The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2021-10-30 09:10:20

การบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหา

การบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหา

วชิ าเคมี6 ว 30226

สอนโดย นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์
ครชู ำนาญการพิเศษ

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ปีการศกึ ษา 2564

สำหรบั นกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม
ชือ่ -สกุล..................................................ชน้ั .........เลขที.่ .......



คำนำ

ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 2 เรื่องการบูรณาการความรู้ในการแก้ปญั หาตามแนวคิด
แบบโยนิโสมนสกิ าร จดั ทำเพ่อื เปน็ เคร่ืองมือในการพฒั นาผลสัมฤทธิ์ ความพึงพอใจทางการเรียนเคมี
ส่งเสริมความสามารถทางการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1-3
โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม โดยในทุกกิจกรรมได้จดั ลำดบั ขั้นตอนที่เนน้ การเพิม่ พูนประสบการณ์
ทางวิทยาศาสตร์ นักเรยี นจะได้รบั การทดสอบก่อนเรยี น และศึกษาเน้ือหาความรูท้ ีส่ ่งเสริมใหน้ กั เรียนศึกษา
และสืบค้น โดยมคี วามรู้เพม่ิ เติมนอกเหนือจากในบทเรยี น การตอบคำถาม การทำแบบฝึกหัด และทำกิจกรรม
การทดลองตามข้ันตอนตลอดจนทำแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อประเมนิ ตนเองหลังจากการเรียนรู้ในแต่
ละกจิ กรรมการเรยี นรู้

ผูจ้ ดั ทำหวงั เปน็ อย่างยิง่ ว่า ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 2 เร่ืองการบูรณาการความรู้
ในการแก้ปัญหา ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ จะทำใหผ้ เู้ รียนมีความรู้และความสามารถในการ
สืบค้น การจัดระบบส่งิ ที่เรียนรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพอื่ สรา้ งองคค์ วามรู้ ไดเ้ ปน็ อย่าง
ดีสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ และเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่
สนใจใช้เป็นแนวทาง ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้ต่อไป

นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์

สารบญั ข

เรอ่ื ง หนา้
คำนำ ก
สารบญั ข
ข้อแนะนำการเรียนรู้ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ ค
โครงสรา้ งชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ ง
แบบทดสอบก่อนเรียน 1
ขัน้ ท่ี 1 การหาความรู้ 3
3
- ปฏบิ ัติการ ฝึกอ่าน : ฝกึ คิด 10
ขัน้ ท่ี 2 สร้างความรู้ 10
15
- ปฏบิ ัติการ ฝกึ ทำ : ฝึกสร้าง 15
ข้ันท่ี 3 ซมึ ซบั ความรู้ 17
19
- ปฏบิ ตั ิการ คดิ ดี ผลงานดี มคี วามสขุ
แบบทดสอบหลงั เรียน
บรรณานุกรม



ข้อแนะนำการเรียนรู้ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์

สำหรบั นักเรยี น
จุดประสงค์ของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มุ่งหวังให้นักเรียนเป็นผู้มีความสามารถทางการ
จัดการความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ 3 ด้าน ไดแ้ ก่

1. ด้านความรู้ ความคิด
2. ดา้ นทักษะการจดั การความรู้ทางวิทยาศาสตร์
3. ด้านค่านิยมต่อตนเองเพอื่ สังคม
ซึ่งนักเรียนจะได้เสริมสร้างความสามารถดังกล่าวดังนี้ 1.การหาความรู้ (Operation) จาก
กิจกรรมการสืบเสาะ ค้นหา กิจกรรมร่วมกันคิด และกิจกรรมร่วมกันค้น 2.การสร้างความรู้
(Combination) เป็นขั้นฝึกการวิเคราะห์ประกอบด้วยการฝึกคิดแบบสืบสาวปัจจัยเหตุและแบบ
แยกแยะส่วนประกอบโดยใช้ ข้อความและสถานการณ์ เพื่อพัฒนาตนเอง 3. การซึมซับความรู้
(Assimilation) เป็นขั้นที่ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น หนังสือ
อินเตอร์เน็ต ฝึกคิดอย่างมีวิจารณญาณ ฝึกทักษะการเขียนเพื่อนำเสนอแก้ไขปัญหาที่พบ
ประกอบการตอบคำถามฝึกการวิเคราะหจ์ ุดเด่น และจดุ ดอ้ ยของผลงาน ตรวจสอบและปรับปรุงเพื่อ
สร้างชิ้นงานใหม่ต่อไปได้ และข้อเสนอแนะกบั ผู้อ่านได้ โดยในทุกกิจกรรมได้จัดลำดับขั้นตอนที่เน้น
การเพิ่มพูนประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือเป็นผู้มีความสามารถทางการจัดการความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ ดงั น้ี
1. อ่าน และทำความเข้าใจในทกุ ขนั้ ตอนของกจิ กรรมการเรียนรู้
2.รักและสนใจตนเอง สร้างความรู้สึกที่ดีให้กับตนเอง ว่าตัวเราเป็นผู้มีความสามารถมี
ศกั ยภาพอยู่ในตวั และพร้อมทจี่ ะเรียนรู้ทกุ สงิ่ ทส่ี รา้ งสรรค์
3. ร้สู กึ อิสระและแสดงออกอย่างเตม็ ความสามารถ
4. ฟัง คิด ถาม เขียน ปฏิบัติ อย่างรอบคอบในทุกกิจกรรม ใช้เนื้อที่กระดาษที่จัดไวส้ ำหรับ
เขยี นใหเ้ ตม็ โดยไม่ปลอ่ ยให้เหลอื เปลา่ เพ่ือให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุดกบั ตนเอง
5. ใชเ้ วลาในการเรียนร้อู ยา่ งคุม้ ค่า ใชท้ ุกๆ นาทที ำใหต้ นเองมีความสามารถเพ่ิมมากขึน้
6. ตระหนกั ตนเองอยเู่ สมอว่าจะเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์เพอื่ นำมาพัฒนาตนเองและพฒั นาสงั คม

