The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มสรุปกิจกรรมพัฒนาสื่อ2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2022-01-07 21:56:27

เล่มสรุปกิจกรรมพัฒนาสื่อ2562

เล่มสรุปกิจกรรมพัฒนาสื่อ2562

รายงานผลการดำเนินงาน
กิจกรรมส่งเสริมให้ครูพฒั นาวิจัยสือ่ นวัตกรรม
ตามแผนปฏิบัติการประจำปกี ารศกึ ษา2562

โรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 1
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

บนั ทกึ ขอ้ ความ

ส่วนราชการ โรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม

ท่ี ........................................................... วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2563

เร่อื ง รายงานผลการดำเนนิ กิจกรรมส่งเสริมใหค้ รูพัฒนาสอ่ื และนวตั กรรม

เรียน ผ้อู ำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม

สง่ิ ทีส่ ่งมาด้วย 1. รายงานสรปุ ผลการดำเนินกจิ กรรมส่งเสริมใหค้ รูศกึ ษาและพัฒนางานวจิ ัย จำนวน 1 ฉบับ

ข้าพเจ้านางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรัตน์ ตำแหน่ง ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนสุวรรณาราม
วิทยาคมได้รับมอบหมายให้เป็นผู้รับผิดชอบการจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ครูพัฒนาสื่อนวัตกรรมการเรียนการ
สอนและพฒั นางานวิจัย ประจำปีการศกึ ษา 2562 โดยมงี บประมาณที่ไดร้ บั ในการจัดสรร 29,000 บาท บดั น้ี
การจัดกิจกรรม ไดด้ ำเนนิ กจิ กรรมเสร็จสิ้น สำเรจ็ ลุลว่ งตามวัตถปุ ระสงคท์ ่วี างไว้ ซึง่ มีผลการดำเนนิ งาน ดงั นี้

1. งานพัฒนาสอื่ นวัตกรรมและวจิ ัย ไดด้ ำเนินการรวบรวมและจัดทำเอกสารรายงานผลการ
ดำเนินกิจกรรมสง่ เสริมให้ครูศึกษาและพัฒนางานวจิ ัย จำนวน 1 เลม่ เพื่อเสนอผลการดำเนินจัดกจิ กรรม โดย
มผี ลการจัดกิจกรรมดงั นี้

1.1 ในปีการศึกษา 2562 ครูมีการจัดทำวิจัยในช้ันเรียน จำนวน 80 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ
93.85 ของจำนวนครูทั้งหมด 86 คน

1.2 การจัดทำวิจยั ในชน้ั เรียนของครูแบง่ เปน็ ประเภท ดังนี้
- วจิ ัยเพือ่ แกป้ ญั หาและพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียน จำนวน 65 เรือ่ ง คดิ
เป็นร้อยละ 81.25
- วิจัยเพื่อพฒั นาเจตคตติ ่อการเรียน จำนวน 3 เร่ือง คดิ เป็นรอ้ ยละ 3.75
- วิจัยเพ่ือแก้ปญั หาพฤตกิ รรมและพฒั นาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ จำนวน 12
เร่อื ง คิดเป็นรอ้ ยละ 15

1.3 คัดสรรครูผู้มีการจดั การเรียนการสอนและรายงานวจิ ัยดีเดน่ 3 อันดบั ในระดับกลมุ่ สาระ
การเรียนรู้ จำนวน 24 คน โดยให้ครผู ู้ได้อันดบั ท่ี 1 ของกลุ่มสาระการเรียนรู้เป็นตัวแทนจำนวน 8 คน เข้า
ประกวดวิจัยส่ือนวัตกรรม ในงานนิทรรศการเปิดโลกผลงาน วิจัยและนวัตกรรมของข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ปีการศึกษา 2562 ในวัน ที่ 3 เมษายน 2563 ณ ห้องประชุมสุพรรณิการ์ โรงเรียน
สุวรรณารามวิทยาคม สพม.1 แต่เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID - 19) จึงไม่สามารถดำเนินงานดังกล่าวได้จึงไม่ได้ใช้งบประมาณจำนวน 29,000 บาท ตามท่ีได้รับ
การจัดสรรเพอ่ื ใช้ในการจดั กจิ กรรมประกวดวิจยั สอ่ื นวัตกรรม

3. ค่าเฉลี่ยคะแนนการประเมินผลการบริหารโครงการ/กิจกรรม เท่ากับ 4.38 ผลการ
ประเมนิ การบริหารโครงการ/กจิ กรรมในระดับดีมาก

ข้าพเจ้า จึงขอรายงานผลการดำเนินโครงการ ซ่ึงมีรายละเอียดดังกล่าวข้างต้น และรายละเอยี ด
อื่นๆ ตามเอกสารดังแนบ

จึงเรียนมาเพือ่ โปรดทราบและพจิ ารณา

ความเหน็ ของผู้บรหิ าร ลงช่ือ……………………………..
................................................................................. (นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน)์
หัวหนา้ งานวิจัยสอ่ื นวัตกรรม
.................................................................................
................................................................................. ลงช่อื ................................................
(นายจงจัด จันทบ)

ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม

คำนำ

รายงานผลการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมให้ครูพัฒนาวิจัยสื่อนวัตกรรม ประจำปีการศึกษา
2562 การดำเนินงานตามกิจกรรมมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ครูคิดค้น สร้างสรรค์ พัฒนาสื่อและ
นวัตกรรมการ เรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย ทันสมยั และเพียงพอต่อการจัดการเรียนรูอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ โดย
การดำเนินงาน ตามกิจกรรมนี้ได้เสร็จสิ้นการดำเนินงานแล้ว คณะผู้รับผิดชอบการดำเนินงานจึงจัดทำ
รายงานผลการ ดำเนินงานต่อผู้เกี่ยวข้อง ดังรายละเอียดที่ปรากฏในข้อมูลการรายงานผลการดำเนิน
กิจกรรมส่งเสริมให้ครูพัฒนาสอื่ นวตั กรรมประจำปกี ารศึกษา 2562

คณะผู้จัดทำ

สารบัญ

บทท่ี 1 บทนำ หน้า
1.1 หลักการและเหตุผล
1
1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1
1.3 เปา้ หมาย 1
1.4 งบประมาณ 1
2
1.5 การติดตามและประเมินผล 2
1.6 ผลท่ีได้รบั จากกิจกรรม 3
15
บทท่ี 2 ความรู้และเอกสารท่เี กย่ี วข้อง 16
บทท่ี 3 วิธดี ำเนนิ งานกิจกรรม 18
บทท่ี 4 ผลการประเมนิ กิจกรรม

บทท่ี 5 สรปุ อภปิ ราย และขอ้ เสนอแนะ

ภาคผนวก ทำเนียบรายงานการวจิ ยั ปฏิบัติการในชัน้ เรียน
▪ แบบสอบถามความพึงใจ



บทที่ 1
บทนำ

1.1 หลักการและเหตุผล

หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดก้ ำหนดให้ครจู ัดการเรียนรโู้ ดยยดึ ผู้เรียนเป็น
สำคัญ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง จากการลงมือปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อให้ผู้เรียนได้

พัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ ทั้ง 3 ด้าน คือด้านความรู้ ด้านทักษะกระบวนการ และด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ ในการจัดการเรยี นรเู้ พอื่ ให้ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองและบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ทั้ง
3 ด้านอย่างเต็มศักยภาพน้ันจำเป็นต้องมีสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนและลักษณะ

เน้ือหาหรือกิจกรรมนั้น ๆ ด้วย เน่ืองจากสื่อ/นวัตกรรมที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ จะช่วยให้ผู้เรียน
เกิดการเรยี นร้แู ละบรรลุเปา้ หมายการเรยี นรใู้ นเวลาอนั รวดเร็ว

โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคมได้เล็งเห็นความสำคัญของการใชส้ ื่อ/นวตั กรรมในการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอน จึงมีการส่งเสริมให้ครผู ลติ และพัฒนาส่ือการสอน โดยมีการจัดงบประมาณสนับสนุนครู
เพือ่ ใหค้ รูสามารถผลิตสอื่ และนวตั กรรมทางการศึกษาทมี่ ีประสทิ ธิภาพมากย่งิ ขน้ึ

1.2 วัตถุประสงค์

1. เพ่อื ส่งเสรมิ ให้ครูสรา้ งและพฒั นาส่ือ/นวัตกรรมในการจัดการเรยี นการสอน
2. เพื่อสง่ เสรมิ ให้ครูมีการศึกษาวจิ ัยและพัฒนาการจัดการเรยี นรู้
3. เพอ่ื ส่งเสริมใหค้ รมู ีโอกาสนำเสนอผลงานวจิ ัยในชัน้ เรยี นและแลกเปลย่ี นเรยี นรู้

1.3 เปา้ หมาย
เชิงปริมาณ
ครู รอ้ ยละ 85 มีการศึกษาวิจัยและพฒั นาการจัดการเรียนรู้ในวิชาทต่ี นเองรับผดิ ชอบ

เชงิ คุณภาพ
ครูสามารถแก้ปัญหาชั้นเรียนและพัฒนาการจัดการเรยี นร้ขู องตนเองให้มีประสทิ ธภิ าพมากยิ่งขึ้น

โดยใช้การศึกษาวิจยั เพ่ือพฒั นาการจดั การเรยี นรูใ้ นวชิ าที่ตนเองรับผิดชอบ

1.4 งบประมาณ รายละเอียดดงั น้ี

รายละเอยี ดการใช้งบประมาณ งบประมาณ จำแนกตามรายจา่ ย
ค่าใช้สอย ค่าตอบแทน คา่ วสั ดุ
1. กิจกรรมส่งเสริมใหค้ รูศึกษาและ 23,600 23,600
พัฒนางานวจิ ยั ค่าวสั ดุอุปกรณส์ ำหรบั จดั ทำ/ 5,400
เอกสารสรุปรายงานวจิ ัยในชัน้ เรียน 5,400

2. งานนทิ รรศการเปิดโลกผลงานวจิ ยั และ
นวตั กรรมของขา้ ราชการครูและบคุ ลากร

ทางการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2561

งบประมาณท้ังกจิ กรรม รวม ……29,000…….บาท
เงนิ งบประมาณ (งบอดุ หนุน)

1.5 การติดตามและประเมินผล

ตัวชีว้ ัดความสำเรจ็ ของแตล่ ะกจิ กรรม การประเมนิ ผล เครื่องมือทใี่ ช้

1. ครูมีการสร้างสื่อนวัตกรรมเพื่อการ 1.นิเทศการสอน 1.แบบนเิ ทศแผนการ

จัดการเรียนรู้ในวิชาท่ีตนเองรับผิดชอบร้อย 2.รายงานการใชส้ ่อื นวตั กรรม จดั การเรียนรู้

