนแบบสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองกับ การจดัการเรียนการสอนตามปกติ.วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา. สุคนธ์ สินธพานนท์. (2551) . นวัตกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพเยาวชน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง. สุภัสสรา สนธิ์เจริญ. (2550). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวงจรสืบเสาะหาความรู้ใน วิชาวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาการศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) วิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. สุมน อมรวิวัฒน์ . ( 2531 ) . คิดเป็นตามนัยแห่งพุทธธรรม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สุมน อมรวิวัฒน์.( 2531 ) การสอนโดยสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.


57 บรรณานุกรม (ต่อ) สุมาลี โชติชุ่ม. (2544). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และเชาว์อารมณ์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการสอนตามคู่มือครู. ปริญญานิพนธ์ การศึกษา มหาบัณฑิต สาขาการมัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สุรางค์ โคว้ตระกูล. (2541). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สุใจ ตั้งทรงสวัสดิ์. (2532). การเปรียบเทียบผลของการให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับการบ้านที่มี ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนนาสาร อำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี, ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. --------------------. (2532). การใช้เพื่อนผู้ให้การช่วยเหลือในกลุ่มเพื่อการเพิ่มความรู้สึกการเห็น คุณค่าในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2546).การจัดสาระการเรียนรู้กลุ่ม วิทยาศาสตร์ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: สถาบนั ส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. อารมณ กัณฑศรีวิกรม. (2536). ผลของการสอนโดยสรางศรัทธาและโยนิโสมนสิการโดยใชวิธี คิดแบบคุณโทษและทางออกที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสรางเสริม ประสบการณ์ชีวิตตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อุดมลักษณ์ นกพึ่งพุ่ม. (2545). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถ ในการแก้ ปัญญาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนโดยใช้ชุดฝึก กระบวนการการคิดกับการสอนโดยใช้ผังมโนมติ. ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการมัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. Bary, P.D. 1984. Personality styles Seen in General Hospital Patient. In Psychosocial Nursing Assessment and Intervention. Philadelphia : J.B. LIPPINCOTT Company. Coopersmith, S. (1981). The Antecedent of Self-Esteem. 2nd. ed. Californai: Consulting Psychologist Press, Inc. Corsini, R.J. 1999. The dictionary of psychology. Ann Arbor, MI : Braun Brumfield. Bloom, Benjamin S. (1956). Taxonomy of Educational Objectives, the classification of educational goals – Handbook I: Cognitive Domain. New York: McKay. Good. ( 1973 ). C.V.Dictionary of Learning.3 rd ed. New York : Mc Grow Hill.


58 บรรณานุกรม (ต่อ) Kapfer , Phillip and Miriam Kapfer . ( 1972 ) . Instructional To Laern Package in American Education . New Jersey : Education Technology Publication , Englewoog Cliffs Lynn, Poirer. 1991. A Multifaceted Program to Improve Self – Esteem and Social Skill while Reducing Anxiety in Emotionally Handicapped Middle School Student. Ed. D. Diss., Nova University. Martins, E. C. and F. Terblanche. (2003). Building organization culture that stimulates creativity and innovation. European Journal of Innovation Management, 6(1), 64-74Satterfielf, Melanie. ( 2001 ). “ Geometer “ s Sketchpad: single – user package , version 3 ” Dissertation Abstracts International . ( Online ). Available : Newell, Shaw. (1963). Career Education : The State of the Science. Washingon, D.C. : Office of Career Education, United States Office of EducationSmith, Julia Ann. “The Efficacy of a School-Based Support Group on Adolescent Self Esteem and Social Support” Dissertation Abstracts International. 66(03) : 1402-B ; September, 2005. Tayler, C.W. (1964). Progress and Potential. New York : McGraw-Hill. Vivas, Davis A. (1985). The Design and Evaluation of a Course in Thinking Operation for First Grades in Vinezuela (Cognitive, Elamentary Learning). Dissertation Abstracts International. 46 (034) : 603. (September). William, Weber , B.Jr. ( 1999, February ) . “ Connecting Concepts of Number to Mental Computation Procedures : An Examination of Middle Grade Students, Achievement And Thinking,” Focus on Learning Problems in Mathematics . 21 ( 4 ) : 40 – 62


ภาคผนวก


60 ภาคผนวก ก - รายนามผู้เชี่ยวชาญในการตรวจเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย


61 รายนามผู้เชี่ยวชาญในการตรวจเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผู้เชี่ยวชาญ ด้านทางการสอนและวัดผลทาง วิทยาศาสตร์-เคมี 1) นางสาววรันต์ภรณ์ คังคะประดิษฐ์ ครู วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ สาขาวิชา เคมี โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย จ. จังหวัดนครปฐม 2) นางปิยะอนงค์ นิศาวัฒนานันท์ ครู วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ สาขาวิชา วิทยาศาสตร์-เคมี โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6 จ. นนทบุรี 3) นางสาวนิพา สาริพันธ์ ครู วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์- เคมี วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น


62 ภาคผนวก ข ตัวอย่างแบบประเมินของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยโดยผู้เชี่ยวชาญ


63 โดย : ผู้เชี่ยวชาญทางการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ คำชี้แจง 1. การประเมินชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโส เพื่อวิเคราะห์หาค่า IC พิจารณารายละเอียดสำคัญได้ดังนี้ 1.1 ความเหมาะสมและความสอดคล้องของชุดกิจกรรมต่อจุดประสงค์ 1.2 ความเหมาะสมและความสอดคล้องของชุดกิจกรรมต่อเนื้อหา 1.3 ความเหมาะสมของกิจกรรมตามรูปแบบแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ 1.4 ความเหมาะสมและความถูกต้องของภาษาที่ใช้ในชุดกิจกรรม 2. การลงความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ด้านการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ใช้เกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ +1 = มีความเหมาะสม มีความสอดคล้องของแผนการสอน 0 = ไม่แน่ใจ -1 = ไม่มีความเหมาะสม ไม่มีความสอดคล้องของแผนการสอน 3. เมื่อพิจารณาแล้วทำเครื่องหมาย / ลงในแบบประเมิน และขอความกรุณาแก้ไขความ ถูกต้อง ความเหมาะสมลงในแผนการสอน ***************************************************************** แบบประเมิน ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ


64 ตาราง 5 บันทึกการลงความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่ประเมินชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด แบบโยนิโสมนสิการ ชุดกิจกรรม วิทยาศาสตร์ตาม แนวคิดแบบโยนิ โสมนสิการ ความเหมาะสมและความสอดคล้องด้าน รวม ชุดกิจกรรม กิจกรรมตาม รูปแบบแนวคิด แบบโยนิโส มนสิการต่อ จุดประสงค์ ชุดกิจกรรม กิจกรรมตาม รูปแบบแนวคิด แบบโยนิโส มนสิการ ต่อเนื้อหา กิจกรรมตาม รูปแบบแนวคิด แบบโยนิโส มนสิการ ความถูกต้องของ ภาษาที่ใช้ในชุด กิจกรรม วิทยาศาสตร์ +1 0 -1 +1 0 -1 +1 0 -1 +1 0 -1 เรื่อง ความร้อน กับการ เปลี่ยนแปลงของ สสาร เรื่อง การถ่ายโอน ความร้อน เรื่อง ลมฟ้า อากาศรอบตัว เรื่อง มนุษย์และ การเปลี่ยนแปลง ลมฟ้าอากาศ ข้อเสนอแนะ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................


65 โดย : ผู้เชี่ยวชาญทางการสอนวิชาวิทยาศาสตร์และการวัดผลประเมินผล คำชี้แจง 1. การประเมินแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิต เพื่อวิเคราะห์หาค่า IC แบ่งคุณลักษณะที่ต้องการประเมินได้ดังนี้ 1.1 ความชัดเจนของคำถาม 1.2 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ 1.3 ความเหมาะสมของตัวเลือก 2. เกณฑ์การประเมินของผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนวิชาวิทยาศาสตร์และด้านการวัดผล ประเมินผล มีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ +1 = เมื่อท่านแน่ใจว่าข้อสอบนั้น สามารถวัดได้ตรงตามพฤติกรรมที่ต้องการวัด 0 = เมื่อท่านไม่แน่ใจว่าข้อสอบนั้น สามารถวัดได้ตรงตามพฤติกรรมที่ต้องการวัด -1 = เมื่อท่านแน่ใจว่าข้อสอบนั้น ไม่สามารถวัดได้ตรงตามพฤติกรรมที่ต้องการวัด 3. ในการประเมินครั้งนี้ให้ท่านทำเครื่องหมาย / ลงในช่องที่ท่านพิจารณาแล้วตามเกณฑ์แต่ละ ข้อ 4. ในการประเมินครั้งนี้ให้ท่านแก้ไขข้อคำถาม ตัวเลือกและภาษา ลงในข้อสอบได้ตามที่ ท่านเห็นว่าเหมาะสม ***************************************************************** แบบประเมินแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์


66 ตาราง 6 บันทึกการลงความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่ประเมินแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิทยาศาสตร์ ข้อ ที่ ความชัดเจน ของคำถาม ความสอด คล้องกับจุด ประสงค์ ความเหมาะ สมของตัว เลือก ข้อ ที่ ความชัดเจน ของคำถาม ความสอด คล้องกับจุด ประสงค์ ความเหมาะ สมของตัว เลือก +1 0 -1 +1 0 -1 +1 0 -1 +1 0 -1 +1 0 -1 +1 0 -1 1 17 2 18 3 19 4 20 5 21 6 22 7 23 8 24 9 25 10 26 11 27 12 28 13 . 14 . 15 . 16 40


67 ภาคผนวก ค - ผลการวิเคราะห์ค่าความยากง่าย (p) ค่าอำนาจจำแนก (r) และค่าความเชื่อมั่น (rtt) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ - คะแนนผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโส มนสิการ วิชาวิทยาศาสตร์2


68 ตาราง 7 ผลการวิเคราะห์ค่าความยากง่าย (p) ค่าอำนาจจำแนก (r) และค่าความเชื่อมั่น (rtt) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ข้อที่ p r การพิจารณา ข้อที่ p r การพิจารณา 1 0.52 -0.07 ตัดทิ้ง 6 0.48 0.37 คัดเลือกไว้ 2 0.59 0.37 คัดเลือกไว้ 7 0.46 0.48 คัดเลือกไว้ 3 0.50 0.19 ปรับปรุง คัดเลือกไว้ 8 0.50 0.33 คัดเลือกไว้ 4 0.72 0.19 ปรับปรุง คัดเลือกไว้ 9 0.46 0.19 ตัดทิ้ง 5 0.59 -0.15 ตัดทิ้ง 10 0.59 0.22 คัดเลือกไว้ ค่าความยากง่าย (p) ควรอยู่ระหว่าง (0.2 - 0.8) ค่าอำนาจจำแนก (r) ควรอยู่ระหว่าง (0.2 - 1) หมายเหตุ คัดเลือกไว้ 5 ข้อ ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์rtt = 0.72


69 ตาราง 8 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ วิชา วิทยาศาสตร์2 ประสิทธิภาพเล่มที่1 ประสิทธิภาพเล่มที่2 ประสิทธิภาพเล่มที่3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 คะแนนเตม็ (ระบ)ุ 10 10 10 10 10 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 50 20 จำ นวนกลุ่มตวัอยำ่ง 5 5 5 5 5 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 คะแนนรวมทกุคน 47 43 41 42 39 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 212 82 คะแนนเฉลี่ย 9.40 8.60 8.20 8.40 7.80 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 42.40 16.40 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 94.00 86.00 82.00 84.00 78.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 84.80 82.00 E1/E2 84.80 82.00 รำยกำร ผลกำรสอบระหว่ำงเรียน รวม ผลกำรสอบ หลงัเรียน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 คะแนนเตม็ (ระบ)ุ 3 5 5 5 5 2 0 0 0 0 0 0 0 0 0 25 10 จำ นวนกลุ่มตวัอยำ่ง 5 5 5 5 5 5 0 0 0 0 0 0 0 0 0 คะแนนรวมทกุคน 14 24 23 23 18 10 0 0 0 0 0 0 0 0 0 112 40 คะแนนเฉลี่ย 2.80 4.80 4.60 4.60 3.60 2.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 22.40 8.00 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 93.33 96.00 92.00 92.00 72.00 #### 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 89.60 80.00 E1/E2 89.60 80.00 รำยกำร ผลกำรสอบระหว่ำงเรียน รวม ผลกำรสอบ หลงัเรียน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 คะแนนเตม็ (ระบ)ุ 3 3 4 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 10 10 จำ นวนกลุ่มตวัอยำ่ง 5 5 5 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 คะแนนรวมทกุคน 14 12 18 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 44 42 คะแนนเฉลี่ย 2.80 2.40 3.60 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 8.80 8.40 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 93.33 80.00 90.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 88.00 84.00 E1/E2 88.00 84.00 รำยกำร ผลกำรสอบระหว่ำงเรียน รวม ผลกำรสอบ หลงัเรียน