จุดเด่นของการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ คอื การสรา้ งคุณคา่ ทด่ี ีใหก้ ับสังคม
จงึ ขอเชญิ ชวนนกั เรยี น มารว่ มกนั เรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์
ด้วยใจรกั และ พฒั นาตนให้เต็มขีดความสามารถ

ขอสง่ ความปรารถนาดใี หแ้ ก่นกั เรียนทุกคนไดเ้ รียนรวู้ ทิ ยาศาสตรอ์ ย่างมีความสุขพ่งึ ตนเองได้
และเป็นผมู้ ีความสามารถทางการจัดการความร้ทู างวิทยาศาสตรเ์ พื่อสงั คม ย่ิงๆ ขึ้น สบื ไป



โครงสร้างชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์
หน่วยท่ี 2 เร่ืองการบูรณาการความรใู้ นการแก้ปัญหา

สาระสำคญั
การศึกษาและการแก้ปญั หาในสถานการณ์หรือประเดน็ ท่ีสนใจทำไดโ้ ดยการบูรณาการ

ความรู้ทางเคมีร่วมกับวทิ ยาศาสตร์แขนงอนื่ รวมท้ังคณติ ศาสตร์เทคโนโลยีและทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตรห์ รอื กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยเนน้ การคดิ วิเคราะหแ์ ก้ปัญหาและ
ความคดิ สรา้ งสรรค์
จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. อธบิ ายวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรอื กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
2. ออกแบบแนวทางการแกป้ ญั หาโดยใช้การบรู ณาการความรู้ทางเคมีร่วมกับศาสตร์อน่ื
แกป้ ญั หาสถานการณห์ รือประเดน็ ท่ีสนใจ
3. ตงั้ ใจเรยี นรูแ้ ละแสวงหาความรู้
การจัดกระบวนการเรียนรู้ใชร้ ูปแบบการจัดการความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์ มี 3 ขั้น คือ
1. การหาความรู้ (Operation)
2. การสร้างความรู้ (Combination)
3. การซมึ ซบั ความรู้ (Assimilation)

เวลาท่ีใช้ 30 ชัว่ โมง
การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้

นกั เรยี นประเมนิ ผลตนเองโดยใชแ้ บบประเมนิ ผลตนเองก่อนเรียน-หลงั เรียน

แบบทดสอบก่อนเรียน

หนว่ ยท่ี 2 เรือ่ งการบูรณาการความรูใ้ นการแกป้ ัญหา วิชาเคมี
เวลา 10 นาที
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2

คำช้แี จง
1. แบบทดสอบฉบับนเี้ ปน็ แบบปรนยั เลอื กตอบ 4 ตวั เลอื ก จำนวน 10 ข้อใช้เวลาในการสอบ 10 นาที
2. ให้นกั เรยี นเลือกคำตอบทถ่ี ูกตอ้ งที่สุดเพยี งคำตอบเดียว แล้วทำเครอ่ื งหมาย × ลงในกระดาษคำตอบ

1. กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมหมายถงึ ขอ้ ใด

ก. กระบวนการแกป้ ัญหาอย่างเป็นระบบในด้านตา่ งๆ

ข. กระบวนการแก้ปัญหาอยา่ งถูกต้องและไดผ้ ลลัพธ์มากท่ีสดุ

ค. กระบวนการแก้ปญั หาทีด่ ำเนนิ การอยา่ งเปน็ ระบบและคุม้ คา่ มากท่ีสุด

ง. กระบวนการแก้ปัญหาอยา่ งเป็นระบบภายใตท้ รัพยากร ข้อจำกัดต่างๆและความค้มุ ทุน

2. กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมประกอบด้วยขัน้ ตอนการทำงานสำคัญคอื

