The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดที่ 4 การเข้าร่วมประชุมวิชาการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2023-10-12 10:08:31

ชุดที่ 4 การเข้าร่วมประชุมวิชาการ

ชุดที่ 4 การเข้าร่วมประชุมวิชาการ


ก ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์หน่วยที่ 4 การเข้าร่วมประชุมวิชาการ ตามแนวคิดแบบ โยนิโสมนสิการ จัดทำเพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ความพึงพอใจทางการเรียนเคมี ส่งเสริมความสามารถทางการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1-3 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม โดยในทุกกิจกรรมได้จัดลำดับขั้นตอนที่เน้นการเพิ่มพูน ประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ นักเรียนจะได้รับการทดสอบก่อนเรียน และศึกษาเนื้อหาความรู้ที่ ส่งเสริมให้นักเรียนศึกษาและสืบค้น โดยมีความรู้เพิ่มเติมนอกเหนือจากในบทเรียน การตอบคำถาม การทำแบบฝึกหัด และทำกิจกรรมการทดลองตามขั้นตอนตลอดจนทำแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อ ประเมินตนเองหลังจากการเรียนรู้ในแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 4 การเข้าร่วมประชุม วิชาการ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการจะทำให้ผู้เรียนมีความรู้และความสามารถในการ สืบค้น การจัดระบบสิ่งที่เรียนรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อสร้างองค์ความรู้ ได้ เป็นอย่างดีสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ และเป็น ประโยชน์สำหรับผู้ที่สนใจใช้เป็นแนวทาง ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ได้ต่อไป นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ คำนำ


ข เรื่อง คำนำ สารบัญ ข้อแนะนำการเรียนรู้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ โครงสร้างชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ แบบทดสอบก่อนเรียน ขั้นที่ 1 การหาความรู้ปฏิบัติการ ฝึกอ่าน : ฝึกคิด - การเข้าร่วมประชุมวิชาการ - การนำเสนอผลงานด้วยการบรรยายในงานประชุมวิชาการ - ประโยชน์ของการเข้าประชุมวิชาการ ขั้นที่ 2 สร้างความรู้ปฏิบัติการ ฝึกทำ : ฝึกสร้าง - ฝึกทำ : ฝึกสร้างเรื่อง การนำ สืบค้นข้อมูลงานประชุมวิชาการการบูรณาการ ความรู้ ขั้นที่ 3 ซึมซับความรู้ปฏิบัติการ คิดดี ผลงานดี มีความสุข - นักวิทย์ฯ คิดอย่างมีวิจารณญาณ การเข้าร่วมและการสรุปรายงานการเข้า ประชุมวิชาการ แบบทดสอบหลังเรียน บรรณานุกรม หน้า ก ข ค ง จ 1 1 2 5 6 6 10 10 13 16 สารบัญ


ค สำหรับนักเรียน จุดประสงค์ของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้นักเรียนเป็นผู้มีความสามารถทางการจัดการความรู้ ทางวิทยาศาสตร์3 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านความรู้ความคิด 2. ด้านทักษะการจัดการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ 3. ด้านค่านิยมต่อตนเองเพื่อสังคม ซึ่งนักเรียนจะได้เสริมสร้างความสามารถดังกล่าวดังนี้1.การหาความรู้(Operation) จากกิจกรรมการ สืบเสาะ ค้นหา กิจกรรมร่วมกันคิด และกิจกรรมร่วมกันค้น 2.การสร้างความรู้(Combination) เป็นขั้นฝึกการ วิเคราะห์ประกอบด้วยการฝึกคิดแบบสืบสาวปัจจัยเหตุและแบบแยกแยะส่วนประกอบโดยใช้ ข้อความและ สถานการณ์ เพื่อพัฒนาตนเอง 3. การซึมซับความรู้(Assimilation) เป็นขั้นที่ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลจาก แหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น หนังสือ อินเตอร์เน็ต ฝึกคิดอย่างมีวิจารณญาณ ฝึกทักษะการเขียนเพื่อนำเสนอแก้ไข ปัญหาที่พบ ประกอบการตอบคำถามฝึกการวิเคราะห์จุดเด่น และจุดด้อยของผลงาน ตรวจสอบและปรับปรุง เพื่อสร้างชิ้นงานใหม่ต่อไปได้และข้อเสนอแนะกับผู้อ่านได้โดยในทุกกิจกรรมได้จัดลำดับขั้นตอนที่เน้นการ เพิ่มพูนประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์เพื่อเป็นผู้มีความสามารถทางการจัดการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ดังนี้ 1. อ่าน และทำความเข้าใจในทุกขั้นตอนของกิจกรรมการเรียนรู้ 2.รักและสนใจตนเอง สร้างความรู้สึกที่ดีให้กับตนเอง ว่าตัวเราเป็นผู้มีความสามารถมีศักยภาพอยู่ในตัว และพร้อมที่จะเรียนรู้ทุกสิ่งที่สร้างสรรค์ 3. รู้สึกอิสระและแสดงออกอย่างเต็มความสามารถ 4. ฟัง คิด ถาม เขียน ปฏิบัติอย่างรอบคอบในทุกกิจกรรม ใช้เนื้อที่กระดาษที่จัดไว้สำหรับเขียนให้เต็ม โดยไม่ปล่อยให้เหลือเปล่า เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับตนเอง 5. ใช้เวลาในการเรียนรู้อย่างคุ้มค่า ใช้ทุกๆ นาทีทำให้ตนเองมีความสามารถเพิ่มมากขึ้น 6. ตระหนักตนเองอยู่เสมอว่าจะเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อนำมาพัฒนาตนเองและพัฒนาสังคม จุดเด่นของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์คือ การสร้างคุณค่าที่ดีให้กับสังคม จึงขอเชิญชวนนักเรียน มาร่วมกันเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ด้วยใจรัก และ พัฒนาตนให้เต็มขีดความสามารถ ขอส่งความปรารถนาดีให้แก่นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างมีความสุขพึ่งตนเองได้และเป็นผู้ มีความสามารถทางการจัดการความรู้ทางวิทยาศาสตร์เพื่อสังคม ยิ่งๆ ขึ้น สืบไป ข้อแนะนำการเรียนรู้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์