70 ประสิทธิภาพเล่มที่4 ประสิทธิภาพชุดชุดกิจกรรมตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 มีค่า 84.80 / 82.00 เล่มที่ 2 มีค่า 89.60 / 80.00 เล่มที่ 3 มีค่า 88.00 / 84.00 และเล่ม ที่ 4 มีค่า 83.00 / 82.00 รวมเฉลี่ย 86.35/82.00 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 คะแนนเตม็ (ระบ)ุ 5 3 5 2 5 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 20 10 จำ นวนกลุ่มตวัอยำ่ง 5 5 5 5 5 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 คะแนนรวมทกุคน 20 13 18 10 22 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 83 41 คะแนนเฉลี่ย 4.00 2.60 3.60 2.00 4.40 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 16.60 8.20 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 80.00 86.67 72.00 #### 88.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 83.00 82.00 E1/E2 83.00 82.00 รำยกำร ผลกำรสอบระหว่ำงเรียน รวม ผลกำรสอบ หลงัเรียน


71 ภาคผนวก ง - คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อน เรียนและหลังเรียน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบ โยนิโสมนสิการ วิชาวิทยาศาสตร์2


72 ตาราง 9 คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 ก่อน เรียน และหลังเรียน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยชุด กิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบ โยนิโสมนสิการ วิชาวิทยาศาสตร์2 ผลการวิเคราะห์ขอ้มลูกลุ่มตวัอยา่ง 2 กลุ่ม ที่มคีวามสมัพนัธก์นั โดยมสีมมติฐาน ดงัน้ี H0 : คะแนนเฉลี่ย หลงัเรียน ไมแ่ตกต่างจากคะแนนเฉลี่ย H1 : คะแนนเฉลี่ย หลงัเรียน สูงกว่าคะแนนเฉลี่ย Paired Samples Statistics N Pair 30 1 30 การแปลผล 1. Mean หมายถึงคะแนนเฉลี่ยการทดสอบ ก่อนเรียน เทา่กบั 12.50 คะแนน คะแนนเฉลี่ยการทดสอบ หลงัเรียน เทา่กบั 16.27 คะแนน 2. N หมายถึงจา นวนผูเ้รียน 2 กลุ่ม มจีา นวนกลุ่มละ 30 คน 3. Std. Deviation หมายถึงค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานคะแนนทดสอบ ก่อนเรียน เทา่กบั 1.358 คะแนน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานคะแนนทดสอบ หลงัเรียน เทา่กบั 1.337 คะแนน 4. Std. Error Mean หมายถึงค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐานของคะแนนทดสอบ ก่อนเรียน เทา่กบั 0.248 คะแนน ค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐานของคะแนนทดสอบ หลงัเรียน เทา่กบั 0.244 คะแนน ก่อนเรียน ก่อนเรียน ก่อนเรียน หลงัเรียน Mean Std. Deviation Std. Error Mean 12.50 1.358 0.248 16.27 1.337 0.244 Paired Samples Statistics Pair 1 กอ่นเรียน กบัหลงัเรียน การแปลผล การหาค่าสมั ประสิทธ์ิสหสมัพนัธข์องคะแนนทดสอบ และ และใชใ้นการทดสอบความสมัพนัธข์องตวัแปร กบั H0 : คะแนนทดสอบของผูเ้รียน ก่อนเรียน กบั ไมม่คีวามสมัพนัธก์นั H1 : คะแนนทดสอบของผูเ้รียน ก่อนเรียน กบัมคีวามสมัพนัธก์นั โดยที่–1 ≤ correlation (r) ≤ 1 จากผลการวิเคราะห์ค่าSig. = 0.484 (p-value > .01) และมทีิศทางความสมัพนัธ์เนื่องจากค่า correlation (r) = 0.133 มคี่าเป็นบวก Paired Samples Statistics Paired Difference N Correlation Sig. 30 0.133 0.484 ก่อนเรียน หลงัเรียน ก่อนเรียน หลงัเรียน หลงัเรียน หลงัเรียน อยใู่นทิศทางเดียวกนั จึงยอมรับ H0 สรุปว่าคะแนนทดสอบไมม่คีวามสมัพนัธก์นั