ก. กำหนดปัญหา สรา้ งแนวทางแก้ปญั หา ลงมอื ปฏิบัติ

ข. กำหนดปัญหา ดำเนินการแกป้ ญั หา ทดสอบ ประเมินผล

ค. กำหนดปญั หา สรา้ งแนวทางแกป้ ญั หา ดำเนินการแกป้ ัญหา ประเมินผล

ง. กำหนดปญั หา สรา้ งแนวคิด ดำเนนิ การแกป้ ัญหา ประเมินผล นำเสนอผล

3. ขอ้ ใดเปน็ ประโยชนข์ องกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

ก. ทำใหม้ นษุ ยส์ ุขภาพดขี ึน้ ข. ทำให้มนุษยม์ ีความสุขมากขึ้น

ค. ทำใหม้ นษุ ย์เพิ่มจำนวนมากข้นึ ง. ชว่ ยในการแก้ปัญหาการดำรงชวี ติ ของมนุษย์

4. สมาคมนักเทคโนโลยแี ละวศิ วกรรมศกึ ษานานาชาตกิ ำหนดขัน้ ตอนของแกป้ ญั หาทางเทคโนโลยีไว้ในมาตรฐาน

การรเู้ รยี กว่าอะไร

ก. กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม ข. กระบวนการแก้ปญั หาทางวศิ วกรรม

ค. กระบวนการแก้ปญั หาทางเทคโนโลยี

ง. กระบวนการแก้ปญั หาทางเทคโนโลยแี ละวศิ วกรรม

5. พพิ ธิ ภัณฑ์วิทยาศาสตรบ์ อสตันขับเคลือ่ นหลักสูตรใช้กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมกบั นกั เรียนในระดบั ใด

ก. ระดับอนุบาล ข. ระดับประถมศึกษา

ค. ระดับมธั ยมศกึ ษา ง. ระดบั อุดมศึกษา

6. ข้อใดไมไ่ ดก้ ล่าวถงึ ความสำคญั ของกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม

ก. เปน็ วธิ ีการทำงานภายใตเ้ ง่ือนไขและขอ้ จำ

ข. เปน็ ส่วนหน่ึงในกระบวนการวจิ ยั เพอ่ื สอบสนองความต้องการของมนุษย์

ค. เปน็ เครื่องมือทช่ี ่วยเสรมิ สร้างและพัฒนาการเรียนรูด้ ้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี

ให้กบั ผ้เู รียน

ง. เปน็ กระบวนการทีเ่ อาแนวคดิ ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ วศิ วกรรมศาสตร์มา

พัฒนาแนวทางแกป้ ญั หาทีเ่ หมาะสมทีส่ ุด

1

7. ข้อใดกล่าวถงึ ความสำคัญของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมได้ถกู ที่สดุ

ก. เป็นเคร่ืองมือสำหรับนักวศิ วกรรมศึกษานานาชาติ

ข. เปน็ เครือ่ งมอื การวางแผนเพอื่ หาแนวทางแกป้ ัญหา

ค. เป็นเคร่อื งมอื คน้ หาปญั หางานภายใตเ้ งอ่ื นไขและข้อจำกดั

ง. เป็นเคร่อื งมอื ทช่ี ว่ ยเสริมสร้างและพัฒนาการเรยี นรูด้ ้านวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยี

ให้กับผเู้ รยี น

8. ข้อใดหมายถงึ กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม

ก. Efficient Design Process ข. Education Design Process

ค. Engineering Design Process ง. Elementary Design Process

9. ข้อใดคอื ส่วนประกอบของการออกแบบเชงิ วิศวกรรม

ก. วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ข. คณิตศาสตร์ เทคโนโลยแี ละกำลังไฟฟา้

ค. วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี

ง. วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสมองกลฟังตัว

10. กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเป็นการประยกุ ต์ใชศ้ าสตรใ์ ดบ้าง

ก. วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ศลิ ปะศาสตร์ ข. วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี

ค. คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมศาสตร์ ง. วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมศาสตร์

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

2

หน่วยท่ี 2 การบรู ณาการความรใู้ นการแก้ปญั หา

ขน้ั ที่ 1 การหาความรู้ เวลา 30 ชวั่ โมง
Operation
ปฏิบตั กิ าร ฝกึ อา่ น : ฝกึ คิด

วิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือ สำคัญที่ช่วยให้ได้ความรู้พื้นฐานสำหรับการพัฒนาต่อยอดเป็น
ความรูใ้ หมเ่ พ่ือแกป้ ญั หาที่เกิดข้ึนในชีวิตประจำวนั และพฒั นานวัตกรรมที่ทำให้คุณภาพชวี ิตและความเป็นอยู่ของ
มนษุ ยด์ ขี ึน้ ทง้ั น้ีกระบวนการแก้ปัญหาและการสรา้ งนวัตกรรมในสถานการณ์จรงิ อาจมีการใช้กระบวนการออกแบบ
เชงิ วศิ วกรรม (Engineering Design Process) ซ่ึงมขี ัน้ ตอนอยา่ งไรจะได้ศึกษาต่อไปในบทเรยี นนี้

กระบวนการออกแบบเชิง
วิศวกรรมมีขน้ั ตอนแตกตา่ งจากวิธีการทาง

วทิ ยาศาสตร์หรอื ไม่

กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมคอื อะไร

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมประกอบด้วยองคป์ ระกอบ 6 ข้ันตอน ไดแ้ ก่

1.ระบปุ ญั หา (Problem Identification) เปน็ การทำความเข้าใจปญั หาหรือความท้าทาย วเิ คราะห์