ง สาระสำคัญ การสัมมนา การประชุมวิชาการ หรือการร่วมแสดงผลงาน สิ่งประดิษฐ์ในงานนิทรรศการเป็นการเปิด โอกาสให้ผู้มีส่วนร่วมได้แลกเปลี่ยนความคิด แสดงทัศนคติต่อกรณีศึกษา สถานการณ์หรือประเด็นสำคัญทางเคมี ซึ่งช่วยส่งเสริมให้พัฒนากระบวนการคิด ทักษะการสื่อสารทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อการค้นคว้าและการสื่อสาร ซึ่งสามารถทำได้หลายระดับ โดยอาจเป็นระดับชั้นเรียน โรงเรียน กลุ่มโรงเรียนชุมชน ระดับชาติหรือนานาชาติ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายรูปแบบและความสำคัญของการประชุมวิชาการ (K) 2. จัดทำรายงานสรุปการประชุมวิชาการ(P) 3. เห็นคุณค่าทางวิทยาศาสตร์ ตั้งใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ (A) การจัดกระบวนการเรียนรู้ใช้รูปแบบการจัดการความรู้ทางวิทยาศาสตร์มี3 ขั้น คือ 1. การหาความรู้(Operation) 2. การสร้างความรู้(Combination) 3. การซึมซับความรู้(Assimilation) เวลาที่ใช้ 3 ชั่วโมง การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ นักเรียนประเมินผลตนเองโดยใช้แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน-หลังเรียน โครงสร้างชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 4 การเข้าร่วมประชุมวิชาการ


จ แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 4 เรื่องการเข้าร่วมประชุมวิชาการ วิชาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 นาที คำชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อใช้เวลาในการสอบ 20 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วทำเครื่องหมาย × ลงในกระดาษคำตอบ 1. การประชุม หมายถึง ก. บุคคลมารวมกันโดยมิได้นัดหมายหารือกัน ข. บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปรวมกันทำกิจกรรมที่มีเป้าหมายชัดเจน ค. บุคคลกลุ่มหนึ่งร่วมปรึกษาหารือในกิจกรรมหนึ่งวัตถุประสงค์คือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ง. บุคคล 2 คนขึ้นไปมาพบกันตามนัดหมายเพื่อคิด วิเคราะห์ เพื่อประโยชน์ขององค์กรตามระบอบ ประชาธิปไตย 2. ข้อดีของเทคนิคการฝึกอบรมทางการประชุมทางวิชาการ ก. ได้เนื้อหาตามที่กำหนดครบถ้วน ข. ได้ความรู้จากวิทยากรหลายคน หลายด้าน ค. เกิดความรู้ความเข้าใจ ง. เพิ่มทักษะการฝึกอบรมได้ดี ไม่เบื่อหน่าย 3. เพราะเหตุใดจึงกล่าวว่าการประชุมมีประโยชน์อย่างมากต่อการทำงานเป็นทีม ก. ช่วยให้เกิดความความคิดร่วมกัน ข. ช่วยให้เกิดความผูกพัน ค. เป็นการรวบรวมข้อมูล ง. ถูกทั้ง 3 ข้อที่กล่าวมา 4. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการนำเสนอ ก. การนำเสนอข้อมูลเป็นการสื่อสารระหว่างผู้พูดกับผู้ฟัง ข. การนำเสนอที่ดีต้องมีผู้รับฟังไม่น้อยกว่า 10 คน ค. สื่อประสม คือ การนำสื่อหลาย ๆ ประเภทมารวมกัน ง. โปรเจคเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่จำเป็นในการนำเสนอข้อมูล 5. ข้อใดมีบทบาทในการนำเสนองานมากที่สุด ก. สื่อ ข. งาน ค. ผู้รับข้อมูล ง. ผู้นำเสนองาน 6. ข้อใด ไม่ใช่ องค์ประกอบในการนำเสนอ ก. คำถาม ข. ผู้นำเสนอ ค. ผู้รับข้อมูล ง. โพรโทคอล 7. ข้อใดคือวัตถุประสงค์ของการบรรยายสรุป ก. เพื่อให้ผู้รับข้อมูลแสดงความเห็นชอบ ข. เพื่อให้ผู้รับข้อมูลปฏิบัติตามสิ่งที่นำเสนอ ค. เพื่อให้ผู้รับข้อมูลคล้อยตามในสิ่งที่นำเสนอ ง.เพื่อให้ผู้รับข้อมูลมีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลง


ฉ 8. กราฟเหมาะกับการนำเสนอข้อมูลประเภทใด ก. รูปภาพ ข. ตัวอักษร ค. ตัวเลข ง. เสียง 9. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการใช้รูปภาพประกอบการนำเสนองาน ก. เลือกรูปภาพใหญ่เกือบเต็มจอแต่ไม่เต็มจอ ข. เลือกรูปภาพที่ไม่ได้รับอนุญาต ค. ขยายรูปภาพให้มีขนาดใหญ่ ง. เลือกรูปภาพที่เหมาะกับเนื้อหา 10. บุคลิกภาพขณะนำเสนอที่ควรทำคือข้อใด ก. ควรสบตาให้ทั่วถึง ข. ใช้เสียงให้ดังจะได้ฟังชัด ค. แต่งกายสบาย ๆ แต่ต้องสะอาด ง. ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเท่านั้น 11. ข้อใดคือบุคลิกภาพของผู้นำเสนอที่ประสบความสำเร็จ ก. มีความเชื่อมั่นในตนเอง ข. มีภาพลักษณ์ที่ดี ค. มีความรู้อย่างถ่องแท้ ง. ถูกทุกข้อ 12. ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ในการนำเสนอข้อมูล ก. เพื่อให้ผู้รับการนำเสนอข้อมูลได้รับความรู้จากข้อมูลที่นำเสนอ ข. เพื่อให้ผู้รับการนำเสนอข้อมูลรับทราบความคิดเห็น ค. เพื่อบรรยายข้อมูลทางด้านวิชาการ ง. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 13. การกำหนดขนาดตัวอักษรเนื้อหาภาษาไทยควรใช้ขนาดเท่าใด ก. 16-20 พอยต์ ข. 21-35 พอยต์ ค. 36-50 พอยต์ ง. 51-53 พอยต์ 14. ข้อใดหมายถึงสิ่งที่ไม่ควรทำในการออกแบบ ก. อย่าใส่ข้อความจำนวนมาก ข. อย่าใส่รูปภาพมากหรือพื้นหลังเป็นภาพที่ไม่ชัด ทำให้อ่านยาก ค. แสดงตารางขนาดเล็ก ง. ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ข. 15. หลักการใช้แบบอักษรจัดทำสไลด์ที่ถูกต้อง ก. ไม่ใช้อักษรมากกว่า 2 แบบในสไลด์เรื่องหนึ่ง ข. ควรใช้อักษรมากกว่า 3 แบบในสไลด์เรื่องหนึ่ง ค. ควรใช้เฉพาะตัวหนาหรือตัวเอนแทน ง. ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ค. 16. การเตรียมการนําเสนอจริงหมายถึงข้อใด ก. การใส่เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์ ข. การพิมพ์เอกสารประกอบการบรรยาย ค. เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์ ง. ต้องซ้อมการพูด 17. ข้อใดคือหลักการเพิ่มความน่าสนใจในการนําเสนอ ก. แบบอักษร ข. การใส่เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์ ค. กำหนดหัวข้อต่างๆ ง. ศึกษากลุ่มผู้ฟัง 18. ข้อใด ไม่ใช่ การออกแบบพื้นหลังสไลด์ ก. เรียบง่าย มองสบายตา ข. เน้นที่ตัวข้อความเป็นสำคัญ ค. หลีกเลี่ยงการใช้สีแวววาว ง. ชนิดของแผ่นสไลด์


ช 19. ข้อใดไม่จำเป็นต้องปรากฏบนโปสเตอร์นำเสนอโครงงาน ก. บทคัดย่อ ข. วิธีดำเนินการ ค. ผลการวิจัย ง. การอภิปรายผล 20. สิ่งที่ต้องกำหนดและวางแผนก่อนการออกแบบโปสเตอร์ คืออะไร ก. องค์ประกอบการจัดวาง ข. การกำหนดขนาดและรูปแบบของโปสเตอร์ ค. การกำหนดกระดาษ ง. รูปแบบปกของโปสเตอร์ 21. ข้อใดเตรียมการนำเสนอได้ถูกต้อง ก. สรุปประเด็น วิเคราะห์เนื้อหา ศึกษาข้อมูล วางแผนการนำเสนอ ข. กำหนดวิธีการนำเสนอ วางแผนการนำเสนอ ศึกษาข้อมูล เตรียมวัสดุอุปกรณ์ ค. ศึกษาข้อมูล วางแผนการนำเสนอ เตรียมวัสดุอุปกรณ์ เตรียมสถานที่ ง. วางแผนการนำเสนอ ศึกษาข้อมูล สรุปประเด็น เตรียมวัสดุอุปกรณ์22. ข้อใดถูกต้อง 23. ข้อมูลวิธีการทดลอง ควรจัดทำข้อมูลในรูปแบบใดเพื่อความเหมาะสม ก. แผนภาพ ข. แผนภูมิ ค. กราฟ ง. ตาราง 24. ข้อใดเป็นจุดประสงค์หลักของการนำเสนอและเผยแพร่ผลงาน ก. เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้อื่นเลียนแบบผลงานของตน ข. เพื่อเป็นเกียรติต่ออาจารย์ที่ปรึกษา ค. เพื่อปฏิบัติตามกฎหมายลิขสิทธิ์เกี่ยวกับการทำผลงาน ง. เพื่อให้ผู้อื่นนำผลงานดังกล่าวไปพัฒนาและใช้ในชีวิตประจำวัน 25. ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. การใช้ตัวอักษรที่เล็กลงจะทำให้ใส่เนื้อหาลงในโปสเตอร์ได้มากขึ้น ข. การใช้สีพื้นหลังฟ้าควรใช้ตัวอักษรสีเขียว ค. การนำเสนอโปสเตอร์เป็นการนำเสนอจากสิ่งที่เราทำจึงไม่จำเป็นต้องซักซ้อม ง. การจัดเรียงเนื้อหาในโปสเตอร์ควรมีลักษณะเป็นการเล่าเรื่อง 26. ข้อใดไม่ใช่ข้อพึงระวังที่ทำให้การนำเสนอด้อยประสิทธิภาพ ก. ความลังเล ข. พูดงึมงำ ค. ระดับเสียง ง. ใช้คำพูดและประโยคสั้นง่าย ๆ 27. ผู้นำเสนอควรยืนห่างจากแท่นพูดโดยประมาณเท่าไร ก. ประมาณ 1 เมตร ข. ประมาณ 0.5 เมตร ค. ประมาณ 1 คืบ ง. ประมาณ 1 ศอก 28. จังหวะที่ดีในการพูดคือข้อใด ก. เป็นเสียงที่มีลักษณะสูง ต่ำ หนัก เบา ข. เสียงเหมาะกับตำแหน่งการงาน ค. ไม่รัวหรือลัดคำ ง. พูดด้วยความรู้สึกที่จริงใจ 29. ข้อใด ไม่ใช่ หลักการพื้นฐานของการนำเสนอข้อมูล ก. การดึงดูดความสนใจ ข. เน้นการนำเสนอข้อมูลด้วยข้อความ ค. ความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ง. ความชัดเจนและความกระชับของเนื้อหา