ละ 100 3. รายงานวจิ ยั ในชน้ั เรยี น 2.แบบรายงานการใช้ส่ือ

2. ครูมีวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ใน นวัตกรรม

วชิ าท่ีตนเองรบั ผิดชอบรอ้ ยละ 93.85 3.แบบประเมินงานวจิ ัยใน

ชัน้ เรียน

1.6 ผลที่ไดร้ ับจากกิจกรรม
ครสู ามารถแก้ปญั หาช้นั เรยี นและพฒั นาการจดั การเรียนรูข้ องตนเองใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงขึ้น

โดยใช้การศกึ ษาวิจัยเพ่ือพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ในวิชาทต่ี นเองรับผิดชอบ

บทท่ี 2
ความรู้และเอกสารท่เี กยี่ วขอ้ ง

2.1. ความรู้และเอกสารทเี่ กีย่ วข้อง

ภายหลังจากการใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ครูผสู้ อนในทุกระดับการศกึ ษาตา่ ง
ตื่นตัว ขานรบั กับกระแสการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา ท้ังการปฏิรูปการศึกษาและการปฏิรูปกระบวนการ
เรียนรู้ แนวคิดในเชิงบวกมีการปรับเปลีย่ นเจตคติ การปฏบิ ัติตนเพื่อเตรยี มตวั ไปสู่ความเปน็ “ครูนักวิจัย” มาก
ย่ิงขึ้น ซ่ึงเป็นผลให้บทบาทของครูผู้สอน ผู้เรียน ตลอดจนกระบวนการเรียนการสอนแปรเปล่ียนไปตาม
เทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกในยุคปัจจุบันท้ังทาง ด้านเศรษฐกิจ
ข่าวสาร และสังคม ก่อให้เกิดสรรพวิทยาการในแขนงต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนใหม่มากมาย ดังนั้น ครูผู้สอนจึง
จำเป็นตอ้ งอาศัย “กลยุทธ์” หรอื “ยทุ ธศาสตร์” ในการพัฒนาคุณภาพด้านการเรยี นการสอน เพ่ือให้ผ้เู รียนมี
ความรู้ความสามารถเต็มตามศักยภาพ ด่ังคำขวัญที่ว่า เป็นคนเก่ง ดี และมีความสุข ตามความคาดหวังของ
หลักสตู รสงั คม และประเทศชาติ

แนวความคิดหนึ่งท่ีเอื้อต่อการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอน ก็คอื สอนดีตอ้ งมีการวิจัยในช้ัน
เรียน โดยเฉพาะพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ หมวด 4 พ.ศ. 2542 ได้ให้ความสำคัญเก่ียวกับการวิจัย
และแนวการจัดการศึกษา มาตรา 24(5) การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เก่ยี วข้อง
ดำเนินการดัง ข้อ 5 คือ ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และ
อำนวยให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งกำหนดให้ผู้สอนสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการเรียนรู้ ทั้งน้ี ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกัน จากสื่อการเรียนการสอนและแหล่ง
วิทยาการต่าง ๆ และในมาตรา 30 ระบุให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ
รวมทั้งส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา
เพราะฉะนั้น การวิจัยในชั้นเรียนจึงเป็นส่ิงที่จำเป็นและสำคัญ ท่ีจะต้องทำควบคู่ไปกับการพัฒนาการเรียนรู้
ด้วยเหตุผลดังกล่าว การวิจัยในชั้นเรียนก็จะเป็นประโยชน์แก่ผู้เรียนและผู้สอนในยุคของการปฏิรูปการศึกษา
ไทย

การวจิ ัยในชน้ั เรียนคืออะไร
มาถงึ ช่วงเวลานี้ ครูผู้สอนทุกคนคงตระหนักดีแล้วว่า งานวิจัยในช้ันเรยี นนั้นมีความสำคัญอย่างไรอยู่

ที่ว่าครูผ้สู อนมคี วามเข้าใจการวจิ ยั ในช้ันเรียนมากน้อยเพียงใด ไดม้ ีการทดลองลงมอื ทำบ้างแลว้ หรือยัง ซึ่งมีครู
หลายคนเมื่อพูดถึง คำว่า “วิจัย” (research) ภาพของเอกสาร ตำราและสถิติ เล่มหนา ๆ ตลอดจนข้อมูลตา่ ง
ๆ ที่ยุ่งยากก็ผุดขึ้นในใจเปรยี บเสมือนดอกเข็มที่ทิ่มแทงใจ “มีประโยชน์มากมายแต่ก็ทำได้ยากเสียเหลือเกิน
เปรียบเหมือนยาขมที่ครผู ู้สอนจำใจ หรอื จำเปน็ ต้องรบั ประทานเข้าไป”

“การวิจัยในชั้นเรียน” หรือ “การวิจัยเชิงปฏิบัติการในช้ันเรียน ผู้คิด คือ เคริท ลวิน (Kurt Lewin)
เป็นนักจิตวิทยาทางสังคม ต่อมา สตีเฟน โคเร (Stephen Corey) แห่งมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย รัฐนิวยอร์ค
เป็นผู้ประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน การวิจัยในช้ันเรียน จึงหมายถึง กระบวนการแสวงหาความรู้ เพื่อ
แก้ปัญหาหรือพัฒนากระบวนการเรียนการสอนท่ีเกิดขึ้นในชั้นเรียน(อยู่ภายในห้องเรียนหรือนอกห้องเรียน)
อย่างมีระบบ และมีวัตถุประสงคท์ ่ีชดั เจน โดยมีกระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่อง คือ มกี ารกำหนดเป้าหมายท่ี
ต้องการปรับปรุง แก้ไข หรือต้องการพัฒนาให้ดีขึ้นกว่าเดิม การวางแผนการดำเนินงานปฏิบัติตามแผนที่

กำหนดไว้ สังเกตผลท่ีเกิดข้ึน และสะท้อนผลหลังจากปฏิบัติตามแผน ถ้ายังไม่บรรลุเป้าหมายให้ดำเนินการ
ปรับปรุงแผนเสียใหม่ ลงมือปฏิบัตติ ามแผนท่ีปรับแล้ว สังเกตโดยผู้วิจยั คือ ครผู ู้สอน ซง่ึ วงจรของการวิจยั เชิง
ปฏบิ ัติการในชัน้ เรยี นสรุปได้ ดงั ภาพที่ 1

ภาพท่ี 1 วงจรการวจิ ัยเชงิ ปฏิบัตกิ ารในชั้นเรียน

จากภาพที่ 1 มรี ายละเอยี ดของแต่ละขัน้ ตอนดังน้ี
การกำหนดเป้าหมาย คือ การกำหนดว่าจุดหมายปลายทางหรือผลลัพธ์สุดท้ายที่ผู้วิจัยต้องการคือ
อะไร (สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา, 2547)
การวางแผนการดำเนนิ งาน คือ ครูผ้สู อนวางแผนว่าจะทำวจิ ัยในชนั้ เรยี นในหวั ขอ้ ใด ใช้เคร่ืองมืออะไร
เกบ็ รวบรวมข้อมูล ใช้ค่าสถติ ิแบบใดในการวจิ ัย ครูผู้สอนอาจต้ังคำถามว่าใคร (Who) ทำอะไร (What) ที่ไหน
(Where) เม่ือไร (When) และอยา่ งไร (How) กไ็ ด้
การปฏิบัติตามแผนการดำเนนิ งาน คอื ครูผู้สอนทำการวิจัยตามแผนทีว่ างไวอ้ ย่างเปน็ ระบบ ก าร
สงั เกต คือ ครูผู้สอน บันทึกผลการสอน หรือสังเกตปฏิกิริยาของผู้เรยี นอาจใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการ
บนั ทกึ วีดิทัศน์ หรือเทปบันทึกเสียงกไ็ ด้ (ขจิต ฝอยทอง, 2544)
การสะท้อนผล คือ การพิจารณาว่าผลท่ีเกิดข้ึนน้ันเป็นไปตามเป้าหมายท่ีกำหนดไว้หรือไม่ ถ้าไม่
เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ เป็นเพราะอะไร จุดอ่อนหรือประเด็นท่ีทำให้ไม่ประสบผลตามท่ีกำหนดไว้
และตอ้ งแกไ้ ขปรบั ปรุงคืออะไร และจดุ แข็งท่ีควรคงไว้หรอื ประเดน็ ท่ีทำใหก้ ารดำเนนิ งานประสบผลสำเร็จและ
เป็นไปตามเปา้ หมายที่กำหนดไว้ คืออะไร อยา่ งไร
ตารางท่ี 1 ประเดน็ และขนั้ ตอนการวิจยั ในชน้ั เรียนหรอื การวิจยั เชิงปฏบิ ตั กิ ารในช้นั เรยี นเปน็ ดงั น้ี

ประเดน็ การวจิ ยั เชงิ ปฏิบัตกิ ารในชน้ั เรียน

1. เป้าหมายของการวิจยั ไดอ้ งคค์ วามรูท้ ่ีจะนำมาปรบั ปรุงแกไ้ ขหรือพฒั นางานทก่ี ำลังปฏิบัติ
อยู่

2. วธิ กี ารกำหนดประเดน็ ปญั หา ประเด็นปัญหาทีพ่ บในปจั จุบัน
หรือคำถามวจิ ยั
การตรวจเอกสารไม่เขม้ ข้นมากนัก อนโุ ลมให้ใชข้ ้อมลู จากแหล่งทตุ ิย
3. วธิ กี ารตรวจสอบเอกสาร ภมู ิ (ข้อมูลจากแหล่งอนื่ ๆ ท่ีไม่ใชต่ น้ ฉบับ)

4. การสมุ่ ตัวอยา่ ง ไม่เนน้ การสมุ่ ตัวอย่าง กลุ่มทศ่ี กึ ษา คอื นกั เรยี นหรอื ผทู้ ี่เก่ียวขอ้ งที่
ปฏบิ ัติงานด้วย

5. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล เน่ืองจากกลมุ่ ท่ศี ึกษาคือประชากร เป้าหมายไม่มีการสุ่มตวั อยา่ ง จึง
ใช้สถิตเิ ชิงบรรยาย เชน่ การแจกแจงความถ่ี ค่าร้อยละ คา่ เฉลยี่ ค่า

เบย่ี งเบนมาตรฐาน เป็นตน้

6. การนำไปใช้ เน้นความสำคัญท่เี ปน็ ผลจากการปฏบิ ัติ

ทีม่ า : สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา, 2547

ดังนน้ั จงึ สรปุ ไดว้ ่า การวิจยั ในชน้ั เรยี น คือ การวิจัยทค่ี รูผู้สอนในวชิ าน้นั ๆ ทำข้ึนเพ่อื แกไ้ ขปญั หาใน
ชน้ั เรียนของตน มีการวางแผนอยา่ งเป็นระบบและนำผลการวิจัยไปพฒั นาการเรยี นการสอนของตนเองไดอ้ ย่าง
มีประสิทธภิ าพ

ความสำคัญของการวจิ ัยในช้ันเรยี น
การท่ีครูสามารถทำวิจัยในชัน้ เรียนได้ เป็นการสร้างภาพลกั ษณ์ท่ดี ีกับ วงการศึกษา เพราะคุณค่าหรือ