73 จากผลการวิเคราะห์ค่าSig. = 0.484 (p-value > .01) และมทีิศทางความสมัพนัธ์เนื่องจากค่า correlation (r) = 0.133 มคี่าเป็นบวก Paired Samples Statistics Lower Upper กอ่นเรียน กบัหลงัเรียน 3.77 1.775 0.324 2.873 4.660 11.623 29 t-table= 2.756 Sig. (2-tailed) 0.000 Paired Difference Std. Error Mean 99% Confidence Interval of the Difference df อยใู่นทิศทางเดียวกนั จึงยอมรับ H0 สรุปว่าคะแนนทดสอบไมม่คีวามสมัพนัธก์นั Pair 1 Std. Mean Deviation t การแปลผล 1. Pair 1 หมายถึงการหาค่าแตกต่างระหว่างคะแนน ลบ 2. Mean หมายถึงค่าเฉลี่ยค่าความแตกต่างของคะแนน หลงัเรียน และ ก่อนเรียน เทา่กบั 3.77 3. Std. Deviation หมายถึงค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าแตกต่าง (Sd) = 1.775 4. Std. Error Mean หมายถึงค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐานของค่าเฉลี่ยของค่าแตกต่าง (SEd) = 0.324 5. 99% Confidence Interval of the Difference หมายถึงค่าช่วงความเชื่อมนั่ที่99% ของค่าเฉลี่ย เทา่กบั 2.873 < μd < 4.660 6. ค่า t หมายถึงค่าสถิติทดสอบของการทดสอบ H0 : μd = 0 ในที่น้ีt = 11.623 t-table= 2.756 7. Sig. (2-tailed) หมายถึงค่าSignificance ของการทดสอบ t = 0.000 ซ่ึงนอ้ยกว่า α = 0.01 สรุปผลการวิเคราะห์ ตารางที่... ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติทดสอบทีและระดบันยัสา คญัทางสถิติ ในการทดสอบเปรียบเทียบคะแนน กบัของผูเ้รียน Mean S.D. S.D. ค่าเฉลี่ย ผลต่าง Sig 1 tailed 12.50 1.358 16.27 1.337 จากตารางท.... ี่พบว่า การทดสอบคะแนนของผูเ้รียน มคีะแนน เฉลี่ย เทา่กบั 12.50 คะแนน และมคีะแนน หลงัเรียน เฉลี่ย เทา่กบั 16.27 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบระหว่างคะแนนสอบ ท้งัสองคร้ัง พบว่า คะแนนสอบ ก่อนเรียน หลงัเรียน หลงัเรียน ก่อนเรียน ก่อนเรียน หลงัเรียน t df สูงกว่าก่อนเรียนอยา่งมนียัสา คญัทางสถิติที่ระดบั .01 หลงัเรียน 3.77 1.775 11.623 ** 29 ก่อนเรียน 0.000 ค่าเฉลี่ยของผลต่าง


74 ภาคผนวก จ เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย - ตัวอย่างแบบประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - ตัวอย่างแบบวัดการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียน - ตัวอย่างชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ วิชาวิทยาศาสตร์2


75 ตัวอย่างแบบประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คำชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 40 ข้อใช้เวลาในการสอบ 50 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วทำเครื่องหมาย × ลงในกระดาษคำตอบ 1. อนุภาคของแก๊สจะมีการจัดเรียงตามข้อใด ก. จับตัวกันแน่น แรงยึดเหนี่ยวมีค่ามาก เคลื่อนไหวยาก ข. จับตัวอย่างหลวมๆ เคลื่อนไหวได้ยาก ค. อยู่อย่างกระจัดกระจาย อนุภาคสาร เคลื่อนที่อิสระ ง. จับตัวอย่างหลวมๆ เคลื่อนไหวได้ง่าย 2. กำหนดสมบัติของสารให้ดังนี้ A ไม่มีช่องว่างระหว่างอนุภาคและอนุภาคมีการสั่น B อนุภาคเคลื่อนที่ได้รวดเร็ว C มีรูปร่างและปริมาตรคงที่ D มีรูปร่างไม่คงที่ แต่ปริมาตรคงที่ สารใดมีสถานะเป็นของแข็ง ก. A และ B ข. A และ C ค. A และ D ง. A B และ D 3. สาร X มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยมาก มีช่องว่างระหว่างอนุภาคมาก และสามารถบีบอัดให้ เล็กลงได้ง่าย สาร X ควรเป็นสารใด ก. น้ำเกลือ ข. น้ำตาล ค. แท่งไม้ ง. แก๊สไฮโดรเจน ใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคำถามข้อที่ 4-6 1. การระเหย 2. การหลอมเหลว 3. การควบแน่น 4. การแข็งตัว 5. การระเหิด 6. การระเหิดกลับ 4. การสลายตัวของลูกเหม็น เป็นการเปลี่ยนสถานะในรูปใด ก. 1 ข. 2 ค. 5 ง. 6 5. การเปลี่ยนสถานะจากไอน้ำในอากาศกลายมาเป็นฝน เป็นการเปลี่ยนสถานะตามข้อใด ก. 1 ข. 3 ค. 4 ง. 6 6. การเกิดน้ำแข็งแห้งเป็นการเปลี่ยนสถานะตามข้อใด ก. 2 ข. 4 ค. 5 ง. 6 7. การกระทำใดที่ไม่ต้องคำนึงถึงหลักการขยายตัวของของแข็ง เมื่อได้รับความร้อน ก.การต่อท่อประปา ข.การสร้างสะพาน ค.การขึงสายโทรเลข ง.การเทพื้นคอนกรีต