ซ 30. ข้อใดคือความหมายของการนำเสนอข้อมูล ก. การสรุปข้อมูล ข. การวางโครงร่างไสลด์ ค. การบรรยายข้อมูลที่ต้องการสื่อสารให้ผู้ฟังได้รับรู้ ง. การสร้างงานนำเสนอโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ได้ ........... คะแนน


1 ขั้นที่1 การหาความรู้ Operation การสัมมนา การประชุมวิชาการ หรือการร่วมแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์ในงานนิทรรศการเป็นการเปิด โอกาสให้ผู้มีส่วนร่วมได้แลกเปลี่ยนความคิด แสดงทัศนคติต่อกรณีศึกษา สถานการณ์หรือประเด็นสำคัญทางเคมี ซึ่งช่วยส่งเสริมให้พัฒนากระบวนการคิด ทักษะการสื่อสารทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อการค้นคว้าและการสื่อสาร ซึ่งสามารถทำได้หลายระดับ โดยอาจเป็นระดับชั้นเรียน โรงเรียน กลุ่มโรงเรียนชุมชน ระดับชาติหรือนานาชาติ การประชุมวิชาการหรือการประชุมทางวิทยาศาสตร์ (เช่นการประชุมสัมมนา , การประชุมเชิง ปฏิบัติการหรือการประชุม ) เป็นเหตุการณ์สำหรับนักวิจัย (ไม่จำเป็นต้องนักวิชาการ ) เพื่อนำเสนอและหารือ เกี่ยวกับการทำงานของพวกเขา ร่วมกับวารสารทางวิชาการหรือวิทยาศาสตร์ เป็นช่องทางสำคัญสำหรับการ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างนักวิจัย หรือจะกล่าวได้ว่าประชุมทางวิชาการหรือวิชาชีพ คือ การประชุมของนักวิชาการ หรือ นักวิชาชีพ จัดงานอย่าง เป็นทางการ เพื่อนำเสนอผลงาน , วิจัย , ด้วยวิธีปาฐกถา , ปฏิบัติการ รวมทั้งด้วยวิธีอื่นๆอีกมากมาย การเข้าร่วมประชุมวิชาการ เล่มที่ 4 เวลา 3 ชั่วโมง ปฏิบัติการ ฝึกอ่าน : ฝึกคิด การเข้าร่วมประชุมวิชาการ การนำเสนอที่เกี่ยวข้องกับวิชาเคมี ส่วนใหญ่เป็นงานในลักษณะใดบ้าง …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… เพราะเหตุใด?? จึงต้องเข้าร่วม ประชุมวิชาการ …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………….………


2 ก่อนเข้าร่วมการประชุมวิชาการเพื่อนำเสนอผลงานผู้เข้าร่วมจะต้องเตรียมความพร้อมดังนี้ 1. จัดทำข้อมูลที่จะนำเสนอ 2. ใช้ความคิดสร้างสรรค์ 3. ใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอ 4. ฝึกทักษะการสื่อสาร 5. ฝึกการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ในปัจจุบันมีงานประชุมวิชาการในรูปแบบออนไลน์ซึ่งสามารถนำเสนอหรือเข้าฟังออนไลน์ได้ ซึ่งจะต้อง เตรียมความพร้อมดังนี้ 1. ศึกษาข้อมูลรายละอัยดของการประชุม 2. ฝึกใช้โปรแกรมหรือแอปพิเคลชันสำหรับการเข้าร่วมประชุม การนำเสนอด้วยการบรรยายเป็นการนำเสนอผลงานในรูปแบบที่ผู้นำเสนอใช้วาจาและสื่อประกอบใน การถ่ายทอดข้อมูลหากนำเสนอได้ดีจะสามารถดึงดูดความสนใจและสร้างความจดจำได้ซึ่งในการประชุมวิชาการ จะมีการเปิดโอกาสให้มีการซักถามหลังการบรรยายด้วยเนื้อหาการบรรยายควรปรับให้เหมาะสมกับกลุ่มผู้ฟัง และอยู่ในระยะเวลาที่กำหนดโดยมีข้อควรคำนึงถึงดังต่อไปนี้ 1. ศึกษารายละเอียดและข้อกำหนดของแต่ละเวทีการนำเสนอ เช่น กลุ่มผู้ฟังระยะเวลาในการนำเสนอ 2. เตรียมข้อมูลและเนื้อหาซึ่งประกอบด้วย ความเป็นมาและความสำคัญ ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วัตถุประสงค์กระบวนการหรือวิธีดำเนินการ ผลการดำเนินการ การวิเคราะห์และการอภิปรายผล และการ สรุปผล 3. เตรียมสไลด์โดยจัดสรรจำนวนสไลด์หรือเวลาที่นำเสนอให้เหมาะสมกับความสำคัญของแต่ละเนื้อหา เช่น ควรมีเนื้อหาในส่วนของผลการดำเนินการ การวิเคราะห์และการอภิปรายผล มากกว่าเนื้อหาในส่วนของ ความเป็นมาและความสำคัญ ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และวัตถุประสงค์นอกจากนี้ควรเตรียมสไลด์ นำที่แสดงชื่อเรื่อง ผู้นำเสนอ รวมทั้งสไลด์ปิดที่กล่าวขอบคุณหรือกิตติกรรมประกาศด้วย 4. ควรนำเสนอความคิดหลักเพียงประเด็นเดียวในแต่ละสไลด์ไม่ควรมีข้อความหรือภาพแน่นเกินไป และควรมี เลขระบุลำดับสไลด์ 5. ใช้แผนภูมิแผนภาพ ตาราง หรือรูปภาพ ที่สื่อความหมายได้ถูกต้อง ชัดเจน และน่าสนใจ มีขนาดที่ เหมาะสมไม่ใหญ่หรือเล็กจนเกินไป ส่วนข้อความให้แสดงเฉพาะข้อความสำคัญ 6. ใช้ตัวอักษรที่เหมาะสมที่ผู้ฟังทุกคนสามารถมองเห็นได้ชัดเจนและอ่านได้ง่าย ไม่ควรใช้รูปแบบของตัวอักษร มากเกินกว่า 2 รูปแบบสำหรับข้อความภาษาอังกฤษ หลีกเลี่ยงการใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด ควรใช้ตัวพิมพ์ ใหญ่เฉพาะพยัญชนะแรกของคำ การนำเสนอผลงานด้วยการบรรยาย ในงานประชุมวิชาการ การจัดเตรียมเนื้อหาและสื่อประกอบ