เง่อื นไขหรือขอ้ จำกดั ของสถานการณป์ ญั หา เพ่อื กำหนดขอบเขตของปญั หา ซ่ึงจะนำไปสู่การสร้างชิน้ งานหรือ

วธิ ีการในการแกป้ ญั หา

2.รวบรวมข้อมูลและแนวคดิ ทเี่ กี่ยวข้องกับปัญหา (Related Information Search) เปน็ การรวบ

รวมขอ้ มูลและแนวคดิ ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยที ี่เกยี่ วขอ้ งกบั แนวทางการแก้ปัญหาและ

ประเมินความเปน็ ไปได้ ข้อดแี ละข้อจำกัด ซึ่งในการรวบรวมข้อมูลท่เี ก่ียวกบั ปัญหาอาจทำได้หลายวธิ ี เชน่

- การสืบคน้ จากอินเทอรเ์ นต็ ทน่ี ่าเช่ือถอื

- การสอบถามจากผู้เชยี่ วชาญ

- การสืบคน้ จากเอกสาร บทความ งานวิจยั -การทดลองทางวทิ ยาศาสตร์

3

3.ออกแบบวธิ กี ารแก้ปญั หา (Solution Design) เปน็ การประยุกตใ์ ชข้ อ้ มลู และแนวคดิ ที่เก่ยี วข้องเพ่อื
การออกแบบชนิ้ งานหรอื วธิ กี ารในการแกป้ ญั หา โดยคำนึงถึงทรพั ยากร ข้อจำกัดและเงือ่ นไขตามสถานการณ์ที่
กำหนด

4.วางแผนและดำเนินการแกป้ ัญหา (Planning and Development) เป็นการกำหนดลำดับข้นั ตอน
ของการสรา้ งชิ้นงานหรอื วิธกี าร แลว้ ลงมือสรา้ งชิ้นงานหรือพฒั นาวธิ ีการเพ่อื ใชใ้ นการแกป้ ญั หา

5.ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการแกป้ ัญหาหรอื ชิ้นงาน (Testing, Evaluation and
Design Improvement) เปน็ การทดสอบและประเมนิ การใชง้ านของชิ้นงานหรอื วธิ กี าร โดยผลท่ไี ดอ้ าจนำมาใช้
ในการปรบั ปรุงและพฒั นาให้มปี ระสทิ ธิภาพในการแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างเหมาะสมท่สี ดุ

6.นำเสนอวิธีการแกป้ ญั หา ผลการแก้ปัญหาหรอื ชน้ิ งาน (Presentation) เปน็ การนำเสนอแนวคิด
และขน้ั ตอนการแกป้ ัญหาของการสรา้ งชน้ิ งานหรอื การพฒั นาวิธีการ ให้ผ้อู ่นื เขา้ ใจและไดข้ อ้ เสนอแนะเพอื่ การ
พฒั นาต่อไป

ในการปฏบิ ัติงานสามารถยอ้ นขนั้ ตอนการทำงาน
กลับไปมา และอาจะทำงานซำ้ บางขั้นตอน เพอ่ื

พฒั นาหรือปรบั ปรงุ การแกป้ ญั หาใหด้ ขี ้ึน

กจิ กรรมท่ี 1 เรอ่ื ง สายไฟแปง้ โดว์
จุดประสงค์ของกจิ กรรม

1. สรา้ งสายไฟแปง้ โดว์เพื่อทำให้หลอด LED สว่าง ตามเง่อื นไขท่กี ำหนด

2. นำเสนอข้นั ตอนการสรา้ งสายไฟแปง้ โดว์
วสั ดุ อุปกรณ์ และสารเคมี

รายการ ปริมาณตอ่ กลุ่ม

สารเคมี 1 ก้อน (30 g)
1. แป้งโดว์ 5g
2. เกลอื แกง 5g
3. นำ้ ตาลทราย 5g
4. เบกกงิ้ โซดา 3 mL
5. น้ำกล่นั

4

รายการ ปริมาณตอ่ กล่มุ

วสั ดุและอปุ กรณ์ 2 หลอด
1. หลอด LED ขนาดเลก็ (1.5V) 1 เส้น
2. สายไฟทตี่ อ่ กับคลปิ ปากจระเข้
3. ถ่านไฟฉาย 1.5V 2 กอ้ น ในรางถา่ น 1 ชดุ
4. ภาชนะสำหรับผสม 1 ใบ
5. ผังตำแหนง่ ของหลอด LED และรางถา่ น 1 แผน่

การเตรยี มล่วงหน้า
1. เตรยี มแปง้ โดว์ ดงั น้ี

- ชงั่ แป้งสาลี 200 g ตวงน้ำมนั ถว่ั เหลือง 20 mL และ นำ้ กลน่ั 100 mL
- เติมน้ำมันถ่ัวเหลอื งลงในแปง้ สาลี ผสมให้เข้ากัน
- คอ่ ย ๆ เตมิ น้ำกลนั่ ลงไป และนวดให้ส่วนผสมทั้งหมดเขา้ กัน