76 8. เพราะอะไรการวางรถไฟจะต้องวางให้มีช่องว่างระหว่างรางแต่ละราง ก. เพื่อความสะดวกในการก่อสร้าง ข. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการวางราง ค. ช่วยลดเสียงเสียดสีเมื่อรถไฟวิ่ง ง. ป้องกันการขยายตัวหรือหดตัวของโลหะ 9. ข้อใดเป็นการป้องกันการเกิดปรากฏการณ์หดตัวของสสารที่สามารถพบเห็นได้ในชีวิตประจำวัน ก. น้องหนูนิดอ่านหนังสือพิมพ์พบข่าวชาวบ้านนำดอกไม้ธูปเทียนและน้ำแดงไปว่างบนถนนที่ยก ตัวขึ้น ข. คุณพ่อและคุณแม่พาน้องหนูหน่อยไปปล่อยโคมลอยในเทศกาลลอยกระทง ที่จังหวัดเชียงใหม่ ค. เจ้าหน้าที่การไฟฟ้านครหลวงทำการติดตั้งสายไฟฟ้าโดยการไม่ขึงสายไฟฟ้าให้ตึงเกินไป ง. คุณปู่เปิดฝาขวดที่เป็นเกลียวปิดแน่นไม่ได้จึงเทน้ำร้อนลงบนฝาขวดสักครู่จึงเปิดฝาได้ 10. สมดุลความร้อนหมายถึงข้อใด ก. อุณหภูมิคงที่ของวัตถุแต่ละชนิด ข. อุณหภูมิของวัตถุ 2 ชนิดที่เท่ากันมาสัมผัสกัน ค. วัตถุ 2 ชนิดมีอุณหภูมิต่างกันมาแตะกันจนมีอุณหภูมิทั้งสองเท่ากัน ง. อุณหภูมิที่แสดงว่าวัตถุสามารถรับพลังงานความร้อนได้มากน้อยเท่าใด 11. ถ้านำน้ำมวล 400 กรัม อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส ผสมกับน้ำมวลเท่ากัน อุณหภูมิ 50 องศา เซลเซียส แล้วรอจนสมดุลความร้อน โดยมีอุณหภูมิคงที่ที่ 60 องศาเซลเซียส จงคำนวณหาปริมาณความ ร้อนที่น้ำถ่ายโอนเป็นกี่แคลอรี ก. 3,000 แคลอรี ข. 4,000 แคลอรี ค. 5,000 แคลอรี ง. 6,000 แคลอรี 12.สถานะในข้อใด ที่สามารถถ่ายโอนความร้อนแบบการพาความร้อนได้ ก. แก๊ส ข. ของแข็ง ค. ของเหลว ง. ของเหลวและแก๊ส 13. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการถ่ายโอนพลังงานความร้อน ก. ถ่ายโอนจากวัตถุที่มีมวลมากไปหาวัตถุที่มีมวลน้อย ข. ถ่ายโอนจากวัตถุที่มีมวลน้อยไปหาวัตถุที่มีมวลมาก ค. ถ่ายโอนจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงไปยังวัตถุที่มีอุณหภูมิต่ำ ง. ถ่ายโอนจากวัตถุที่มีอุณหภูมิต่ำไปยังวัตถุที่มีอุณหภูมิสูง 14. สถานะของสารใด ที่สามารถถ่ายโอนความร้อนแบบนำความร้อนเท่านั้น ก. ของแข็ง ข. แก๊ส ค. ของเหลว ง. ของเหลวและแก๊ส 15. การถ่ายโอนความร้อนในข้อใดที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลาง


77 ก. การนำความร้อน ข. การพาความร้อน ค. การแผ่รังสีความร้อน ง. การนำความร้อนและการพาความร้อน 16. ข้อใดเป็นการถ่ายโอนพลังงานโดยการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่ร้อนในของเหลว ก. การพาความร้อน ข. การชนกัน ค. การแผ่รังสี ง. การนำความร้อน 17. ข้อใดถูกต้องที่สุด ก. ของแข็งนำความร้อนได้ดีกว่าของเหลว ข. พลังงานความร้อนไม่สามารถถ่ายโอนผ่านสุญญากาศ ค. การพาความร้อนเกิดขึ้นเฉพาะในแก๊ส ง. ความร้อนถ่ายโอนจากวัตถุที่มีอุณหภูมิต่ำไปสู่วัตถุที่มีอุณหภูมิสูง 18. คลื่นแม่เหล็กจากดวงอาทิตย์มาสู่โลกได้อย่างไร ก. การนำความร้อน ข. การพาความร้อน ค. การกระจายความร้อน ง. การแผ่รังสีความร้อน 19. บรรยากาศในชั้นใดที่มีการสะท้อนคลื่นวิทยุได้ดี ก. โทรโพสเฟียร์ ข. สตราโทสเฟียร์ ค. มีโซสเฟียร์ ง. เทอร์โมสเฟียร์ 20. บรรยากาศในชั้นใดที่เหมาะกับการบินมากที่สุด ก. โทรโพสเฟียร์ ข. สตราโทสเฟียร์ ค. มีโซสเฟียร์ ง. เทอร์โมสเฟียร์ 21. ข้อใดกล่าวถึงบรรยากาศชั้นมีโซสเฟียร์ได้ถูกต้อง ก. บรรยากาศชั้นนี้มีปรากฏการณ์ทางอุตุนิยมวิทยามากที่สุด ข. บรรยากาศชั้นนี้มีอนุภาคไฟฟ้าที่มีประจุ ซึ่งสามารถสะท้อนคลื่นวิทยุได้ ค. เมื่ออุกกาบาตหรือชิ้นส่วนหินจากอวกาศที่ตกลงมามักถูกเผาไหม้ในชั้นนี้ ง. บรรยากาศชั้นนี้มีหน้าที่ดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตที่ส่งมาจากดวงอาทิตย์ไว้ได้มากที่สุด 22. ข้อใดเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ผ่านมายังพื้นผิวโลกได้น้อยลง ก. เมฆในชั้นโทรโพสเฟียร์ ช่วยสะท้อนรังสีอัตราไวโอเลต ข. โอโซนในชั้นสตราโตสเฟียร์ ช่วยดูดกลืนรังสีอัตราไวโอเลต ค. แก๊สออกซิเจนในชั้นโทรโพสเฟียร์ ช่วยดูดกลืนรังสีอัตราไวโอเลต ง. อากาศที่แตกตัวเป็นประจุในชั้นเทอร์โมสเฟียร์ ช่วยสะท้อนรังสีอัตราไวโอเลต 23. ถ้าต้องการทราบว่าอากาศมีไอน้ำหรือไม่จะทดสอบได้อย่างไร ก. นำน้ำแข็งใส่แก้ว สังเกตมีหยดน้ำมาเกาะรอบๆ แก้ว ข. ต้มน้ำให้เดือด สังเกตมีไอน้ำพุ่งออกมา