3 7. ใช้โทนสีของพื้นหลังที่ช่วยให้ผู้ฟังมองเห็นตัวอักษรและภาพได้อย่างชัดเจนและสบายตาและไม่ควรใช้พื้น หลังหลายรูปแบบ 8. กำหนดจำนวนสไลด์ทั้งหมดให้เหมาะสมกับเวลา ไม่ควรมีมากเกินไป เช่น การนำเสนอ 10 นาทีควรมีไซส์ ประมาณ 10-15 สไลด์เนื่องจากผู้ฟังส่วนใหญ่มีความ สนใจและสามารถทำความเข้าใจกับเนื้อหาในแต่ละ สไลด์ในช่วงเวลาประมาณ 40 - 60 วินาที 9. หลีกเลี่ยงการใช้ภาพเคลื่อนไหวที่ไม่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่อาจทำให้ผู้ฟังขาดความสนใจ หรือเสียสมาธิแต่ ควรใช้ภาพเคลื่อนไหวที่ส่งเสริมการนำเสนอให้เข้าใจง่ายขึ้น 10. ตรวจสอบการสะกดคำ การใช้เครื่องหมายรวมทั้งการเว้นวรรคให้ถูกต้อง ตัวอย่างสไลด์ที่ไม่เหมาะสมและที่ปรับปรุงให้เหมาะสม ดังรูป ก) สไลด์ด้านขวาสรุปเป็นแผนภาพที่เห็นลำดับขั้นได้ชัดเจนกว่าสไลด์ด้านซ้ายซึ่งเป็นข้อความบรรยาย ข) สไลด์ด้านขวาเลือกสีตัวอักษรที่แตกต่างจากสีพื้นหลังทำให้มองเห็นอักษรชัดเจนกว่าสไลด์ด้านซ้าย


4 ค) สไลด์ด้านขวาแสดงเนื้อหาที่สำคัญทำให้ข้อความน้อยลงจึงใช้ตัวอักษรใหญ่ขึ้นได้และเห็นชัดเจนกว่า สไลด์ด้านซ้าย ง) สไลด์ด้านขวาแสดงเฉพาะข้อมูลที่สำคัญซึ่งเป็นค่าของตัวแปรต้นและตัวแปรตามไว้ในตารางและ แสดงข้อมูลเกี่ยวกับตัวแปรที่ต้องควบคุมให้คงที่ไว้นอกตารางทำให้ผู้ฟังพิจารณาข้อมูลได้ง่ายกว่าสไลด์ ด้านซ้าย ง) สไลด์ด้านขวาแสดงเฉพาะข้อมูลที่สำคัญซึ่งเป็นค่าของตัวแปรต้นและตัวแปรตามไว้ในตารางและ แสดงข้อมูลเกี่ยวกับตัวแปรที่ต้องควบคุมให้คงที่ไว้นอกตารางทำให้ผู้ฟังพิจารณาข้อมูลได้ง่ายกว่าสไลด์ ด้านซ้าย รูป 1 ตัวอย่างสไลด์ที่ไม่เหมาะสมและที่ปรับปรุงให้เหมาะสม ที่มา หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์เคมีเล่ม 2 สสวท 1. ควรมีการซักซ้อมก่อนการนำเสนอจนมั่นใจว่าสามารถบรรยายเนื้อหาได้อย่างถูกต้องครบถ้วน ภายในระยะเวลาที่กำหนด 2. พูดออกเสียงให้ชัดไม่ช้าหรือเร็วเกินไปเว้นวรรคตอนและจังหวะให้ฟังง่ายเพื่อให้ผู้ฟังสามารถรับ ข้อมูลที่ต้องการสื่อสารได้อย่างถูกต้องไม่ควรพูดโทนเสียงที่ราบเรียบแต่ควรเน้นเสียงหนักในส่วนที่ เป็นสาระสำคัญหรือจุดสำคัญเพื่อให้น่าสนใจ 3. สบตาผู้พูดอย่างทั่วถึงระหว่างการนำเสนอไม่อ่านสไลด์หรือบทพูด 4. วางท่าทางด้วยบุคลิกที่แสดงความมั่นใจเป็นมิตรมีการชี้สไลด์ด้วยอุปกรณ์และอาจใช้ท่าทาง ประกอบการบรรยายเช่นการบอกทิศทางขนาดรูปร่างจำนวน 5. แต่งกายให้เรียบร้อยและเหมาะสมกับกาละเทศะ ในการนำเสนอจะแบ่งช่วงการนำเสนอออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนนำเรื่อง ส่วนเนื้อหา และส่วนท้าย เรื่อง 1. ส่วนนำเรื่อง (10%) ส่วนเปิดรายการเพื่อแนะนำตนเอง บอกหัวเรื่อง หัวข้อที่จะบรรยาย ประกอบด้วย • การกล่าวทักทาย และสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับฟัง • เชื่อมโยงเรื่องที่จะนำเสนอก่อน หรือแนะนำประเด็น/หัวข้อสำคัญเรื่องที่จะนำเสนอ • กระตุ้นหรือเร้าความสนใจของผู้รับฟังตั้งแต่หน้าแรกของการนำเสนอ การพูดนำเสนอ