(แป้งโดวท์ เี่ ตรียมได้สามารถใช้ไดก้ บั การทดลองของนกั เรียนประมาณ 10 กลมุ่ )
2. ชง่ั แป้งโดว์แบง่ ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลมุ่ กล่มุ ละ 30 g

ผังตำแหนง่ ของหลอด LED และรางถ่าน

OFF-ON

5

วิธีทำกจิ กรรม
1. ทดสอบการต่อวงจรไฟฟ้า โดยต่อสายไฟทตี่ ่อกับคลปิ ปากจระเขก้ บั หลอด LED ซง่ึ ต่อกบั รางถ่านดังรปู ตามผังท่ี
กำหนดสังเกตความสว่างของหลอด LED และบนั ทกึ ผล และบนั ทึกผล

หลอด LED

18 cm
รางถา่ น

หลอด LED

2. ตอ่ วงจรไฟฟ้าตามข้อ 1 แต่เปลยี่ นสายไฟท่ีต่อกับทิพยป์ ากจระเขเ้ ปน็ แปง้ โดวส์ ังเกตความสวา่ งของหลอด LED
และบนั ทึกผล
3. ออกแบบวธิ กี ารเติมสารลงในแปง้ โดวแ์ ละการตอ่ วงจรเพ่ือทำใหห้ ลอดแอลอดี ีท้ัง 2 หลอดสวา่ งและทำการ
ทดลองตามเงื่อนไขดังนี้

- เลือกใชส้ ารเคมเี พียง 1 ชนิดจากสารเคมตี ่อไปนี้เพ่ือละลายในนำ้ และผสมลงในแปง้ โดวท์ ั้งก้อน
1.เกลอื แกง (NaCl) 2. นำ้ ตาลทราย (C12H22O11) 3. เบกกง้ิ โซดา (NaHCO3)
- วางตำแหน่งของหลอด LED กำหนดให้
- กำหนดระยะเวลาดำเนินการภายใน 30 นาที
- กล่มุ ที่ใช้สารเคมีปริมาณนอ้ ยท่ีสุดจะไดค้ ะแนนมากที่สุด
4.บันทึกขอ้ มลู ลงในแบบฟอร์ม “การบนั ทึกขอ้ มลู การดำเนินการ” ที่กำหนดให้
5. นำเสนอข้อมลู การดำเนินการ

ผลการทำกจิ กรรม
การบันทึกขอ้ มลู การดำเนนิ การ
1. เปรียบเทียบความสวา่ งของหลอด LED เมือ่ ตอ่ วงจรไฟฟ้าด้วยสายไฟที่ต่อกับคลปิ ปากจระเขแ้ ละแป้งโดว
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

6

2. ระบปุ ญั หาและเง่ือนไขในการแกป้ ญั หา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ระบสุ ารเคมที ี่เลอื กใชเ้ ติมลงในแป้งโดว์ พรอ้ มอธบิ ายเหตุผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. ออกแบบขนั้ ตอนการดำเนินการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

7

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ดำเนินการตามขั้นตอนท่ีได้ออกแบบไวแ้ ละระบุผลการดำเนินการในครง้ั แรก
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. ระบุวธิ ีการปรบั ปรุงแกไ้ ข หากไม่สามารถทำให้หลอด LED ท้งั สองหลอดสว่างในครั้งแรกของการดำเนนิ การ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7. สรุปวิธีการดำเนนิ การและเสนอแนะวิธกี ารดำเนินการท่ใี ห้ผลดีขน้ึ พรอ้ มวาดรปู การต่อ วงจรไฟฟา้ สำหรับ
ทดสอบความสวา่ งของหลอด LED
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
รปู การต่อวงจร

สรปุ ผลการทำกจิ กรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

8

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ตรวจสอบความเข้าใจ 1

วิธีการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมมีส่วนของวัตถุประสงค์และขั้นตอนท่ี

เหมือนและต่างกนั อยา่ งไร

วัตถปุ ระสงค์

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ข้ันตอน

วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมมีขน้ั ตอนทงั้ สว่ นทเ่ี หมือนกันและแตกตา่ ง

กัน ดงั แผนภาพ

วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

9

กจิ กรรม สบื เสาะ คน้ หา 2

กิจกรรมท่ี 2 เรอื่ ง การแก้ปญั หาโดยการบูรณาการความรู้
จุดประสงค์ของกจิ กรรม

เลือกสถานการณ์ปญั หาหรือประเดน็ ทีส่ นใจและออกแบบแนวทางการแกป้ ญั หาโดยการบูรณาการความรู้
ทางเคมกี ับความร้ใู นศาสตร์อน่ื และใช้วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์หรอื กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

10

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

11

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

12

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนสำ หรับแบบประเมนิ ระหว่างการทำ กจิ กรรมท่ี 2 การแก้ปัญหาโดยการบรู ณาการความรู้