78 ค. ถ้ำหินปูนมีหยดน้ำจากเพดานลงพื้น ง. ขุดบ่อทรายแล้วมีน้ำซึมออกมา 24. การที่ผ้าที่ตากไว้แห้งเร็ว ขึ้นอยู่กับสมบัติของอากาศในข้อใด ก. ความชื้นอากาศสูง ข. อากาศมีความหนาแน่นมาก ค. ความชื้นอากาศต่ำ ง. อากาศมีความหนาแน่นน้อย 25. การเปลี่ยนความกดดันอากาศอย่างช้าๆ ก่อให้เกิดสิ่งใด ก. พายุ ข. ลม ค. แผ่นดินไหว ง. แผ่นดินทรุด 26. ในร้านอาหารแห่งหนึ่ง อากาศมีความชื้นสัมบูรณ์ 6 g/m3 จะมีมวลของไอน้ำอยู่ในอากาศเท่าใด ถ้า ร้านอาหารแห่งนี้มีปริมาตรเท่ากับ 150 m3 ก. 45 g ข. 270 g ค. 900 g ง. 1,550 g 27. ความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศที่อุณหภูมิ 23 ํC จะมีค่าเท่าใด ถ้าขณะนั้นอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ 140 g/m3 และมีไอน้ำอยู่เพียง 120 g/m3 ก. 85.71% ข. 67.36% ค. 56% ง. 92.47% 28. เครื่องมือที่ใช้วัดความชื้นในบรรยากาศ คือ ก. ไฮโกรมิเตอร์ ข. อะนิโนมิเตอร์ ค. อัลติมิเตอร์ ง. เทอร์โมมิเตอร์ 29. เครื่องมือวัดความเร็วของลมและเครื่องมือวัดทิศทางลมเรียกว่าอะไร ตามลำดับ ก. ศรลม แอนิมอมิเตอร์ ข. แอโรเวน ศรลม ค. แอโรเวน แอนิมอมิเตอร์ ง. แอนิมอมิเตอร์ ศรลม 30. จากข้อมูลข้างต้น ถามว่าที่อุณหภูมิ 5 o C ปริมาณของไอน้ำในอากาศจะเป็นอย่างไร อุณหภูมิของอากาศ ปริมาณของไอน้ำในอากาศ 0 o c 5 o c 9.3 ........................................... ก. 9.3 ข. น้อยกว่า 9.3 ค. มากกว่า 9.3 ง. ถูกทุกข้อ 31. ถ้าวันเสาร์อุณหภูมิของอากาศเป็น 30 o C ส่วนวันอาทิตย์ อุณหภูมิของอากาศเป็น 25 o C ในวันใดจะ มีปริมาณไอน้ำในอากาศมากกว่ากัน ก. วันเสาร์ เพราะน้ำระเหยได้น้อยกว่า ข. วันเสาร์ เพราะน้ำระเหยได้มากกว่า ค. วันอาทิตย์ เพราะน้ำระเหยได้มากกว่า ง. ทั้งสองวัน มีปริมาณไอน้ำเท่ากัน 32. จงบอกชนิดของเมฆที่มีรูปร่างเป็นแผ่น เป็นก้อน และเป็นฝอยหรือริ้วๆ คล้ายขนสัตว์ตามลำดับ ก. คิวมูโลนิมบัส สเตรตัส เซอรัส ข. สเตรตัส คิวมูลัส เซอรัส


79 ค. สเตรตัส คิวมูโลนิมบัส เซอรัส ง. เซอรัส สเตรตัส คิวมูโลนิมบัส 33. เมฆชนิดใดก่อให้เกิดฝนตกหนัก ลมแรง เกิดพายุฟ้าคะนอง ก. เมฆเซอร์โรสเตรตัส ข. เมฆนิมโบสเตรตัส ค. เมฆคิวมูลัส ง. เมฆคิวมูโลนิมบัส 34. พายุในข้อใดมีความเร็วลมแตกต่างจากข้ออื่นและก่อให้เกิดความเสียหายน้อยที่สุด ก. ไซโคลน ข. ดีเปรสชั่น ค. ไต้ฝุ่น ง. เฮอร์ริเคน 35. ข้อใดสัมพันธ์กับการเกิดฟ้าแลบ ก. การแลกเปลี่ยนประจุไฟฟ้าภายในก้อนเมฆหรือระหว่างก้อนเมฆที่อยู่ใกล้กัน ข. การแลกเปลี่ยนประจุระหว่างเมฆคิวมูโลนิมบัสและพื้นโลก ค. การที่เมฆคิวมูลัสกำลังจะพัฒนาเป็น เมฆคิวมูโลนิมบัส ง. การขยายตัวอย่างรวดเร็วจนเกิดเป็นเสียงดังมาก 36. ข้อใดอธิบายการเกิดพายุได้ถูกต้องที่สุด ก. การที่อากาศเย็นลอยตัวเข้ามาแทนที่อากาศร้อน ข. การเคลื่อนที่ของอากาศเนื่องจากอุณหภูมิของอากาศที่แตกต่างกัน ค. การเคลื่อนที่ของอากาศเนื่องจากความกดอากาศที่แตกต่างกัน ง. การเคลื่อนที่ของอากาศอย่างรุนแรงรวดเร็ว เนื่องจากความกดอากาศแตกต่างกันมาก 37. พายุหมุนเขตร้อนในข้อใด ทำให้เกิดฝนตกในประเทศไทยบ่อยๆ ก. พายุไซโคลน ข. พายุดีเปรสชั่น ค. พายุไต้ฝุ่น ง. พายุเฮอริเคน 38. ข้อใดหมายถึงการพยากรณ์อากาศ ก. กระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในบรรยากาศ ข. ความรู้ความเข้าใจในปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ ค. สภาวะอากาศในปัจจุบัน ง. การคาดหมายสภาพลมฟ้าอากาศในอนาคต 39. ตัวอักษร H ในแผนที่อากาศหมายถึงอะไร ก. บริเวณที่มีความกดอากาศสูง ข. บริเวณที่มีความกดอากาศต่ำ ค. บริเวณที่มีอุณหภูมิสูง ง. บริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำ 40. สาเหตุที่อุณหภูมิของบรรยากาศภายในโลกร้อนขึ้นทุกปี และมักไม่เป็นไปตามฤดูกาลนั้น นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่าเกิดจากสาเหตุใด ก. ป่าไม้มีปริมาณลดลง ข. โลกหมุนรอบตัวเองเร็วขึ้น ค. โลกเคลื่อนที่เข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากขึ้น ง. แหล่งอุตสาหกรรมปล่อยแก๊สพิษมากขึ้น