5 2. ส่วนเนื้อหา (75%) เป็นส่วนหลักของการนำเสนอ ซึ่งควรดำเนินไปอย่างต่อเนื่องตามหัวข้อที่ กำหนดไว้ มีรายละเอียดดังนี้ • นำเสนอตามลำดับเรื่องที่ได้เตรียมการไว้ • อธิบาย ยกตัวอย่างประกอบ ย้ำประเด็นสำคัญ • ตลอดระยะเวลาการนำเสนอต้องสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้รับฟัง • ประเมินหรือสังเกตปฏิกิริยาของผู้รับฟัง และตรวจสอบความเข้าใจ • บรรยายหรือน าเสนออย่างมีสติ ควบคุมบรรยากาศของการนำเสนอให้อยู่ในเนื้อหา • เชื่อมโยงสาระ เนื้อหาระหว่างหัวข้อให้สัมพันธ์และสอดคล้องกัน • เปิดประเด็นหรือเปิดโอกาสให้มีการซักถามในหัวข้อสำคัญ หรือเมื่อมีคนถาม 3. ส่วนท้ายเรื่อง (15%) ส่วนปิดท้ายเรื่องเป็นการสรุปเนื้อหา ตอบข้อซักถาม ให้คำแนะนำ • ตรวจสอบความเข้าใจของผู้รับฟังอีกครั้ง • สรุปประเด็น เค้าโครงหรือภาพรวมของเรื่องที่นำเสนอ • เน้น ย้ำประเด็นหรือสาระสำคัญหรือสิ่งที่เป็นหัวใจของเรื่อง • เชื่อมโยง ฝากข้อคิด สร้างความสัมพันธ์ แนะนำการนำไปพัฒนาหรือนำไปบูรณาการ • ควบคุมเวลา และพยายามจบให้ตรงเวลา 1. ได้ฝึกจัดทำข้อมูลที่จะนำเสนอ 2. ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ 3. ได้ฝึกใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอ 4. ได้ฝึกทักษะการสื่อสาร 5. ได้ฝึกการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 6. มีจิตวิทยาศาสตร์ด้านการใจกว้าง และยอมรับฟังความเห็นต่าง ประโยชน์ของการเข้าประชุมวิชาการ


6 เรื่อง สืบค้นข้อมูลงานประชุมวิชาการ จุดประสงค์ของกิจกรรม สืบค้นข้อมูลงานประชุมวิชาการทางเคมี วิทยาศาสตร์ หรือเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง วิธีทำกิจกรรม ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลล่วงหน้า แล้วนำเสนอสิ่งที่ได้จากการสืบค้นในห้องเรียน ผลการสืบค้น ชื่องานประชุม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ชื่อหัวข้อหลัก (theme) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ช่วงเวลาที่จัดงาน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สถานที่จัดงาน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… หน่วยงานหลักที่จัด …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


7 รูปแบบของกิจกรรม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ชื่องานประชุม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ชื่อหัวข้อหลัก (theme) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ช่วงเวลาที่จัดงาน …….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สถานที่จัดงาน …….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… หน่วยงานหลักที่จัด …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… รูปแบบของกิจกรรม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


8 ชื่องานประชุม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ชื่อหัวข้อหลัก (theme) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ช่วงเวลาที่จัดงาน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สถานที่จัดงาน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… หน่วยงานหลักที่จัด …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… รูปแบบของกิจกรรม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


9 เกณฑ์การให้คะแนนสืบค้นข้อมูลงานประชุมวิชาการ สิ่งที่ต้องการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ระดับ คุณภาพ เนื้อหาของรายงาน มีข้อมูลงานประชุมวิชาการอย่างน้อย 2 การประชุมและมี เนื้อหาครบตามหัวข้อที่กำหนด ดี มีข้อมูลงานประชุมวิชาการอย่างน้อย 2 การประชุมแต่มี เนื้อหาไม่ครบตามหัวข้อที่กำหนด พอใช้ มีข้อมูลงานประชุมวิชาการเพียง 1 การประชุม และมี เนื้อหาไม่ครบตามหัวข้อที่กำหนด ต้องปรับปรุง การส่งรายงาน ส่งทันตามกำหนดเวลา ดี ส่งไม่ทันตามกำหนดเวลา ต้องปรับปรุง


10 นักวิทย์ฯ คิดอย่างมีวิจารณญาณ กิจกรรม การเข้าร่วมและการสรุปรายงานการเข้าประชุมวิชาการ จุดประสงค์ของกิจกรรม 1. เข้าร่วมการประชุมวิชาการ 2. จัดทำสรุปรายงานการเข้าร่วมประชุมวิชาการ วิธีการทำกิจกรรม ให้นักเรียนเข้าร่วมประชุมวิชาการที่จัดขึ้นโดยหน่วยงานต่าง ๆ หรือครูจัดการประชุมวิชาการใน ระดับชั้นเรียน โรงเรียน หรือกลุ่มโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้มีประสบการณ์การเข้าร่วมประชุมวิชาการ บันทึกความรู้เกี่ยวกับข้อควรปฏิบัติในการเข้าร่วมประชุมวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขั้นที่3 ซึมซับความรู้ Assimlation ปฏิบัติการ คิดดี ผลงานดี มีความสุข ภาพถ่าย (ระบุวันเวลาที่เข้าร่วม)