สงิ่ ทีต่ อ้ งการประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ
ดี
การสำรวจปัญหาและการ มีข้อมูลจากการสำรวจสนับสนุนให้
ตง้ั คำ ถาม/การระบุปัญหา เห็นความสำคัญของปัญหา และตั้ง พอใช้
คำถาม/ระบุปัญหาได้สอดคล้องกับ ต้องปรับปรุง
การกำหนดวัตถปุ ระสงค์ สถานการณ์ปัญหา
และขอบเขตของงาน ดี
มีข้อมูลจากการสำรวจสนับสนุนให้ พอใช้
การออกแบบวธิ ดี ำเนนิ การ เห็นความสำคัญของปัญหา แต่ต้ัง ต้องปรับปรงุ
แกป้ ัญหา คำถาม/ระบปุ ญั หาไม่สอด
คลอ้ งกบั สถานการณป์ ัญหา ดี
พอใช้
ไม่มีขอ้ มูลจากการสำรวจสนับสนุน ตอ้ งปรบั ปรงุ
ให้เห็นความสำคัญของปัญ หาและ
ตั้งคำถาม/ระบุปัญหาไม่สอดคล้อง
กบั สถานการณ์ปัญหา

มีการศึกษาค้นคว้าความรู้ทางเคมี
และความรู้หรือข้อเท็จจริงอื่น ๆ ท่ี
เกี่ยวข้องกับปัญหาและเพียงพอใน
การแกป้ ญั หา

มีการศึกษาค้นคว้าความรู้ทางเคมี
และความรู้หรือข้อเท็จจริงอื่น ๆ ที่
เกี่ยวข้องกับปัญหาแต่ไม่เพียงพอใน
การแกป้ ญั หา

มีการศึกษาค้นคว้าความรู้ทางเคมี
และความรู้หรือข้อเท็จจริงอื่น ๆ ที่
ไมเ่ กีย่ วข้องกบั ปญั หาเปน็ ส่วนใหญ่

วธิ ดี ำเนนิ การสอดคลอ้ งและครอบ
คลมุ กบั วตั ถุประสงค์และขอบเขต
ของงานและเป็นแนวทางท่นี ำไปสู่
การแก้ปัญหาได้

วิธีดำเนนิ การสอดคล้องแต่ไมร่ อบ
คลมุ วตั ถปุ ระสงค์และขอบเขตของ
งานทัง้ หมด และเปน็ แนวทางท่นี ำ
ไปสกู่ ารแกป้ ญั หาได้

วธิ ดี ำเนินการไมส่ อดคล้องกบั วัตถุ

13

การดำเนนิ การแกป้ ญั หา ประสงค์และขอบเขตของงาน และ ดี
ไม่ใชแ่ นวทางทนี่ ำ ไปสูก่ ารแกป้ ัญหา พอใช้
ได้ ตอ้ งปรับปรุง

ดำเนนิ การแกป้ ัญหาตามท่ีได้ออก
แบบวิธีการไว้ และใชอ้ ุปกรณ์/
เคร่อื งมือในการดำ เนนิ การไดอ้ ยา่ ง
ถูกต้องเหมาะสม

ดำเนนิ การแกป้ ญั หาตามท่ีได้ออก
แบบวธิ กี ารไว้ แตใ่ ช้อุปกรณ์/เครื่อง
มอื ในการดำเนนิ การไมถ่ กู ตอ้ ง
เหมาะสม

ดำเนนิ การแก้ปญั หาโดยไม่เป็นไป
ตามขัน้ ตอนท่ไี ด้ออกแบบวธิ ีการไว้
และใช้อปุ กรณ/์ เคร่ืองมือในการดำ
เนนิ การไม่ถูกตอ้ งเหมาะสม

14

นกั วทิ ยฯ์ คดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ

ขัน้ ท่ี 3 ซมึ ซบั ความรู้ ปฏบิ ัตกิ าร คดิ ดี ผลงานดี มคี วามสขุ
Assimlation

คำชแี้ จง ให้นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ อ่านข่าวทก่ี ำหนดใหแ้ ละเตมิ ข้อความลงในช่องวา่ งให้ถูกต้องและสมบรู ณ์

เปิด 3 ฉากทศั นโ์ ควิด-19 ระบาดรอบใหม่ กลางเดอื น ม.ค.64 อาจตดิ เชื้อถงึ วนั ละ 18,000 ราย
หากไม่ทำอะไรเลย

: ท่ีมา ผจู้ ดั การออนไลน์ 29 ธ.ค. 2563 13:37

โควิด-19 กระจายเกินครึ่งประเทศ โฆษก ศบค. เปิด 3 ฉากทัศน์ แนวโน้มการระบาดระลอกใหม่ของโค
วดิ -19 คาดเดอื น ม.ค.64 จะมผี ู้ตดิ เชื้อรายวัน 18,000 คนต่อวัน ระบุทำกลางๆ ยังติดเช้ือวนั ละ 4-8 พันคน ยำ้ ยก
การด์ เข้มสูงสดุ โอกาสตดิ เช้อื วนั ละ 1 พนั

วันนี้ (29 ธ.ค.) นายแพทย์ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน โฆษกศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ
เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (ศบค.) แถลงสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ประจำวัน ว่า แนวโน้มการระบาด
ของโควิด-19 ระลอกใหม่ จากภาพฉากทัศนก์ ารระบาด ซ่งึ ทมี คณะทำงานระบาดวิทยาของกรมควบคุมโรค เสนอ
3 ฉากทัศน์ ดงั นี้