80


81 ตัวอย่างแบบวัดการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียน คำชี้แจง แบบสอบถามทั้งหมดมี3 ตอน โปรดอ่านคำชี้แจงแต่ละตอนอย่างถี่ถ้วน คำตอบไม่มีการตัดสิน ว่าถูกหรือผิดเพราะเป็นความรู้สึกของคนแต่ละคนไม่จำเป็นจะต้องเหมือนกับผู้อื่นโปรดตอบทุก ๆข้อ ตอนที่1 โปรดอ่านแต่ละประโยคอย่างระมัดระวัง ถ้าประโยคไหนเหมือนตัวคุณเองก็ตอบว่า ใช่ ถ้าเห็นว่าไม่เหมือนก็ตอบว่า ไม่ใช่ โดยกาเครื่องหมาย X ทับคำตอบนั้น 1. ฉันทำสิ่งที่ไม่ดีมามาก ใช่ ไม่ใช่ 2. ฉันเป็นคนไม่เชื่อฟังเวลาที่อยู่บ้าน ใช่ ไม่ใช่ 3. ฉันเคยได้รับความลำบากเสมอ ใช่ ไม่ใช่ 4. ฉันคิดไปในด้านอกุศลเสมอ ใช่ ไม่ใช่ 5. ฉันเป็นคนที่ไว้ใจได้ ใช่ ไม่ใช่ 6. ฉันเป็นคนเรียนดี ใช่ ไม่ใช่ 7. ฉันเป็นคนฉลาด ใช่ ไม่ใช่ 8. ฉันไม่ค่อยจะรู้เรื่องอะไรเลย ใช่ ไม่ใช่ 9. ฉันเป็นนักอ่านที่ดี ใช่ ไม่ใช่ 10. ฉันเรียนอะไรแล้วก็ลืมหมด ใช่ ไม่ใช่ 11. ฉันเป็นคนหน้าตาดี ใช่ ไม่ใช่ 12. ฉันมีหน้าตาแจ่มใสเสมอ ใช่ ไม่ใช่ 13. ฉันมีรูปร่างไม่ดี ใช่ ไม่ใช่ 14. ฉันเป็นคนแข็งแรง ใช่ ไม่ใช่ 15. ฉันเป็นผู้นำในการเล่นและการกีฬา ใช่ ไม่ใช่ 16. ฉันร้องไห้เก่ง ใช่ ไม่ใช่ 17. ฉันเป็นคนชอบวิตกกังวล ใช่ ไม่ใช่ 18. ฉันหวาดหลัวบ่อย ๆ ใช่ ไม่ใช่ 19. ฉันจะว้าวุ่นใจเมื่อมีคนเรียกฉัน ใช่ ไม่ใช่ 20. ฉันเป็นคนขี้ตกใจ ใช่ ไม่ใช่ 21. คนมักเลือกฉันในการเล่นเกมต่าง ๆ ใช่ ไม่ใช่ 22. ฉันเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับเลือกให้เล่นเกม ใช่ ไม่ใช่ 23. ฉันลำบากใจที่จะเป็นเพื่อนกับใคร ใช่ ไม่ใช่ 24. ฉันมีเพื่อนมาก ใช่ ไม่ใช่ 25. ฉันเป็นคนที่ถูกลืม ใช่ ไม่ใช่ 26. ฉันเป็นคนที่มีความสุข ใช่ ไม่ใช่ 27. ฉันเป็นคนที่มีความสุข ใช่ ไม่ใช่ 28. ฉันพอใจในสภาพตัวเองขณะนี้ ใช่ ไม่ใช่ 29. ฉันอยากเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่ตัวฉันตอนนี้ ใช่ ไม่ใช่ 30. ฉันเป็นคนร่าเริง ใช่ ไม่ใช่ ตอนที่2 โปรดอ่านแต่ละข้อต่อไปนี้อย่างระมัดระวัง แล้วเลือกทำเครื่องหมาย ¡ ล้อมรอบ ข้อ ก. หรือ ข. หรือ ค. หรือ ง.ตามที่คุณเห็นว่าตรงกับความรู้สึกของคุณมากที่สุดเพียงข้อเดียว ก. เห็นด้วยอย่างยิ่ง ข. เห็นด้วย ค. ไม่เห็นด้วย ง. ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 31. ฉันเป็นคนมีคุณค่าทัดเทียมกับผู้อื่น ก ข ค ง 32. ฉันเป็นคนมีคุณสมบัติที่ดีหลายอย่าง ก ข ค ง 33. ฉันรู้สึกว่าฉันทำอะไรไม่สำเร็จเลย ก ข ค ง 34. ฉันมีความสามารถทำสิ่งต่าง ๆ ได้ดีเท่าผู้อื่น ก ข ค ง 35. ฉันมีความภาคภูมิใจในตนเองน้อยเหลือเกิน ก ข ค ง