11 …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


12 เกณฑ์การให้คะแนนรายงานผลการเข้าร่วมประชุมวิชาการจากกิจกรรม สิ่งที่ต้องการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ระดับ คุณภาพ องค์ประกอบและเนื้อหา ของรายงาน รายงานข้อมูลครบตามหัวข้อที่กำหนดและหัวข้อรายงานมี ประเด็นสำคัญครบถ้วน ดี รายงานข้อมูลครบตามหัวข้อที่กำหนดแต่บางหัวข้อขาด ประเด็นสำคัญ พอใช้ รายงานข้อมูลไม่ครบตามหัวข้อที่กำหนดและหัวข้อรายงาน ส่วนใหญ่ขาดประเด็นสำคัญ ต้องปรับปรุง การส่งรายงาน ส่งทันตามกำหนดเวลา ดี ส่งไม่ทันตามกำหนดเวลา ต้องปรับปรุง


13 แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยที่ 4 เรื่องการเข้าร่วมประชุมวิชาการ วิชาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 นาที คำชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อใช้เวลาในการสอบ 20 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วทำเครื่องหมาย × ลงในกระดาษคำตอบ 1. การประชุม หมายถึง ก. บุคคลมารวมกันโดยมิได้นัดหมายหารือกัน ข. บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปรวมกันทำกิจกรรมที่มีเป้าหมายชัดเจน ค. บุคคลกลุ่มหนึ่งร่วมปรึกษาหารือในกิจกรรมหนึ่งวัตถุประสงค์คือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ง. บุคคล 2 คนขึ้นไปมาพบกันตามนัดหมายเพื่อคิด วิเคราะห์ เพื่อประโยชน์ขององค์กรตามระบอบ ประชาธิปไตย 2. ข้อดีของเทคนิคการฝึกอบรมทางการประชุมทางวิชาการ ก. ได้เนื้อหาตามที่กำหนดครบถ้วน ข. ได้ความรู้จากวิทยากรหลายคน หลายด้าน ค. เกิดความรู้ความเข้าใจ ง. เพิ่มทักษะการฝึกอบรมได้ดี ไม่เบื่อหน่าย 3. เพราะเหตุใดจึงกล่าวว่าการประชุมมีประโยชน์อย่างมากต่อการทำงานเป็นทีม ก. ช่วยให้เกิดความความคิดร่วมกัน ข. ช่วยให้เกิดความผูกพัน ค. เป็นการรวบรวมข้อมูล ง. ถูกทั้ง 3 ข้อที่กล่าวมา 4. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการนำเสนอ ก. การนำเสนอข้อมูลเป็นการสื่อสารระหว่างผู้พูดกับผู้ฟัง ข. การนำเสนอที่ดีต้องมีผู้รับฟังไม่น้อยกว่า 10 คน ค. สื่อประสม คือ การนำสื่อหลาย ๆ ประเภทมารวมกัน ง. โปรเจคเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่จำเป็นในการนำเสนอข้อมูล 5. ข้อใดมีบทบาทในการนำเสนองานมากที่สุด ก. สื่อ ข. งาน ค. ผู้รับข้อมูล ง. ผู้นำเสนองาน 6. ข้อใด ไม่ใช่ องค์ประกอบในการนำเสนอ ก. คำถาม ข. ผู้นำเสนอ ค. ผู้รับข้อมูล ง. โพรโทคอล 7. ข้อใดคือวัตถุประสงค์ของการบรรยายสรุป ก. เพื่อให้ผู้รับข้อมูลแสดงความเห็นชอบ ข. เพื่อให้ผู้รับข้อมูลปฏิบัติตามสิ่งที่นำเสนอ ค. เพื่อให้ผู้รับข้อมูลคล้อยตามในสิ่งที่นำเสนอ ง.เพื่อให้ผู้รับข้อมูลมีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลง 8. กราฟเหมาะกับการนำเสนอข้อมูลประเภทใด ก. รูปภาพ ข. ตัวอักษร ค. ตัวเลข ง. เสียง


14 9. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการใช้รูปภาพประกอบการนำเสนองาน ก. เลือกรูปภาพใหญ่เกือบเต็มจอแต่ไม่เต็มจอ ข. เลือกรูปภาพที่ไม่ได้รับอนุญาต ค. ขยายรูปภาพให้มีขนาดใหญ่ ง. เลือกรูปภาพที่เหมาะกับเนื้อหา 10. บุคลิกภาพขณะนำเสนอที่ควรทำคือข้อใด ก. ควรสบตาให้ทั่วถึง ข. ใช้เสียงให้ดังจะได้ฟังชัด ค. แต่งกายสบาย ๆ แต่ต้องสะอาด ง. ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเท่านั้น 11. ข้อใดคือบุคลิกภาพของผู้นำเสนอที่ประสบความสำเร็จ ก. มีความเชื่อมั่นในตนเอง ข. มีภาพลักษณ์ที่ดี ค. มีความรู้อย่างถ่องแท้ ง. ถูกทุกข้อ 12. ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ในการนำเสนอข้อมูล ก. เพื่อให้ผู้รับการนำเสนอข้อมูลได้รับความรู้จากข้อมูลที่นำเสนอ ข. เพื่อให้ผู้รับการนำเสนอข้อมูลรับทราบความคิดเห็น ค. เพื่อบรรยายข้อมูลทางด้านวิชาการ ง. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 13. การกำหนดขนาดตัวอักษรเนื้อหาภาษาไทยควรใช้ขนาดเท่าใด ก. 16-20 พอยต์ ข. 21-35 พอยต์ ค. 36-50 พอยต์ ง. 51-53 พอยต์ 14. ข้อใดหมายถึงสิ่งที่ไม่ควรทำในการออกแบบ ก. อย่าใส่ข้อความจำนวนมาก ข. อย่าใส่รูปภาพมากหรือพื้นหลังเป็นภาพที่ไม่ชัด ทำให้อ่านยาก ค. แสดงตารางขนาดเล็ก ง. ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ข. 15. หลักการใช้แบบอักษรจัดทำสไลด์ที่ถูกต้อง ก. ไม่ใช้อักษรมากกว่า 2 แบบในสไลด์เรื่องหนึ่ง ข. ควรใช้อักษรมากกว่า 3 แบบในสไลด์เรื่องหนึ่ง ค. ควรใช้เฉพาะตัวหนาหรือตัวเอนแทน ง. ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ค. 16. การเตรียมการนําเสนอจริงหมายถึงข้อใด ก. การใส่เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์ ข. การพิมพ์เอกสารประกอบการบรรยาย ค. เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์ ง. ต้องซ้อมการพูด 17. ข้อใดคือหลักการเพิ่มความน่าสนใจในการนําเสนอ ก. แบบอักษร ข. การใส่เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์ ค. กำหนดหัวข้อต่างๆ ง. ศึกษากลุ่มผู้ฟัง 18. ข้อใด ไม่ใช่ การออกแบบพื้นหลังสไลด์ ก. เรียบง่าย มองสบายตา ข. เน้นที่ตัวข้อความเป็นสำคัญ ค. หลีกเลี่ยงการใช้สีแวววาว ง. ชนิดของแผ่นสไลด์ 19. ข้อใดไม่จำเป็นต้องปรากฏบนโปสเตอร์นำเสนอโครงงาน ก. บทคัดย่อ ข. วิธีดำเนินการ ค. ผลการวิจัย ง. การอภิปรายผล