ฉากทัศน์แรก ถ้าไม่ทำอะไรเลยจะพบว่าสีแดงระฆงั คว่ำตัวเลขจะชันขึ้นเรื่อยๆ และถึงวันท่ี 14 ม.ค. 64
จะมีผูป้ ่วยตอ่ วัน 18,000 คน และจะเรม่ิ ต้นจากขึน้ วนั ละ 1,000-2,000 คนจะชนั ขน้ึ เรอ่ื ยๆ

ฉากทศั นท์ ่ี 2 หากมีมาตรการกลางๆ คอื เสน้ กราฟสเี หลอื ง ซงึ่ กำลังดำเนินการอยู่ คาดวา่ จะมีผู้ป่วยราย
ใหม่ 4,000 คนตอ่ วัน เรียกว่าสะสมไม่นานกจ็ ะหลกั หมื่นภายในไม่กี่วัน

ฉากทัศน์สุดทา้ ย คือ กราฟสเี ขยี ว ถ้ารว่ มมือกนั ใส่หนา้ กากอนามัย การลา้ งมอื บ่อยๆ จะนอ้ ยกวา่ 1,000
คนตอ่ วัน

“ระลอก 2 ระลอกใหม่ท่ีตอนน้ผี มพดู ตามคำวิชาการ แต่ไมอ่ ยากเหน็ เส้นภาพสีแดง ซง่ึ กลางเดอื น ม.ค.64
ตอนน้เี รายังอยู่ในเส้นสีส้ม ยอมรบั ว่ากังวลใจ เพราะแคเ่ สน้ สีส้มยงั ทแยงขนึ้ 45 องศา ตอ้ งมีคนป่วยหลักพันหลัก
หมืน่ ถ้าป่วย 8,000 คนตอ่ วันคือตัวเลขทีส่ ูงมาก” นายแพทยท์ วศี ิลป์ กลา่ ว

นพ.ทวีศิลป์ กล่าวว่า ที่ประชุม ศบค.ชุดเล็กวิเคราะห์สถานการณ์แพร่ระบาดในไทย ขณะนี้แบ่งออก 2
แบบ คอื 1. การติดเชือ้ จากบคุ คลสูบ่ ุคคล คอื รวู้ า่ ตัวเองไปในพื้นทเี่ ส่ียง/กจิ กรรมเส่ียง และไม่รู้ และไมร่ ะมดั ระวัง

15

ว่าได้สัมผัสหรือใกล้ชดิ กับผู้ตดิ เชื้อ เช่น กรณีผู้ว่าฯสมุทรสาคร และ 2.การติดเชื้อแบบกลุ่มก้อน ซึ่งมีสาเหตจาก
การเข้าไปรว่ มกิจกรรมตา่ งๆ เชน่ งานเลย้ี งสังสรรค์ การประชมุ และกิจกรรมทลี่ กั ลอบ เช่น การพนนั ม่ัวสุมทำให้

เกิดการตดิ เชอื้ ตัวเลข 2 หลกั
“ขณะนี้ยังคงมาตรการท่ี ศบค.ชุดใหญ่ประกาศ 4 พื้นที่ควบคุมสูงสุด พื้นที่ควบคุม พื้นที่เฝ้าระวังและที่

ตอ้ งเรง่ ดำเนนิ การเพ่มิ คือ ทางจงั หวดั ตอ้ งหารอื ในจงั หวดั ให้แบ่งส่วนพืน้ ทตี่ ่างๆ ภายในวนั พร่งุ น้ี (30 ธ.ค.) ต้อง
แบ่งออกมาในระดับอำเภอ เช่น กรณี จ.ระยอง ขณะนี้พื้นที่ควบคุมสูงสุด คือ อำเภอเมืองระยอง” นพ.ทวีศิลป์
กล่าว

ประเภทของข่าว …………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………….

.

พาดหวั ข่าว …………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………….
เหตกุ ารณ์ที่
เกดิ ข้นึ ในข่าว .

…………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

คะแนนทไ่ี ด้…………….คะแนน

16

แบบทดสอบหลังเรียน

หนว่ ยที่ 2 เรื่องการบูรณาการความรใู้ นการแกป้ ัญหา วิชาเคมี
เวลา 10 นาที
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรียนท่ี 2

คำช้แี จง
1. แบบทดสอบฉบบั น้เี ปน็ แบบปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลอื ก จำนวน 10 ข้อใช้เวลาในการสอบ 10 นาที
2. ให้นกั เรยี นเลือกคำตอบที่ถกู ตอ้ งที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วทำเครอ่ื งหมาย × ลงในกระดาษคำตอบ

1. กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมหมายถงึ ขอ้ ใด

ก. กระบวนการแก้ปัญหาอยา่ งเปน็ ระบบในดา้ นต่างๆ

ข. กระบวนการแกป้ ญั หาอยา่ งถูกต้องและได้ผลลัพธ์มากท่ีสดุ

ค. กระบวนการแก้ปัญหาท่ีดำเนินการอย่างเป็นระบบและคมุ้ ค่ามากทีส่ ุด

ง. กระบวนการแกป้ ญั หาอย่างเป็นระบบภายใต้ทรพั ยากร ขอ้ จำกัดตา่ งๆและความคมุ้ ทนุ

2. กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมประกอบด้วยขน้ั ตอนการทำงานสำคัญคอื

ก. กำหนดปญั หา สรา้ งแนวทางแก้ปัญหา ลงมอื ปฏบิ ัติ

ข. กำหนดปญั หา ดำเนินการแก้ปญั หา ทดสอบ ประเมนิ ผล

ค. กำหนดปัญหา สร้างแนวทางแกป้ ัญหา ดำเนินการแก้ปัญหา ประเมนิ ผล

ง. กำหนดปัญหา สร้างแนวคดิ ดำเนินการแก้ปญั หา ประเมินผล นำเสนอผล

3. ข้อใดเปน็ ประโยชนข์ องกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม

ก. ทำใหม้ นษุ ย์สุขภาพดีข้นึ ข. ทำให้มนุษยม์ คี วามสุขมากข้นึ

ค. ทำให้มนุษยเ์ พม่ิ จำนวนมากข้ึน ง. ชว่ ยในการแกป้ ัญหาการดำรงชวี ิตของมนุษย์

4. สมาคมนักเทคโนโลยแี ละวศิ วกรรมศกึ ษานานาชาตกิ ำหนดขน้ั ตอนของแก้ปญั หาทางเทคโนโลยีไวใ้ นมาตรฐาน

การรู้เรียกวา่ อะไร

ก. กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม ข. กระบวนการแกป้ ัญหาทางวศิ วกรรม

ค. กระบวนการแกป้ ญั หาทางเทคโนโลยี

ง. กระบวนการแกป้ ัญหาทางเทคโนโลยีและวิศวกรรม

5. พิพธิ ภัณฑว์ ิทยาศาสตร์บอสตนั ขับเคลอ่ื นหลักสตู รใชก้ ระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมกับนักเรยี นในระดับใด

ก. ระดบั อนุบาล ข. ระดบั ประถมศึกษา

ค. ระดบั มัธยมศึกษา ง. ระดบั อุดมศึกษา

6. ข้อใดไมไ่ ดก้ ลา่ วถงึ ความสำคัญของกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม

ก. เป็นวิธกี ารทำงานภายใตเ้ งือ่ นไขและข้อจำ

ข. เปน็ สว่ นหน่ึงในกระบวนการวจิ ยั เพ่ือสอบสนองความตอ้ งการของมนุษย์

ค. เปน็ เครื่องมอื ทีช่ ว่ ยเสริมสรา้ งและพฒั นาการเรียนรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี

ให้กบั ผู้เรียน

ง. เป็นกระบวนการที่เอาแนวคดิ ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ วิศวกรรมศาสตรม์ า

พัฒนาแนวทางแก้ปัญหาท่เี หมาะสมท่สี ุด

17

7. ข้อใดกล่าวถึงความสำคญั ของกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมได้ถกู ทส่ี ุด

ก. เปน็ เคร่ืองมอื สำหรบั นกั วศิ วกรรมศึกษานานาชาติ

ข. เป็นเคร่อื งมอื การวางแผนเพอ่ื หาแนวทางแกป้ ัญหา

ค. เป็นเคร่อื งมือคน้ หาปญั หางานภายใต้เงือ่ นไขและขอ้ จำกัด

ง. เป็นเคร่อื งมอื ที่ช่วยเสริมสร้างและพฒั นาการเรียนรดู้ ้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยี

ให้กับผเู้ รียน

8. ขอ้ ใดหมายถึงกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม

ก. Efficient Design Process ข. Education Design Process

ค. Engineering Design Process ง. Elementary Design Process

9. ขอ้ ใดคือสว่ นประกอบของการออกแบบเชิงวิศวกรรม

ก. วทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ ข. คณิตศาสตร์ เทคโนโลยแี ละกำลงั ไฟฟา้

ค. วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี

ง. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสมองกลฟงั ตัว

10. กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเป็นการประยุกตใ์ ชศ้ าสตรใ์ ดบ้าง

ก. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ศิลปะศาสตร์ ข. วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี

ค. คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมศาสตร์ ง. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คมศาสตร์

คะแนนเตม็ 10 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

18

บรรณานุกรม
สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). คู่มือครู รายวชิ าเพ่ิมเตมิ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

เคมี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 เล่ม 6.พิมพ์ครงั้ ท่ี 1 ; กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2562). หนงั สือเรียนรายวชิ าเพ่ิมเตมิ วทิ ยาศาสตรแ์ ละ

เทคโนโลยี เคมี เลม่ 1. พิมพค์ ร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
ผู้จดั การออนไลน์. (2563). เปิด 3 ฉากทศั นโ์ ควดิ -19 ระบาดรอบใหม่ กลางเดือน ม.ค.64 อาจติดเช้ือถงึ วนั ละ

18,000 ราย หากไมท่ ำอะไรเลย. สืบค้นเมื่อ 30 ธันวาคม 2563,
จาก https://mgronline.com/qol/detail/9630000132918

19


Click to View FlipBook Version