ผลงานจากการคิดค้นนวัตกรรมทางการศึกษาขึ้นมาใช้ได้ผลน้ัน จะก่อประโยชน์ต่อบุคลากรและหน่วยงาน
ทางการศึกษา ดงั นี้

1. นกั เรียน จากการทนี่ ักเรียนในชัน้ เรียนมีความรู้ความสามารถพื้นฐานแตกตา่ งกัน บางคนเรียนรู้ได้
เร็วก็ไม่สร้างปัญหากับครูผู้สอน ส่วนนักเรียนที่เรียนช้าและครูผู้สอนคงใช้รูปแบบการสอนแบบเดียวน้ัน
นกั เรียนกลุ่มน้ีจะเรียนตามไม่ทัน และอาจสรา้ งปัญหากับครู กับโรงเรยี น และสังคมส่วนรวม การท่ีครูไม่วาง
เฉยแต่ได้ใช้ความพยายามวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาอย่างมีหลักการแล้วคิดหาทางแก้ปัญหาจนสามารถ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนักเรยี นให้ดีข้ึน นักเรียนเกิดการใฝ่รู้ใฝ่เรียน จนในที่สุดมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนอยู่ใน
ระดบั เปน็ ทนี่ ่าพอใจ และไมม่ ีปญั หาการเรียนอกี ตอ่ ไป

2. ครู เม่อื ครูมกี ารวางแผนการทำงานอย่างมีระบบ คือ การวางแผนทำงานประจำ ไดแ้ ก่ วางแผนการ
สอน เลือกวิธสี อนท่เี หมาะสม ประเมินผลการทำงานเป็นระยะโดยมีเป้าหมายชัดเจน จะทำอะไรกบั ใคร เมอื่ ไร
ดว้ ยเหตผุ ลอะไร และทำให้ทราบผลการกระทำว่าบรรลุเป้าหมายเพียงใดได้อย่างไร โดยการทำวิจัยในช้นั เรียน
ช่วยให้ครูได้มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ เพื่อหาทางแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมในการคิดแก้ปัญหา บางคร้ัง
นวัตกรรมช้ินแรกอาจมขี อ้ บกพร่อง แต่เมอื่ ไดม้ กี ารปรับปรุงอยู่เสมอ ก็สามารถพฒั นาเปน็ ผลงานทีม่ ีประโยชน์
เป็นท่ียอมรบั ได้

3. โรงเรียน เริม่ จากความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มครูมีมากขึ้นท้ังในรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล

ภายในหมวดวิชา และระหว่างหมวดวิชา ตั้งแต่การร่วมกันคิดหาปัญหา การวิเคราะห์หาสาเหตุ การเขียน
รายงาน เพราะครูในโรงเรียนมีความถนัด หรือชำนาญต่าง ๆ กัน ถ้าได้ระดมสรรพกำลังจากความถนัดของแต่
ละคนแล้วก็จะทำให้งานวิจัยมีคุณภาพย่ิงข้ึน เช่น ครูคณิตศาสตร์ มีความถนัดในการคำนวณ การนำเสนอ
ขอ้ มูล การวเิ คราะหข์ ้อมลู ครบู รรณรักษ์ช่วยดูแลการเขียนบรรณานกุ รม ครูภาษาไทยช่วยตรวจสอบการสะกด
คำ ครูภาษาอังกฤษช่วยด้านการอ่านเอกสาร ตำรา/งานวิจัย จากต่างประเทศ เป็นต้น การที่ครูต้องศึกษา
ค้นคว้าเนือ้ หาวชิ าที่ตนรับผิดชอบและปฏบิ ัติหน้าที่อยู่ให้มากขนึ้ จะช่วยให้การบริหารงานวชิ าการในโรงเรียน
เปน็ ไปอยา่ งมีระบบและมีประสิทธิภาพ สามารถกำหนดสาเหตุและช้ีประเดน็ ปัญหาได้ชดั เจน เพ่ือแก้ปญั หาได้
ตรงจุด ยกระดับมาตรฐานวิชาการของโรงเรียนให้สูงข้ึน เช่น นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น ไม่มีปัญหาในการ
เรียน (วทิ ยาลัยเทคนิคนราธวิ าส, 2545)

รปู แบบการวจิ ัยในช้นั เรียน
ครูผู้สอนสามารถทำการวิจัยในช้ันเรียนได้หลายแบบ ทั้งน้ี ขึ้นอยู่กับว่าจะศึกษาเร่ืองใดและเพื่อ

ประโยชน์ใด ในทีน่ ข้ี อนำเสนอ 5 รูปแบบ ดงั นี้
1. การวิจัยสำรวจ เป็นการศึกษาลักษณะความเป็นจริง ตามสภาพจริงในเรื่องต่าง ๆ เพ่ือรวบรวม

ข้อมูลและรายงานลักษณะท่ีมีอยู่ในสถานการณ์น้ัน ๆ เช่น สำรวจปัญหาการเรียนการสอน สำรวจการใช้
หลักสูตร เป็นต้น

2. การวจิ ยั หาความสัมพันธ์ เปน็ การศกึ ษาหาความสมั พันธ์ระหวา่ งตัวแปร ตา่ ง ๆ ตง้ั แต่ 2 ตวั ข้นึ ไป
ว่ามีความสัมพันธ์กันหรอื ไม่ มีอิทธพิ ลต่อกันหรือไม่ เชน่ ศึกษาวิธีสอนของครกู บั ผลการเรยี นของนักเรียน

3. การวิจัยเปรียบเทียบ เป็นการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบระหว่างตัวแปรต้ังแต่ 2 ตัวข้ึนไปว่ามีความ
แตกต่างกันหรือไม่ เช่น ศึกษาเปรียบเทียบนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนอ่านจับใจความภาษาอังกฤษว่ามี
ผลสมั ฤทธทิ์ างการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษระหว่างคะแนนก่อนเรยี นกับหลังเรียน แตกต่างกันหรอื ไม่ เป็น
ตน้

4. การวิจัยทดลอง มี 2 ประเภท คือ การทดลองในสนามกับการทดลองในสภาพธรรมชาติ เช่น
ทดลองกับนักเรยี นขณะท่ีนักเรียนอยู่ในห้องปกติ และการทดลองในห้องปฏบิ ัตกิ าร ซึ่งสามารถจัดและควบคุม
ตัวแปรตา่ ง ๆ ได้ตามต้องการ

5. การวิจัยทดลองและพัฒนา เป็นการศึกษาผลงานวิจัยทเี่ กี่ยวข้องกับผลงานที่ต้องพัฒนา มกี ารสร้าง
ผลงานบนรากฐานของผลการวิจัย นำผลงานที่สรา้ งข้ึนไปทดลองภาคสนามท่ีมีลักษณะคล้ายคลึงกับที่นำไปใช้
จริงและมกี ารแกไ้ ขผลงานเพ่ือแก้ไขขอ้ บกพร่องจากที่ได้พบในการทดลองภาคสนาม จนกระทั่งผลงานที่สร้าง
ขึน้ บรรลุจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมทก่ี ำหนดไว้ (อนงค์พร สถติ ภาคีกุล, 2543)
กระบวนการวจิ ัยในช้นั เรียน

การวิจัยเป็นกระบวนการท่ีมีขั้นตอนหรือเทคนิคของการทำอย่างชัดเจนไม่มีเน้ือหาในตนเอง คือ
สามารถนำเน้ือหาทุกเร่ืองเข้ากระบวนการตามขั้นตอนการวิจัยได้ การทำวิจัยให้สำเร็จ ผู้วิจัยต้องมี
กระบวนการคิดอยา่ งมีเหตุผล เปน็ วิทยาศาสตร์และต้องเขียนเค้าโครง การวิจัยที่เป็นไปตามขั้นตอนของการ
วิจัย หากเขียนเคา้ โครงวิจัยไดอ้ ย่างสมบรู ณ์ ผู้วิจัยสามารถปรับเปน็ บทนำ คอื บทที่ 1 และเปน็ สว่ นหน่งึ ของวิธี
วิจัยหรือบทที่ 3 ได้

กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนเป็นกระบวนการของการคดิ วิเคราะห์ หาเหตุผล และมกี ารวางแผนอย่าง
เป็นระบบ โดยให้บรรลุวัตถุประสงค์ ท่ีกำหนดไว้แล้วนำมาเขียนเค้าโครงการวิจัย ให้เป็นพิมพ์เขียวของการ
ดำเนินงานเช่นเดียวกบั ที่สถาปนิกต้องมีพมิ พ์เขียวกอ่ นท่จี ะให้วิศวกรสร้างบ้าน/อาคาร ตามท่ีกำหนดโดยไม่มี

ข้อผิดพลาด และหากมีปัญหาก็สามารถแกไ้ ขได้ทันการและมีประสิทธิภาพ (กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธิการ
, 2543)

สำหรบั การวิจยั ในช้ันเรยี นมีกระบวนการดำเนินงานเช่นเดียวกับการวจิ ัยทัว่ ไป แตกต่างกันทีก่ ารวิจัย
ในชั้นเรียน มเี ปา้ หมาย เพ่อื การแก้ปัญหาและพฒั นาการเรยี นการสอนให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด มิใช่การมุ่งสรา้ ง
องค์ความรู้ เพ่ือพัฒนาหรือขยายองค์ความร้ใู นศาสตรข์ องตนเอง ดังน้ัน การวิจยั ในช้ันเรยี นจงึ เป็นการทำวิจัย
ไปพร้อม ๆ กับการจัดการเรียนการสอน ไมแ่ ยกส่วนออกจากกัน นอกจากนั้น การวิจัยในช้ันเรียนไม่มีรปู แบบ
การดำเนนิ งานหรอื รูปแบบการเขียนรายงานวิจยั ทเ่ี ป็นทางการมากนกั อาจจะทำเปน็ วิจัยงา่ ย ๆ 4-5 หน้า หรือ
จะทำเปน็ งานวิจยั 5 บท ก็ไดเ้ ช่นกัน ( รตั นา แสงบัวเผือ่ น, 2550 )

แนวปฏิบัตทิ ่ีผูว้ จิ ัยในช้ันเรยี น โดยเฉพาะผู้สอนเป็นผทู้ ำวจิ ยั เอง มกี ระบวนการวจิ ัยในชั้นเรียนท่เี ป็น
แนวทางในการปฏิบตั ิ 9 ข้นั ตอนหลัก ดังแสดงในภาพท่ี 2 ดังนี้

ภาพที่ 2 ข้นั ตอนการทำวิจยั แผ่นเดียว

ครูต้องไม่ลมื ว่าการดำเนนิ งานตามข้ันตอนเหล่านี้ เกิดข้ึนควบคู่ไปกับการจัดการเรียนการสอนในช้ัน
เรยี น ถ้าครูจัดการทำงานเป็นระบบ ครจู ะพบว่ากระบวนการวจิ ยั เป็นสิ่งท่ีเกิดขึ้นในกระบวนการเรียนการสอน
อยูแ่ ลว้ ตามธรรมชาติ ซ่ึงรายละเอียดของแตล่ ะข้ันตอนมีดงั ต่อไปน้ี
ข้ันที่ 1 กำหนดประเด็นของการแก้ปญั หาหรอื การพัฒนาจะกำหนดประเดน็ ปัญหาอย่างไร

ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ครูต้องจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ซ่ึงมีการกำหนดจุดประสงค์การ
เรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือหรือแหล่งการเรียนรู้ แนวทางหรือวิธีการเรียนรู้ ตลอดจนการประเมินผลส่ิง
เหล่านี้ครูต้องทำไว้ล่วงหน้า เม่ือครูเข้าสอนในชั้นเรียน ครูอาจจะพบว่ามีปัญหาหลายอย่างเกิดขึ้นใน
กระบวนการเรียนการสอน เช่น นกั เรยี นมพี ้นื ฐานความรู้ไม่เพยี งพอท่ีจะเรยี นบทเรยี นนั้นๆ นักเรียนไม่มที ักษะ
ในบางเร่ือง ไม่สามารถสอนได้ครบถ้วนตามแผนท่ีกำหนดไว้เพราะเวลาไม่เพียงพอด้วยสาเหตุบางประการ
นักเรยี นไม่สนใจเรยี น นักเรียนไม่นำวัสดุอุปกรณ์มาให้ครบ นักเรียนบางคนมาสายเป็นประจำนักเรยี นบางคน
เป็นตัวปัญหาประจำห้องทำให้เกิดอุปสรรคในการเรียนรู้ และปัญหาอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งครูผู้อยู่ใน
สถานการณ์นน้ั ยอ่ มร้ดู ี

จากประสบการณ์นี้เองท่ีครูควรจะบันทึกเร่ืองราวต่างๆ ท่ีเกิดขึ้น ท่ีครูพบว่าเป็นปัญหาสมควรแก้ไข
ซ่งึ บนั ทึกหลงั การสอนจะเป็นประโยชนอ์ ยา่ งมาก ขอใหบ้ ันทึกสง่ิ ท่ีเกิดขึน้ จริง ๆ โดยไม่ลำเอียงเขา้ ข้างตวั เองว่า
ครสู อนประสบความสำเร็จทุกคร้ัง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอาจจะเป็นท้ังเร่ืองราวท่ีเป็นปัญหาและเร่ืองราวท่ีเป็น
ตามความคาดหวัง เร่ืองใดเป็นปัญหาเขียนรวมไว้พวกหน่ึง เรือ่ งใดท่ีเป็นผลดีเขียนรวมไว้พวกหน่ึงน้ีเป็นการ
รวบรวมประเด็นปัญหาและประเด็นที่ควรพัฒนา อาจกล่าวได้ว่า การกำหนดประเด็นปัญหานั้นเป็นการ
กำหนดประเด็นที่ตอ้ งการคำตอบหรอื คำอธบิ าย หรอื ข้อสรุป โดยใช้กระบวนการวิจัย ซ่ึงสามารถแบ่งออกเป็น
2 ประเด็นหลักดว้ ยกนั คอื

1. ประเดน็ ที่ต้องการแกไ้ ขปัญหา
2. ประเดน็ ท่ีตอ้ งการพัฒนา
หลังจากที่ครูเขียนรายการปัญหาท่ีเกิดข้ึน หรือเขียนรายการเรื่องที่ควรพัฒนาการเรียนรู้แล้วนำมา
จดั ลำดับความสำคัญ ความจำเป็น และจะหาคำตอบได้อย่างไร บางเร่ืองครอู าจจะหาคำตอบได้โดยไม่ต้องทำ
วิจยั เพราะได้คำตอบจากเพื่อนครู จากการอ่านเอกสารต่าง ๆ หรือจากงานวิจัยทมี่ ีผู้อนื่ ไดศ้ กึ ษาไว้แล้ว แต่บาง
เรือ่ งครูตอ้ งใช้กระบวนการวิจัยเพ่ือหาคำตอบ

ขั้นที่ 2 การกำาหนดวัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมายการวิจัย
เม่ือครเู ลือกปัญหาการวิจยั แล้ว ครูควรจะระบุวัตถุประสงคใ์ หช้ ดั เจนในการแก้ปัญหาหรอื การพัฒนา

เปน็ วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั คือ การระบุวา่ ครูตอ้ งการจะทำอะไรเพอ่ื แกไ้ ขปญั หาหรอื การพัฒนา ซึ่งนิยมเขยี น
เปน็ ประโยคบอกเล่า โดยระบถุ งึ สิ่งท่ีครจู ะทำเพ่ือให้ได้คำตอบ

หลังจากท่ีครูได้กำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัยแล้ว ขอให้ครูพิจารณาถึงผลลัพธ์ขั้นสุดท้ายหรือ
จดุ หมายปลายทางวา่ ครตู ้องการใหเ้ ป็นอะไร นั่นคือเป้าหมายของการวจิ ัย นน่ั เอง ซ่ึงนยิ มเขียนเปน็ ประโยค
บอกเล่า

ข้นั ท่ี 3 การศึกษาแนวทางปฏบิ ัติเพือ่ กำหนดทางเลือก
เมื่อได้ประเด็นปัญหาท่ีต้องการแก้ไข หรือประเด็นท่ตี ้องการพัฒนาแล้ว ครูควรสืบค้นข้อมูลเพ่ือช่วย

ในการกำาหนดแนวทางปฏิบัติซึ่งอาจจะหาข้อมูลได้จากการอ่านเอกสารต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหา
ประเด็น ท่ีจะพัฒนา เช่น ตำาราที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยหรือวิทยานิพนธ์ท่ีเก่ียวข้องกับเรื่องที่ครูต้องการศึกษา

เอกสารการ สมั มนาหรือประชุมวชิ าการ วารสาร หนงั สอื พิมพ์หรอื การสมั ภาษณ์ผูร้ ู้ เพื่vนครูทมี่ ีความรูใ้ นเร่ือง
น้ันหรอื จาก ประสบการณ์ที่ได้มีการสังเกตและบันทึกไว้ ทง้ั น้ีเพ่ือจะไดข้ ้อมูลมาใชเ้ ป็นทางเลือกในการปฏิบัติ
ตอ่ ไป

ครอู าจจะรูส้ ึกวา่ เปน็ ภาระทตี่ ้องไปศกึ ษาเอกสารต่าง ๆ และครูไม่มีเวลาพอทีจ่ ะตรวจเอกสารเหล่านั้น
อย่างไรก็ตามครูส่วนใหญ่จบการศึกษาในระดบั ปริญญาตรี ตอ้ งเคยได้เรียนหลกั การและทฤษฎีตา่ ง ๆ เก่ียวกับ
การเรียนรู้มาแล้วไม่มากกน็ ้อย เชน่ ทฤษฎแี รงจงู ใจ ทฤษฎีการเสรมิ แรง เป็นต้น อย่างนอ้ ยครูควรจะทบทวน
หลักการและทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องกับเร่ืองที่จะศึกษา จะช่วยทำาให้ครูมีวิธีการปฏิบัติท่ีมีหลักเกณฑ์ท่ีเช่ือถือได้
หรอื แม้แต่จากการสงั เกตท่พี บเหตุการณซ์ ำ้ า ๆ กันหลายคร้ัง

ขน้ั ท่ี 4 การวางแผนการวิจัย
การวางแผนการวิจยั เป็นกระบวนการท่ีเก่ียวข้องกับกิจกรรมท่ีสำคัญ ๆ หลายประการ เรม่ิ ตั้งแต่การ

วิเคราะห์สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในห้องเรียน แล้วต้ังเป็นคำถามวิจัย กำหนดแนวทางการแก้ปัญหาแล้วจึง
ออกแบบการวิจัยเพ่ือวางแผนกำหนดวิธีการและเทคนิคในการวิจัยไว้ล่วงหน้า นอกจากน้ียังทำให้รู้ว่า
นวัตกรรมวธิ ีการที่สร้างข้ึนมีทฤษฎีรองรับมากนอ้ ยเพยี งใด การออกแบบการวิจัยช่วยให้ทราบวา่ จะเกบ็ ข้อมูล
อะไร เก็บอย่างไร เก็บกับใคร เก็บเมือ่ ใด จงึ เป็นอกี ขั้นตอนหน่ึงท่สี ำคัญในการวจิ ัยแบบง่าย ซึ่งจะเป็นแนวทาง
ในการศกึ ษากอ่ นนำแผนปฏบิ ตั กิ ารไปสู่การปฏบิ ัติจรงิ

การวางแผนการวิจัยจะต้องมีรายละเอียดที่ครอบคลุมการดำเนินการอย่างเป็นข้ันตอน ซึ่ง
ประกอบดว้ ย

1. การตง้ั คำถามกับตนเองหลังจากการสงั เกตเห็นปัญหาท่เี กิดข้ึนเพอื่ กำหนดเปน็ คำถามวิจัยซึ่งได้
กล่าวแลว้ ในข้ันตอนท่ี 1

2. วธิ ีการ โดยระบุรายละเอยี ดดงั นี้
2.1 จะดำเนินการวิจัยกบั ใคร จำนวนเท่าใด เพื่อนำมาใช้ในการวจิ ัยแบบง่าย ถา้ ใชจ้ ำนวนคน

ทัง้ หมด ก็เรียกว่า ประชากร ถ้าเลอื กมาบางกลุ่มโดยถือเป็นตวั แทนของคนทั้งหมด ก็เรียกว่า กลุ่มตัวอย่างถ้า
เลอื กมาเฉพาะบางคน ก็เรยี กว่า กรณีศกึ ษาเฉพาะราย

2.2 จะใชเ้ ครือ่ งมืออะไรในการเก็บรวบรวมข้อมูลและวธิ กี ารวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือให้ไดข้ ้อสรุป
สำหรับการตอบคำถามวิจัย ดังน้ันผู้วิจยั ต้องคำนึงถงึ ลักษณะของข้อมลู ประเภทและลักษณะของเคร่ืองมือที่
จะใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู มรี ายละเอยี ดดงั น้ี

ข้อมูลเป็นข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดของส่ิงท่ีต้องการศึกษา ข้อมูลอาจเป็นข้อความหรือ
ตวั เลขก็ได้ ข้อมลู ในการวิจัยแผ่นเดยี วแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคอื

ก. ข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นข้อมูลที่มีลักษณะเป็นตัวเลขแสดงปริมาณของส่ิงที่เราต้องการ
ศกึ ษา หรือเรียกวา่ ตัวแปร เช่น อายุ น้ำหนัก สว่ นสูง รายได้ คะแนน ระดับผลการเรียน เปน็ ต้น

ข. ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นข้อมูลที่ไม่ใช่ตัวเลข แต่มีลักษณะเป็นข้อความหรือสิ่งท่ีแสดง
คุณลักษณะของสิง่ ที่เราตอ้ งการศึกษา เช่น ความคิดเหน็ ลกั ษณะพฤติกรรม การแสดงออก เป็นต้น

2.3 ประเภทและลักษณะของเคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งการเลือกเคร่ืองมือ
แต่ละชนิดต้องเลือกให้เหมาะสมกับข้อมูลแต่ละลักษณะ เคร่ืองมือในการวิจัยแผ่นเดียวที่นิยมใช้ มีหลาย
ประเภทดงั ต่อไปน้ี

ก. แบบทดสอบเป็นเคร่ืองมือท่ีใช้วัดด้านความรู้ ความถนัด ซ่ึงมีได้หลายลักษณะ เช่น
แบบทดสอบแบบอัตนยั แบบทดสอบแบบปรนยั แบบทดสอบวดั ความถนดั ในการเรยี น เปน็ ตน้

ข. แบบสอบถามเป็นเคร่อื งมือทใ่ี ชว้ ัดความเห็น ความสนใจ มี 2 ลักษณะ เช่น แบบสอบถาม
แบบปลายเปิด แบบสอบถามปลายปิด เป็นต้น

ค. แบบสัมภาษณ์เป็นเคร่ืองมือท่ีใช้วัดความคิดเห็น ความรู้สึก ความสนใจ ทัศนคติ โดย
อาศัยการโต้ตอบทางวาจาเป็นหลัก มี 2 ลักษณะ คือ แบบสัมภาษณ์ที่มีประเด็นคำถามแต่ไม่มีคำตอบและ
แบบทมี่ ีท้งั คำถามและคำตอบใหเ้ ลอื ก

ง. แบบวัดเจตคติ เป็นเครอ่ื งมือท่ีใชว้ ัดความเช่ือ ความรูส้ ึก ซึ่งมีหลายลักษณะ เช่น แบบวัด
เจตคตขิ องลิเครท (Likert) แบบวดั ความรู้สึกของออสก้ดู (Osgood) เปน็ ต้น

จ. แบบสังเกตเป็นเครื่องมือที่ใช้ศึกษาคุณลักษณะพฤติกรรม ของบุคคล ที่ใช้ศึกษา
คณุ ลักษณะพฤติกรรมของบุคคลอาจมีหลายลกั ษณะ เช่น แบบตรวจรายการ แบบมาตราสว่ นประมาณค่าเป็น
ต้น

3. กำหนดแผนการดำเนินการ โดยระบรุ ายละเอียดว่าจะทำอะไร เมื่อไร เป็นต้น ซึ่งแสดงให้ทราบถึง
ชว่ งระยะเวลาในการดำเนินการวิจัยตั้งแต่เร่ิมต้นจนเสร็จส้ินกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนการกำหนดแผนการ
วิจัยในชั้นเรียน ได้แนวทางจากผลการจัดการเรียนการสอนท่ีผ่านมา ซ่ึงพบปัญหาหรือข้อบกพร่องแล้วนำ
ปัญหาหรือข้อบกพร่องนั้นมาพัฒนาปรับปรงุ ให้ดีขึ้นในภาคการศึกษาต่อไปดังนั้น ขั้นตอนการวิจัยจะกำหนด
ควบคู่กับการกำหนดหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อแผนวิจัยที่กำหนดจะได้มีความชัดเจน
และสอดคลอ้ งกับการจัดการเรียนรู้จริง หรือทำใหส้ ามารถดำเนินการวิจยั กับการจัดการเรียนรู้ควบคไู่ ปด้วยกัน
ได้อยา่ งดแี ละเปน็ เรอ่ื งเดยี วกนั

ขน้ั ที่ 5 การปฏิบัตติ ามแผนและรวบรวมข้อมูล
จากแผนในข้ันท่ี 4 มาสู่การปฏิบัติตามแผนเป็นการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การวัดและ

ประเมินผลการเรียนรคู้ วบคู่ไปกับการเก็บรวบรวมข้อมูลพรอ้ มกนั เน่ืองจากระหวา่ งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ตอ้ งมีการบนั ทึกเหตกุ ารณ์และขอ้ มลู ต่าง ๆ ท่ีกำหนดไวอ้ ย่างต่อเนื่อง ความเปลี่ยนแปลงตา่ ง ๆ ท่ีอาจเกดิ จาก
การปฏิบตั ิในการจดั การเรยี นการสอนครคู วรสังเกตและบนั ทกึ

การปฏบิ ัตติ ามแผน มีความสำคัญอย่างย่ิง เพราะเป็นจุดเริ่มตน้ ของการแก้ไขปัญหาโดยใช้การเรียนรู้
ใหม่เป็นเคร่ืองมือ การปฏิบตั ิต้องตรงตามแผนท่ีกำหนดไว้ ควรระมัดระวงั มิให้เกิดความลำเอียง ที่อาจจะเกิด
จากการไม่ปฏิบัติตามท่ีวางแผนไว้ รวมทั้งท่าทีท่ีใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดังกล่าว เช่น ท่าทีเป็นมิตร
ท่าทีคุกคามหรือข่มขู่ เป็นต้น ครูผู้วิจัยต้องตระหนักในทุกส่ิงที่ปฏิบัติและแสดงออก ซึ่งอาจจะส่งผลต่อการ
เรียนรู้และการแกไ้ ขปญั หา

การรวบรวมข้อมูล ต้องกระทำพร้อมไปกับการปฏิบัติการจัดการเรียนรู้ ส่ิงที่จะช่วยให้การรวบรวม
ข้อมลู มีประสิทธิภาพ คอื

- ความชัดเจนในการปฏบิ ัติ จะช่วยใหก้ ารบนั ทกึ ไดต้ รง
- ความชัดเจนในสิ่งทจ่ี ะต้องรวบรวม จะชว่ ยใหก้ ารรวบรวมข้อมูลไดอ้ ย่างครบถว้ น
- การเตรียมพร้อมท้ังผู้รวบรวมและเครื่องมือที่ใช้รวบรวม อาจจะเป็นแบบสังเกต แบบวัด
แบบทดสอบหรือแบบสำรวจ ที่สำคัญคือ การบันทึกหลังสอนทุกครั้งอย่างละเอียด จะช่วย
เตมิ เต็มความสมบูรณ์ของขอ้ มลู ด้านอื่น

ขั้นท่ี 6 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู
ข้อมูลในการวิจัยนั้นมี 2 ลักษณะใหญ่ๆ คือ ข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ ดังน้ันในการ

วิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย จึงเป็นการจัดกระทำข้อมูลท่ีได้จากการศึกษาเก็บ
รวบรวมมาให้อยู่ในลักษณะที่สามารถแปลความหมายและสื่อความหมายของข้อมูลน้ันๆ ให้มีความชัดเจน
กะทัดรัด และสามารถเข้าใจได้ง่าย ตรงตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย การใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูลให้เลือกใช้
สถิติท่ีเหมาะสมกับข้อมูล ไม่จำเป็นต้องเลือกใช้สถิติที่ซับซ้อน โดยอาจนำเสนอในรูปแบบของกราฟ ตาราง
แผนภูมิ โดยอธิบายความหมายของกราฟ แผนภูมิ และค่าตัวเลขต่างๆ ท่ีแสดงในตารางเพ่ือให้ผู้อ่านมีความ
เขา้ ใจความหมายของผลการวิเคราะหไ์ ดถ้ กู ต้อง

ลักษณะของข้อมลู เชิงปริมาณจะเป็นขอ้ มูลท่อี ย่ใู นรปู ของตัวเลข เช่น คะแนนจากการทดสอบคะแนน
ที่แปลงมาจากมาตราวัดแบบประมาณค่า เป็นต้น ดังนั้น การวิเคราะห์และนำเสนอ ข้อมูลเชิงปริมาณต้อง
วเิ คราะห์ข้อมูลให้ตรงตามวัตถุประสงค์การวิจัยโดยสถิตทิ ี่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณสำหรับการวิจัย
ในช้ันเรียน จะใช้สถิตพิ ้ืนฐานท่ีไม่มีความยุ่งยากซับซ้อนมากนัก โดยท่ัวไปจะใช้ค่าการแจกแจงความถค่ี ่าร้อย
ละ คา่ เฉล่ยี และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในส่วนของการนำเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู เชิงปรมิ าณ ควรนำเสนอ
ในรปู แบบต่าง ๆ ท่ีน่าสนใจ สอ่ื ความหมายและสามารถเข้าใจได้งา่ ย อาจนำเสนอในรูปของตาราง กราฟหรือ
แผนภาพประกอบคำบรรยาย

ลกั ษณะของข้อมูลเชิงคณุ ภาพหรือเชิงคุณลักษณะเป็นข้อมูลที่บรรยายหรืออธิบายคุณลักษณะของส่ิง
ท่ีต้องการศึกษา โดยเป็นข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต การสอบถาม หรือการสั มภาษณ์เชิงสนทนากับ
กลุ่มเป้าหมายแล้วจดบันทึกเหตุการณ์หรือพฤติกรรมที่สังเกตได้เอาไว้ เช่น การสัมภาษณ์พูดคุยกับนักเรียน
เกยี่ วกบั ความรู้สกึ ท่ีมตี ่อนวตั กรรมท่ีครูใช้ในการสอน การบันทึกพฤติกรรม เฉพาะเจาะจง การวเิ คราะห์ข้อมูล
มักใช้วธิ กี ารวิเคราะหเ์ ชิงเหตุผล หรอื เชอื่ มโยงความสัมพันธ์ของข้อมลู ทไ่ี ด้ เช่น วเิ คราะห์ความถี่ของพฤตกิ รรม
ทเี่ กิดข้ึนบอ่ ย วิเคราะห์คำตอบการแสดงความรสู้ ึกและการแสดงความคิดเหน็ จากการสมั ภาษณ์เชิงสนทนาใน
ส่วนของการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพหรือเชิงคุณลักษณะเป็นการนำาเสนอในรูปแบบของ
การบรรยายสรุปคุณลักษณะหรอื พฤตกิ รรมของกลมุ่ เป้าหมาย หรอื ความสามารถท่ีเกิดข้ึนภายหลังจากการใช้
นวตั กรรมกบั กลมุ่ เปา้ หมาย

ข้ันท่ี 7 การสะทอ้ นผลการวจิ ัย
หลังจากท่ีผวู้ ิจัยวิเคราะห์ขอ้ มูลเรียบรอ้ ยแลว้ ผู้วิจัยควรจะนำผลที่ไดม้ าพจิ ารณาเทียบกับเป้าหมายว่า

ผลที่ได้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้หรือไม่ ซึ่งการพิจารณาในครั้งนี้อาจจะพิจารณาด้วยตนเอง หรือ
พิจารณาร่วมกับเพื่อนครู หรือผู้ที่เก่ียวข้อง ถ้าไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ผู้วิจัยต้องพิจารณาว่า
ประเดน็ ใดบ้างทท่ี ำให้ผลการวิจัย หรือผลการดำเนนิ การยงั ไมบ่ รรลเุ ป้าหมาย