82 36. ฉันคิดถึงตัวเองในทางที่ดี ก ข ค ง 37. โดยทั่วไปแล้วฉันมีความพอใจในตัวเอง ก ข ค ง 38. ฉันหวังว่าฉันสามารถนับถือตัวเองได้มากกว่านี้ ก ข ค ง 39. ขณะนี้ฉันรู้สึกว่าตนเองเป็นคนไร้ประโยชน์ ก ข ค ง 40. บางครั้งฉันคิดว่าฉันไม่มีอะไรดีเลย ก ข ค ง ตอนที่3 โปรดอ่านข้อความต่อไปนี้ตามลำดับอย่างถี่ถ้วน แล้วทำเครื่องหมาย ล้อมรอบ ตัวเลข 1 หรือ 2 หรือ 3 หรือ 4 หรือ 5 ซึ่งตรงกับรู้สึกของคุณมากที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ไม่เคยเลย 2. ไม่บ่อยนัก 3. บางครั้ง 4. บ่อยครั้ง 5. ตลอดมา 41. ฉันเป็นเพื่อนกับทุก ๆ คน 1 2 3 4 5 42. ฉันมีความสุข 1 2 3 4 5 43. ฉันมีความกรุณา 1 2 3 4 5 44. ฉันเป็นคนกล้า 1 2 3 4 5 45. ฉันเป็นคนซื่อสัตย์ 1 2 3 4 5 46. คนทั่ว ๆ ไปชอบฉัน 1 2 3 4 5 47. ฉันเป็นคนที่ไว้ใจได้ 1 2 3 4 5 48. ฉันเป็นคนดี 1 2 3 4 5 49. ฉันภาคภูมิใจในตัวฉัน 1 2 3 4 5 50. ฉันเป็นคนเกียจคร้าน 1 2 3 4 5 51. ฉันให้ความร่วมมือกับทุกคนเสมอ 1 2 3 4 5 52. ฉันเป็นคนร่าเริงแจ่มใส 1 2 3 4 5 53. ฉันเป็นคนมีความคิด 1 2 3 4 5 54. ฉันเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป 1 2 3 4 5 55. ฉันเป็นคนอ่อนโยน 1 2 3 4 5 56. ฉันเป็นคนขี้อิจฉา 1 2 3 4 5 57. ฉันเป็นคนที่ไม่ดื้อดึง 1 2 3 4 5 58. ฉันเป็นคนสุภาพ 1 2 3 4 5 59. ฉันเป็นคนขี้อาย 1 2 3 4 5 60. ฉันเป็นคนสะอาด 1 2 3 4 5 61. ฉันเป็นคนที่มีประโยชน์ต่อผู้อื่น 1 2 3 4 5 62. ฉันเป็นคนมีความกตัญญู 1 2 3 4 5 การตรวจและการแปลผลแบบทดสอบ (Rubin’s Self Esteem Scale) แบบทดสอบนี้เป็นแบบวัดที่ให้รายงานตัวเองประกอบด้วยข้อความ 62 ข้อ แบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่1 เป็นข้อความเกี่ยวกับอัตมโนทัศน์(Self Concept) จำนวน 30 ข้อ เป็นแบบเลือกรับหรือปฏิเสธ ตอบโดยกาเครื่องหมาย (กากบาท) ลงกับคำว่า “ใช่” หรือ “ไม่ใช่” ข้อละเครื่องหมาย ในแต่ละข้อมีการตรวจให้คะแนนแตกต่างกันตามลักษณะของข้อความ ดังนี้ เมื่อข้อความมีลักษณะทางบวก ถ้าตอบ “ใช่” ได้2 คะแนน ถ้าตอบ “ไม่ใช่” ได้1 คะแนน ได้แก่ข้อ 5, 6, 7, 9, 11, 12, 14, 15, 21, 24, 26, 28 และ 30 เมื่อข้อความมีลักษณะทางลบ ถ้าตอบ “ใช่” ได้1 คะแนน ถ้าตอบ “ไม่ใช่” ได้2 คะแนน ได้แก่ข้อ 1, 2, 3, 4, 8, 10, 13, 16, 17, 18, 19, 20, 22, 23, 25, 27 และ 29


83 ตอนที่2 เป็นแบบวัดความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง (Self – Esteem Scale) จำนวน 10 ข้อ เป็นแบบ rating scale 4 ระดับ (ก - ง) ตอบโดยการทำเครื่องหมาย (วงกลม) ล้อมรอบตัวอักษร ที่แสดงว่า “เห็นด้วยอย่างยิ่ง” “เห็นด้วย” “ไม่เห็นด้วย” หรือ “ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง” ข้อละ 1 เครื่องหมาย ในแต่ละข้อมีการตรวจให้คะแนนแตกต่างกันตามลักษณะของข้อความ ดังนี้ เมื่อข้อความมีลักษณะทางบวก ถ้าตอบ “ก” หรือ “ข” ได้2 คะแนน ถ้าตอบ “ค” หรือ “ง” ได้1 คะแนน ได้แก่ข้อ 31, 32, 34, 36 และ 37 เมื่อข้อความมีลักษณะทางลบ ถ้าตอบ “ก” หรือ “ข” ได้1 คะแนน ถ้าตอบ “ค” หรือ “ง” ได้2 คะแนน ได้แก่ข้อ 33, 35, 38, 39 และ 40 ตอนที่3 เป็นการประเมินอัตมโนทัศน์(Self Concept Rating) จำนวน 22 ข้อ เป็นแบบ rating scale 5 ระดับ (1-5) ให้ตอบโดยการทำเครื่องหมาย (วงกลม) ล้อมรอบตัวอักษรที่แสดงว่า “ไม่เคยเลย” “ไม่บ่อยนัก” “บางครั้ง” หรือ “ตลอดมา” และในแต่ละข้อมีการตรวจให้คะแนนแตกต่างกันตามลักษณะ ของข้อความ ดังนี้ เมื่อข้อความมีลักษณะทางบวก ถ้าตอบ “1” จะได้1 คะแนน ถ้าตอบ “2” จะได้2 คะแนน ถ้าตอบ “3” จะได้3 คะแนน ถ้าตอบ “4” จะได้4 คะแนน ถ้าตอบ “5” จะได้5 คะแนน ได้แก่ข้อ 41, 42, 43, 44, 45, 46, 47, 48, 49, 51, 52, 53, 54, 55, 57, 58, 60, 61 และ 62 เมื่อข้อความมีลักษณะทางลบ ถ้าตอบ “1” จะได้5 คะแนน ถ้าตอบ “2” จะได้4 คะแนน ถ้าตอบ “3” จะได้3 คะแนน ถ้าตอบ “4” จะได้2 คะแนน ถ้าตอบ “5” จะได้1 คะแนน การคิดคะแนนรวม คะแนนรวมคิดโดยการรวมคะแนนทั้ง 62 ข้อ ของผู้ตอบแบบทดสอบเข้าด้วยกัน เป็นคะแนนความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองของผู้ตอบแบบทดสอบแต่ละคนซึ่งมีช่วงคะแนนโดยทฤษฎี(Theoretical Range of Scores) ตั้งแต่ 62 – 190 ในการแบ่งระดับของคะแนนความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง มีเกณฑ์การแบ่งต่อไปนี้ ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 159 - 190 ถือว่าเป็นผู้ที่มีความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง ในระดับสูง ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 95 - 158 ถือว่าเป็นผู้ที่มีความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง ในระดับปานกลาง ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 62 - 94 ถือว่าเป็นผู้ที่มีความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง ในระดับต่ำ ที่มา : คู่มือ พัฒนาทักษะการดำเนินชีวิต ระดับมัธยมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ


84 ตัวอย่างชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ วิชาวิทยาศาสตร์2


85


Click to View FlipBook Version