15 20. สิ่งที่ต้องกำหนดและวางแผนก่อนการออกแบบโปสเตอร์ คืออะไร ก. องค์ประกอบการจัดวาง ข. การกำหนดขนาดและรูปแบบของโปสเตอร์ ค. การกำหนดกระดาษ ง. รูปแบบปกของโปสเตอร์ 21. ข้อใดเตรียมการนำเสนอได้ถูกต้อง ก. สรุปประเด็น วิเคราะห์เนื้อหา ศึกษาข้อมูล วางแผนการนำเสนอ ข. กำหนดวิธีการนำเสนอ วางแผนการนำเสนอ ศึกษาข้อมูล เตรียมวัสดุอุปกรณ์ ค. ศึกษาข้อมูล วางแผนการนำเสนอ เตรียมวัสดุอุปกรณ์ เตรียมสถานที่ ง. วางแผนการนำเสนอ ศึกษาข้อมูล สรุปประเด็น เตรียมวัสดุอุปกรณ์22. ข้อใดถูกต้อง 23. ข้อมูลวิธีการทดลอง ควรจัดทำข้อมูลในรูปแบบใดเพื่อความเหมาะสม ก. แผนภาพ ข. แผนภูมิ ค. กราฟ ง. ตาราง 24. ข้อใดเป็นจุดประสงค์หลักของการนำเสนอและเผยแพร่ผลงาน ก. เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้อื่นเลียนแบบผลงานของตน ข. เพื่อเป็นเกียรติต่ออาจารย์ที่ปรึกษา ค. เพื่อปฏิบัติตามกฎหมายลิขสิทธิ์เกี่ยวกับการทำผลงาน ง. เพื่อให้ผู้อื่นนำผลงานดังกล่าวไปพัฒนาและใช้ในชีวิตประจำวัน 25. ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. การใช้ตัวอักษรที่เล็กลงจะทำให้ใส่เนื้อหาลงในโปสเตอร์ได้มากขึ้น ข. การใช้สีพื้นหลังฟ้าควรใช้ตัวอักษรสีเขียว ค. การนำเสนอโปสเตอร์เป็นการนำเสนอจากสิ่งที่เราทำจึงไม่จำเป็นต้องซักซ้อม ง. การจัดเรียงเนื้อหาในโปสเตอร์ควรมีลักษณะเป็นการเล่าเรื่อง 26. ข้อใดไม่ใช่ข้อพึงระวังที่ทำให้การนำเสนอด้อยประสิทธิภาพ ก. ความลังเล ข. พูดงึมงำ ค. ระดับเสียง ง. ใช้คำพูดและประโยคสั้นง่าย ๆ 27. ผู้นำเสนอควรยืนห่างจากแท่นพูดโดยประมาณเท่าไร ก. ประมาณ 1 เมตร ข. ประมาณ 0.5 เมตร ค. ประมาณ 1 คืบ ง. ประมาณ 1 ศอก 28. จังหวะที่ดีในการพูดคือข้อใด ก. เป็นเสียงที่มีลักษณะสูง ต่ำ หนัก เบา ข. เสียงเหมาะกับตำแหน่งการงาน ค. ไม่รัวหรือลัดคำ ง. พูดด้วยความรู้สึกที่จริงใจ 29. ข้อใด ไม่ใช่ หลักการพื้นฐานของการนำเสนอข้อมูล ก. การดึงดูดความสนใจ ข. เน้นการนำเสนอข้อมูลด้วยข้อความ 30. ข้อใดคือความหมายของการนำเสนอข้อมูล ก. การสรุปข้อมูล ข. การวางโครงร่างไสลด์ ค. การบรรยายข้อมูลที่ต้องการสื่อสารให้ผู้ฟังได้รับรู้ ง. การสร้างงานนำเสนอโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ได้ ........... คะแนน


16 บรรณานุกรม มปช. (2560). เทคนิคการนำเสนอ. สืบค้นเมื่อ 25 ตุลาคม 2562, จาก http://home.psu.ac.th /~manee.v/850-498 /data/presentation%20skills.pdf สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 6.พิมพ์ครั้งที่ 1 ; กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เคมี เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สมชาติ ลีลาไกรศร. (2558). การนำเสนออย่างมืออาชีพ. สืบค้นเมื่อ 25 ตุลาคม 2562, จาก https://tma.or.th/old/userfiles/foundation_download/20140221053022.pdf


Click to View FlipBook Version