ผู้วิจยั ต้องปรับแผนการดำเนินงานใหม่เพื่อแกไ้ ขจุดออ่ นหรือข้อบกพร่องท่ีเกิดขึ้นและดำเนินการตาม
แผนงานที่ปรับปรุงแล้ว รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และนำผลที่ได้มาพิจารณาเทียบกับเป้าหมายอีก
ดำเนินการเช่นน้ีไปเร่ือย ๆ จนบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ หลังจากท่ีบรรลเุ ป้าหมายแลว้ ผวู้ ิจัยควรดำเนินการ
ซ้ำจนแน่ใจผลที่ได้นั้นเปน็ ไปตามเป้าหมาย และเปน็ การเปลย่ี นแปลงหรอื การพัฒนาที่ยั่งยืนไมใ่ ช่วา่ เป็นไปตาม
เป้าหมายเพียงครั้งเดียว แล้วกลับส่สู ภาพเดิมอกี

ขั้นที่ 8 สรปุ ผลและเขียนรายงานการวิจัย
หลังจากท่ีผู้วิจัยพิจารณาผลการวิจัยว่าเป็นไปตามเป้าหมาย และผลการวิจัยนั้นมีความคงทน

พอสมควรแล้ว ผ้วู ิจัยควรเขียนรายงานการวิจัย ซึง่ รายงานการวิจัยในชั้นเรียนน้ัน ผู้วิจัยควรเขียนในลักษณะ
ของผลงานที่จะใช้นำเสนอในท่ีประชุมวิชาการ หรือผลงานที่จะใช้ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ ซ่ึงมีจำนวน

หนา้ ไมม่ ากนัก รายงานการวจิ ยั ในชัน้ เรียนนน้ั ประกอบด้วยหัวข้อดงั ต่อไปนี้
1. ช่อื เรอ่ื ง
2. ชื่อผู้วิจัย
3. ความเปน็ มาของการวิจยั
4. วตั ถุประสงค์และเป้าหมายของการวจิ ยั
5. วิธดี ำเนินการวิจยั
6. ผลการวจิ ัย
7. ขอ้ เสนอแนะ
8. เอกสารอา้ งองิ (ถา้ มี)

การเขยี นรายละเอียดของแต่ละหัวขอ้ มดี งั ต่อไปน้ี

ชื่อเรอ่ื ง
การเขยี นช่อื เรอื่ ง ผู้วิจัยควรเขียนชอื่ เรื่องใหก้ ะทดั รดั สื่อความหมายให้ชดั เจน เพื่อตอบคำถามให้
ชดั เจนว่า ทำอะไร กบั ใคร ประเดน็ สำคัญทตี่ อ้ งการจะศึกษาต้องปรากฏอยใู่ นชือ่ เร่ือง

ชื่อผู้วจิ ยั
ระบชุ อื่ ผทู้ ำการวิจยั พร้อมทงั้ สถานศกึ ษาที่สงั กดั

ความเปน็ มาของการวิจัย
การเขยี นความเป็นมาของการวจิ ยั คือ การระบใุ หผ้ อู้ ่านได้ทราบวา่ เหตใุ ดจึงตอ้ งทำงานวจิ ัยเรื่องน้ี มี
ที่มาท่ีไปอย่างไร ดังน้ันผู้วิจัยควรจะกล่าวถึงสภาพปัญหาหรือสภาพที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งสภาพดังกล่าว
ก่อให้เกิดปัญหาอะไรบ้าง หรือสภาพดงั กล่าวถา้ ได้รับการปรับปรงุ หรือพัฒนาให้ดีขน้ึ กวา่ ที่เปน็ อยู่จะกอ่ ให้เกิด
ประโยชนอ์ ะไรบ้าง และใครคือผไู้ ด้รบั ผลประโยชนด์ ังกล่าว มีแนวคดิ อย่างไรในการแก้ปัญหาหรือแนวทางการ
พัฒนาปรับปรุงแก้ไข และแนวคิดดังกล่าวได้มาอย่างไร (แนวคิดดังกลา่ วอาจได้มาจากการศึกษาจากเอกสาร
หรือจากประสบการณ์ตรงทไี่ ดจ้ ากการสงั เกตการณ์ สมั ภาษณ์ เป็นตน้ ) พร้อมระบแุ หลง่ อา้ งอิง (ถา้ มี)

วัตถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายของการวจิ ัย
การเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ การระบุให้ผู้อ่านได้ทราบว่างานวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยต้องการทำ
อะไร และจุดหมายปลายทางหรือผลลัพธ์สุดท้ายท่ีผู้วิจยั ต้องการคืออะไร

วธิ ดี ำเนินการวจิ ัย
การเขียนวิธีดำเนินการวจิ ยั ควรระบุกลมุ่ เป้าหมายท่ตี อ้ งการทำการวิจยั เครื่องมอื ท่ีใช้ในการวิจยั การ
รวบรวมข้อมลู และการวิเคราะห์ขอ้ มลู
กลุม่ เป้าหมายในการวจิ ัย ผวู้ ิจยั ควรระบใุ หช้ ดั เจนวา่ ใครคอื กลุ่มทผ่ี วู้ ิจยั ตอ้ งการปรบั ปรุงแก้ไขหรอื
พฒั นาใหด้ มี ากย่ิงข้ึน

เครื่องมือท่ีใชใ้ นการวจิ ัย
ผวู้ ิจยั ควรระบุใหช้ ัดเจนวา่ การวจิ ยั ครั้งน้ีใชเ้ ครอื่ งมอื อะไรบ้างในการรวบรวมข้อมูล มวี ิธกี ารสร้างและ

หาประสิทธิภาพของเคร่อื งมืออยา่ งไร

ผลการวิจยั
การเขียนผลการวิจัย ผู้วจิ ัยตอ้ งสะท้อนให้เห็นวา่ กว่าท่ีจะบรรลุเป้าหมายของการวิจัยน้ัน ผู้วิจยั ต้อง
ดำเนนิ การท้ังหมดก่ีรอบ ในแต่ละรอบมกี ารปรับปรุงเปลย่ี นแปลงอะไรบ้าง และผลทเ่ี กดิ ขึ้นเป็นอย่างไร (เขยี น
เนน้ ที่ผลการวิจัยให้สอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคท์ ีต่ ้ังไว้)

ข้อเสนอแนะ
การเขียนข้อเสนอแนะนั้นต้องเป็นข้อเสนอแนะท่ีเป็นผลสืบเนื่องจากข้อค้นพบของการวิจัยในคร้ังนี้
ไม่ใชข่ อ้ เสนอแนะทางทฤษฎโี ดยท่วั ๆ ไป

เอกสารอ้างอิง
เอกสารทุกเล่มที่มีการอา้ งอิงในรายงานการวิจยั ต้องปรากฏอยู่ในเอกสารอ้างองิ ทา้ ยรายงาน

ขนั้ ที่ 9 แลกเปลี่ยนขอ้ ค้นพบกบั ผูอ้ ืน่ หรือเผยแพรผ่ ลงาน
หลงั จากท่ีผวู้ ิจยั เขยี นรายงานการวิจยั เรยี บร้อยแล้ว ควรจะได้นำเสนอผลงานต่อที่ประชุมวชิ าการเพื่อ

เป็นการเผยแพร่ผลงานและแลกเปลย่ี นข้อค้นพบซ่ึงกนั และกนั ซึง่ จะเปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งย่ิงต่อผ้วู ิจยั เองหรือต่อ
เพือ่ นรว่ มวิชาชีพเดียวกัน จากการแลกเปลี่ยนผลงานซึ่งกันและกัน จะทำใหผ้ ูว้ ิจัยหรือผู้เขา้ ร่วมสมั มนาวิชาการ
ไดม้ องเหน็ แนวทางในการวิจยั ไดช้ ดั เจนมากยงิ่ ขน้ึ (สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, 2547)

สรุป
การเรยี นการสอนในชนั้ เรยี น เป็นกจิ กรรมท่ีเกิดขนึ้ ระหว่างครกู ับนักเรียน บทบาทของครู คือ การจัด

ประสบการณ์การเรยี นรู้ตามหลักสตู รให้กับนักเรียนทง้ั ช้ัน การสอนคงไม่ใช่เร่ืองยาก ถา้ นักเรียนท้ังหมดมีพื้น
ฐานความรู้เหมือนกัน มีความสามารถทัดเทียมกัน และพร้อมจะเรียนร้ไู ด้จากวิธีการสอนของครคู นเดียวไดท้ ุก
เวลา แตใ่ นความเปน็ จรงิ นักเรียนท้ังชนั้ มีความรู้ความสามารถพื้นฐานแตกต่างกัน จงึ มักเกิดปญั หาในการเรียน
การสอนกับครู ครจู ึงควรเลือกวิธีการสอนทเ่ี หมาะสมกับนักเรยี นโดยสว่ นรวม ครตู ้องพยายามคิดค้นวิธสี อนสื่อ
ตลอดจนเครือ่ งมือใหม่ ๆ มาชว่ ยในการเรียนการสอน เพื่อแก้ปญั หาและเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพของนักเรียน

การสอนในชั้นเรียนไม่ใช่การอธิบายจากหนังสืออย่างเดียว การสอนในห้องเรียนครูจะต้องจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้ ให้กับนักเรียนทั้งชั้นซึ่งมีความสามารถพ้ืนฐานแตกต่างกันออกไปทำให้บางครั้งเกิด
ปญั หากับผู้สอนที่ต้องจัดกิจกรรมหลากหลายสนองตอบต่อผู้เรียนแต่ละคน การสอนควบคู่กับการสังเกต เก็บ
รวบรวมขอ้ มูลนักเรยี นในชั้นมาวิเคราะห์ ศึกษาสภาพ จงึ เป็นสิ่งจำเป็นตอ้ งดำเนินการตลอดเวลา การวิจัยใน
ชั้นเรียนจะเริ่มขึ้นหลังจากครูสรุปได้ว่าปัญหาคืออะไร เกิดที่ไหนและมีแนวทางจะแก้ปัญหาน้ันได้อย่างไร
กลา่ วคอื ครูคดิ หาวธิ แี ก้ปัญหาทดลองใชจ้ นได้ผลแลว้ พฒั นาเป็นนวตั กรรม สามารถนำไปเผยแพรไ่ ด้ต่อไป

การวจิ ัยในชั้นเรียนเปน็ การพัฒนาทางเลือกในการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาคุณภาพได้อย่างเหมาะสม
เกิดประสิทธิผล มีประสิทธิภาพท่ีสุดในชั้นเรียน เพราะการวิจัยในชั้นเรียนไม่เพียงแต่เป็นกระบวนการค้นหา
คำตอบอย่างเป็นระบบ หรือเป็นการศึกษาหาคำตอบโดยอาศัยวิธที น่ี ่าเชื่อถือได้เทา่ นน้ั แต่ยังเน้นการแกป้ ัญหา
ในชน้ั เรยี นอีกด้วย

กลา่ วโดยสรุป การวจิ ยั ในชัน้ เรียนเปน็ งานทท่ี ้าทายความสามารถของครูผสู้ อนในโรงเรียน ดังน้นั ตราบ

ใดก็ตามท่ีกระบวนการเรียนการสอนยังมีอยู่ ปัญหาทเ่ี กิดข้ึนกับผเู้ รียนก็มีเช่นเดียวกัน การทำวจิ ัยในชั้นเรียน
จึงเร่ิมมาจากการคิดถึงปัญหาของครูผู้สอน แล้วเตรียมการไปสู่การปฏิบัติและสรุปผล รายงานผลการวิจัย

ตามลำดับ ชั้นเรยี น การวิจยั ในควรมีลกั ษณะอยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง คือ
1. เป็นการวิจัยจากปญั หาที่เกดิ ขึ้นในช้ันเรยี นเกย่ี วกับการเรียนการสอน

2. ทำการวจิ ยั เพอ่ื นำผลวิจยั ไปพฒั นาการเรยี นการสอน
3. ทำการวิจัยควบคู่กับการเรียนการสอน คือ สอนไปวิจัยไป แล้วนำผลการวิจัยไปใช้
แกป้ ญั หาในชน้ั เรียน และทำการเผยแพร่ให้เกิดประโยชนต์ ่อผู้อื่น

บทท่ี 3
วธิ ดี ำเนินงานกิจกรรม

กจิ กรรมส่งเสรมิ ให้ครศู ึกษาและพฒั นางานวิจัย ปกี ารศกึ ษา 2562 จดั ขึ้นท่โี รงเรยี นสุวรรณาราม
วิทยาคม โดยมีขน้ั ตอนดำเนนิ งานต่าง ๆ ดังน้ี

3.1 ขนั้ ตอนการดำเนนิ กจิ กรรม
ขน้ั เตรียมงาน (PLAN)

1. กำหนดจุดมุ่งหมายการพัฒนางานวิจัยส่ือและนวัตกรรม ให้การวิจัยในช้ันเรียนเป็นการพัฒนา
ทางเลือกในการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาคุณภาพได้อย่างเหมาะสมเกิดประสิทธิผล มีประสิทธิภาพที่สุดในชั้น
เรยี น

2. กำหนดวิธีการหาข้อมูล ศึกษาปัญหาอุปสรรค และประเด็นท่ีต้องพัฒนา ได้แก่ การเข้าเยี่ยมช้ัน
เรียน การสงั เกต ปรึกษาหารือ ประเมนิ ผลงานทางวิชาการของโรงเรียน

3. เครื่องมือท่ีใช้ในการประเมินงานวิจัยในชั้นเรียน ได้แก่ แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้แบบ
รายงานการใช้สอ่ื นวัตกรรม แบบประเมนิ งานวจิ ยั ในช้ันเรยี น แบบบันทึกการส่งงานวิจยั

4. ประชมุ กรรมการเพื่อวางแผนการดำเนนิ งาน
ขัน้ ดำเนนิ การ (DO)

1. สำรวจปญั หาที่พบในการจดั การเรยี นรู้ และแนวทางการพฒั นาการจดั การเรยี นรขู้ องครู
2. ครูดำเนนิ การแก้ปญั หาในชั้นเรียนโดยใชก้ ารวิจัยในใชเ้ รียน
3. ติดตามผลการดำเนนิ การ
4. ครูจดั ทำรายงานวิจัยในชั้นเรียน
ขน้ั ตรวจสอบ ( CHECK)
1. ประเมินจากแบบบันทึกผลการการรายสอื่ นวตั กรรม
2. สรปุ รายงานผลการดำเนนิ งานการสรา้ งสอ่ื นวตั กรรมและวจิ ยั ในช้ันเรียนโดยหัวหน้ากลุม่ สาระ ฯ
ของแตล่ ะกลมุ่ สาระ ฯ
ข้ันรายงาน (ACTION)
1. สรุปรายงานผลการดาเนินงาน

2. นำผลการประเมนิ มาปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป

บทท่ี 4
ผลการประเมินกจิ กรรม

4.1 การประเมนิ กิจกรรม

รายการประเมิน ระดับคะแนน
5 4321

1. ดา้ นสภาพแวดล้อมของกิจกรรม/กิจกรรม

1.1 กจิ กรรม/กิจกรรมสอดคล้องกับวสิ ัยทัศน์ของโรงเรยี น 

1.2 กิจกรรม/กิจกรรมสอดคลอ้ งกับ นโยบาย เป้าหมายของโรงเรียน 
1.3 กจิ กรรม/กิจกรรมสอดคล้องกบั มาตรฐานคุณภาพการศึกษา 
2. ดา้ นความพอเพียงของทรัพยากรท่ใี ช้ในการดำเนินกจิ กรรม

2.1 ความเหมาะสมของงบประมาณ 
2.2 ความพอเพยี งของวัสดุ อปุ กรณ์ 

2.3 ความเหมาะสมของสถานที่ ท่ีใช้ดำเนนิ งาน 

2.4 ความพงึ พอใจของบุคลากร 
2.5 ความร่วมมอื ของบคุ ลากรในการดำเนินงาน 
3. ดา้ นความเหมาะสมของกระบวนการจัดกจิ กรรม/กิจกรรม

3.1 ความเหมาะสมของระยะเวลาดำเนนิ งานแต่ละกจิ กรรม 

3.2 วธิ กี าร/กจิ กรรมท่ปี ฏิบัติในแตล่ ะขั้นตอนสอดคล้องกับเป้าหมาย 
4. ดา้ นความสำเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายในการจัดกจิ กรรม

4.1 ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมได้ครบถ้วนตามลำดับทก่ี ำหนด 

4.2 ผลการดำเนินงานบรรลตุ ามวตั ถุประสงคข์ องกิจกรรม/กิจกรรม 

4.3 ผลการดำเนนิ งานบรรลตุ ามเป้าหมายทีต่ ้งั ไว้ 

รวม 35 16 6

รวม (ผลรวมทกุ ชอ่ ง) 57

คา่ เฉล่ยี คะแนนการประเมนิ ผลการบริหารโครงการ (คะแนนผลรวม ÷ 13) = 4.38

คะแนนเฉลี่ย 4.00 - 5.00 แสดงวา่ การดาเนินงานอยู่ในระดับ ดีมาก

คะแนนเฉล่ีย 3.00 - 3.99 แสดงวา่ การดาเนนิ งานอยใู่ นระดบั ดี

คะแนนเฉลย่ี 2.00 - 2.99 แสดงวา่ การดาเนนิ งานอย่ใู นระดบั พอใช้

คะแนนเฉลยี่ 1.50 - 1.99 แสดงว่าการดาเนนิ งานอยใู่ นระดับ ควรปรบั ปรุง

คะแนนเฉลยี่ 1.00 - 1.49 แสดงว่าการดาเนนิ งานอยู่ในระดับ ควรปรับปรุงเร่งด่วน

สรุปผลการประเมนิ กจิ กรรม/กจิ กรรม

 ระดบั ดีมาก  ระดับดี  ระดับพอใช้  ระดับปรบั ปรงุ

4.2. สรปุ ผลการประเมิน

ผลการประเมินกิจกรรมหลังการดำเนินงานโดยรวมเฉล่ียทุกด้านอยใู่ นระดับ…ดีมาก….และมีคะแนน

เฉล่ียในแต่ละดา้ นดงั นีค้ ือ

1) การดำเนินงานตามวตั ถปุ ระสงค์

- ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ รอ้ ยละ…100…..
2) ผลการปฏิบัตงิ าน

……เป็นไปตามแผนทีก่ ำหนด……………….
3) การใชจ้ ่ายงบประมาณ

…………………………………………………………………………………………..

จำนวนและรอ้ ยละของค่าใช้จ่ายงบประมาณ

ท่ี รายการคา่ ใช้จา่ ย จำนวนเงนิ ร้อยละ
ทีต่ ้ังไว้ ท่ใี ช้ไป 0
1 กจิ กรรมส่งเสรมิ ให้ครศู ึกษาและพฒั นางานวิจยั 23,600 - 0
ค่าวสั ดอุ ุปกรณส์ ำหรบั จัดทำ/เอกสารสรุป
รายงานวิจยั ในชนั้ เรยี น 5,400 - 0

2 งานนิทรรศการเปดิ โลกผลงานวจิ ยั และ
นวัตกรรมของขา้ ราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ปกี ารศึกษา 2561

รวม - -
การดำเนนิ การเบกิ จา่ ยเงนิ
( ) ตรงตามทีป่ ระมาณการไว้
( ) ไม่ตรง ตามทปี่ ระมาณการไว้
(  ) ไมไ่ ดใ้ ชเ้ งินตามทีป่ ระมาณการไว้

4) การประเมินผลกจิ กรรม ร้อยละ …100……..

5) ผลสำเร็จของการปฏบิ ตั ิงาน
- ผลสำเร็จของการปฏบิ ัติงาน ร้อยละ…100………

บทที่ 5
สรุป อภิปราย และขอ้ เสนอแนะ

การดำเนนิ งาน โครงการวิจัยสือ่ นสัตกรรม ปีการศกึ ษา 2561 โดยมีผลการดำเนินงาน ดงั น้ี

5.1 สรปุ อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ
สรปุ ผลการประเมิน
ผลการประเมินกจิ กรรมหลังการดำเนนิ งานโดยรวมเฉล่ียทกุ ดา้ นอยใู่ นระดบั ……ดมี าก………….

และมจี ำนวนรอ้ ยละ…100………… ค่าเฉลยี่ ในแต่ละด้านดงั นี้คอื
1.ดา้ นประสทิ ธิผล
1.1 เชิงปรมิ าณ
1) ครูโรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคมร้อยละ 93.85 นำปัญหาท่ีพบในชั้นเรียนมาหาวิธีการ

แก้ไขปญั หาอยา่ งมรี ะบบผา่ นกระบวนการทำวจิ ยั ในชั้นเรียน มีการพัฒนากระบวนการจดั การเรียนรู้ของตนเอง
เพื่อให้เกดิ ประสทิ ธิภาพสูงสดุ และตอบสนองต่อความแตกตา่ งระหว่างบุคคลของผเู้ รียน มกี ารออกแบบการวัด
และประเมนิ ผลผเู้ รียนด้วยวธิ ีการท่ีหลากหลายและเหมาะสมกบั ผเู้ รยี นมากขึ้น

2) นักเรยี นโรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม ร้อยละ 100 มีคณุ ภาพตามศักยภาพ
1.2 เชิงคณุ ภาพ

1) ครูมีความรู้เข้าใจให้ความสำคัญต่อการทำวิจัยในช้ันเรียน และนำผลการทำวิจัยในช้ัน
เรียน มาปรบั ปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธภิ าพมากขน้ึ

2) นักเรยี นไดร้ ับความประสบการณ์ที่ดจี ากครูและมผี ลการเรยี นดขี น้ึ
5.2 ปัญหาและอุปสรรค

1) มผี ้เู ช่ียวชาญในการตรวจผลงานวจิ ยั ในช้ันเรยี นของครูนอ้ ย
2) ไม่สามารถดำเนินงาน การประกวดวิจยั ส่ือนวัตกรรม ในงานนิทรรศการเปิดโลกผลงาน
วิจัยและนวัตกรรมของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2562 เน่ืองจาก
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) จึงดงั กล่าวได้

5.3 แนวทางในการแกไ้ ข
1) ควรมกี ารกำหนดเวลาทแ่ี นช่ ัดในการส่งผลงาน
2) ควรมกี ารแตง่ ต้งั คณะกรรมการผเู้ ชย่ี วชาญในการตรวจผลงานวิจัยในชั้นเรยี น ในแต่ละ

กลุม่ สาระการเรยี นรกู้ ่อนสง่ มายงั กลุ่มงานพัฒนาวจิ ัย สื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา
5.4 ขอ้ เสนอสำหรับการดำเนนิ การกจิ กรรม

( ) ควรดำเนนิ การตอ่ เน่อื งจากเก่ียวข้องโดยตรงกบั การพัฒนาครู สหู่ ้องเรียน
( ) ควรดำเนนิ การต่อแต่ตอ้ งปรบั ปรุง………………………………………………
( ) ยกเลิกการดำเนนิ งานในปีตอ่ ไปเน่อื งจาก.........................................
( ) อน่ื ๆ……………………………

เอกสารอ้างองิ

ขจติ ฝอยทอง. (2544). “การวิจัยในช้นั เรียน : ทางเลือกใหมท่ ่ีนา่ สนใจ”. , วารสารวชิ าการ, 3,(11)7.
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา, สำนักงาน. (2547). วจิ ยั แผน่ เดยี ว : เสน้ ทางสู่คุณภาพการอาชีวศกึ ษา .

กรุงเทพฯ : สำนกั วิจยั และพัฒนาการอาชีวศกึ ษา.
เทคนิคนราธิวาส, วทิ ยาลยั . (2545). เอกสารประกอบการฝึกอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร “การวิจยั ในช้นั เรยี น.

วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส. (สำเนา).
รตั นา แสงบวั เผือ่ น. (2550). การวจิ ัยในช้ันเรยี น ไม่ยากอย่างทีค่ ิด . วารสารวิชาการ 10 ,(7)86-88.
ศึกษาธิการ, กระทรวง, กรมวิชาการ. (2543). การวจิ ยั ในชั้นเรยี น. กรุงเทพฯ : การศาสนา.
อนงค์พร สถิตย์ภาคีกุล. (2543). “5 คำาถามน่ารกู้ บั การวิจัยในชน้ั เรียน” .วารสารวิชาการ, 4,(7)63-64.

ภาคผนวก

• คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
• ปฏิทนิ การติดตามการพัฒนาสอ่ื วิจยั ปีการศึกษา 2562
• ทำเนียบรายงานการวจิ ัยปฏบิ ตั กิ ารในช้ันเรยี น
• รายชอื่ ครูผู้ไดร้ ับการคดั เลอื กงานวิจยั และนวัตกรรม

ประจำปี 2562

คำสั่งแตง่ ตั้งคณะกรรมการ















ปฏทิ ินการติดตามการพฒั นาส่อื วิจยั ปกี ารศกึ ษา 2562



ทำเนียบรายงานการวจิ ยั ปฏบิ ตั ิการในช้นั เรยี น

ทำเนียบรายงานการวจิ ัยปฏิบัติการในช้ันเรยี น
โรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม ปีการศึกษา 2562

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จำนวนครู จำนวนครู ร้อยละของครู
ท้งั หมด ทสี่ ่งงานวจิ ัย ท่สี ง่ งานวจิ ัย
1. ภาษาไทย
2. คณติ ศาสตร์ 10 8 80
3. วิทยาศาสตร์ 13 11 84.62
4. สงั คมฯ 13 13 100
5. ภาษาตา่ งประเทศ 13 13 100
6. ศลิ ปะ 14 14 100
7. การงานอาชีพฯ 6 6 100
8. สขุ ศึกษาฯ 10 8 80
9. กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น 6 6 100
1 1 100
รวม 86 80 93.85

หมายเหตุ * ข้อมลู ไม่รวมครูทบ่ี รรจุราชการเขา้ มาใหมข่ องกลมุ่ สาระฯภาษาไทย 1 คน, กลมุ่ สาระฯการงานอาชพี ฯ 1
คน และอตั ราจา้ งใหมข่ องกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ อีก 1 คน

จากตารางพบว่าจำนวนครูทง้ั หมด 86 คน จำนวนครูที่สง่ งานวิจยั ปฏิบตั ิการในชน้ั เรยี น
มีจำนวน 80 คน คิดเปน็ ร้อยละ 93.85

100 100 100 100 100 100
100 93.85
86
90 84.62 80 80
80
80

70

60

50

40

30

20 108 1311 1313 1313 1414 108 66
10 66
11

0

จานวนครทู ้งั หมด จานวนครูท่ีสง่ งานวจิ ยั ร้อยละของครู

v

รายช่อื ผลงานวิจัยในช้ันเรียน จดั จำแนกตามกลุม่ สาระการเรียนรปู้ ระจำปีการศึกษา 2562

ท่ี ชือ่ งานวจิ ยั ผูว้ ิจยั

กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย

1 การจัดการเรียนร้ดู ้วยบทเรียน เรอื่ งชนิดและหนา้ ทีข่ องคำ นายอดุ มชยั ไพศรี

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม โดยใช้โปรแกรม

Google Sites

2 การพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวรรณคดเี รื่องสามก๊กของนักเรียน นางสาวอมรา ขอดสนั เทยี ะ

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 โดยใช้กิจกรรมกลุ่มแบบ STAD

3 การใชแ้ บบฝึกทักษะวชิ าภาษาไทยเรอ่ื งการอ่านและการเขียนสะกดคำ นางสาวรชั นี คตกฤษณ์

เพอื่ พฒั นาความสามารถในการอา่ นและการเขียนสะกดคำของนกั เรียน

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3/7

4 การพัฒนาคณุ ภาพของนักเรียนเรื่องการเขียนจดหมาย นางสาวเกศนิ ี เทยี่ งชุดติ

ด้วยกระบวนการสอนแบบอุปนัย ของนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี

4/3-4/4

5 การพัฒนาทักษะการอ่านและการเขยี น สำหรบั นกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษา นางสาวปนัดดา หงษท์ อง

ปีท่ี 3 โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขยี น ของนางสาวปนดั ดา

หงษ์ทอง กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม

6 การพัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนเร่อื งรามเกยี รต์ิ ตอนนารายณ์ปราบ นางรังสรรค์ สมอารยี ์

นนทก ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรยี นสวุ รรณาราม

วทิ ยาคม

ท่จี ัดการเรยี นรูแ้ บบกล่มุ ร่วมมือ โดยใช้เทคนิค STAD ประกอบ

ชุดแบบฝึกทกั ษะ

7 การพฒั นาทักษะการอา่ นจบั ใจความสำคญั โดยใช้เทคนิคแผนที่ นายเชาวัฒน์ ดดี อม

ความคดิ (Mind Mapping)

8 การพัฒนาทักษะการเขยี นสะกดคำ ของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 นางสาวนนั ทิดา กรบั ทอง

โรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม

9 - นายอำพล แป้นแสง

10 - นางสาววริศรา ทดั ดอกไม้

กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

1 การศึกษาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นคณิตศาสตรข์ องนักเรียนชนั้ นางสาวศศิลัดดา มจี ังหาร

มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 เรอ่ื ง ความน่าจะเปน็ โดยการใชร้ ูปแบบ SSCS

รว่ มกับคำถามปลายเปิด

2 การศกึ ษาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 3 ของนักเรยี น นายธีระ ล้ศี ริ ิสรรพ์

ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ทไี่ ดร้ ับการจดั การเรยี นรู้โดยใช้ชุดแบบฝกึ

ทกั ษะเรือ่ งทฤษฎีบทพที าโกรสั

3 การเปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้ระหว่างสอนโดยใช้ทกั ษะ/ นายสรณ ปัทมพรหม

กระบวนการแกป้ ัญหากับการสอนปกติในวิชาคณิตศาสตร์

เรื่อง กำหนดการเชิงเส้น ของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6

ท่ี ช่อื งานวิจยั ผูว้ ิจยั

โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

4 การเปรยี บเทยี บคะแนนสอบยอ่ ยของนักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 นายอิทธิกร ภู่สาระ

ห้อง 6 ของโรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคมที่ไดจ้ ากการเรียนการสอน 2
รปู แบบ

5 การพัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นคณิตศาสตร์เรื่อง อสมการ โดย นางจิตติมา ยศเรืองสา
การจดั การเรยี นรูด้ ว้ ยเทคนคิ KWDL ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3

6 การเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาคณิตศาสตร์ดว้ ยการจัด นางสาวอรนชุ เทพอัครพงศ์

การเรียนรโู้ ดยใช้เทคนคิ KWDL เรื่อง สมการเชิงเสน้ ตัวแปรเดียว

ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 โรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม

7 การเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธกิ์ ่อนเรียนหลังเรยี น เร่ือง กราฟและ นายชวลติ สงิ ห์โต

ความสมั พนั ธ์เชิงเสน้ โดยการจัดการเรยี นการสอนแบบ บปุ เฟต่ ์ของ

นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562

8 การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นดว้ ยแบบฝึกทกั ษะ เรื่องความนา่ จะ นางสาววราภรณ์ แซต่ นั
เปน็ ของนักเรยี นระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3

9 การศึกษาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนคณิตศาสตรแ์ ละเจตคติท่ีมตี อ่ วิชา นายฑนันชัย คชเคลื่อน
คณติ ศาสตร์ เร่ือง เสน้ ขนาน โดยการเรยี นร่วมมอื เทคนิคกลุ่มแขง่ ขนั

ของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 โรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม

10 การศึกษาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนคณติ ศาสตร์ของนกั เรียนชน้ั นางสาวกมลนัทธ์ แกลว้

มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 เรื่อง แปลงทางเรขาคณิต โดยใชโ้ ปรแกรม GSP ทนงค์

11 การศกึ ษาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนคณิตศาสตร์ โดยใชเ้ ทคนคิ การเรียน นางสาวณิชากร เทพเกือ้
แบบร่วมมือ STAD เร่อื ง เลขยกกำลัง ของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี
1 นางสาวหทยั รตั น์ มะโต
นายประภัส ผลหมู่
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ นางกณกิ าร์ พฒั รากลุ
นายธงวฒุ ิ จนั ทรเ์ พชร
1 การพัฒนาวิธกี ารสอนโดยใชเ้ พลงเพือ่ ศกึ ษาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น นายศริ ิชยั พงษ์พฤษพรรณ์
วิชาวทิ ยาศาสตร์ เร่อื ง เมฆ สำหรบั นักเรียนระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 นายชเู กยี รติ นลิ โคตร
ปกี ารศึกษา 2562

2 การแกไ้ ขการไมส่ ่งงานของนกั เรียนกลมุ่ ท่ีเรียนอ่อน ระดบั มัธยมศึกษา
ปที ี่ 5 ปกี ารศึกษา 2562

3 การพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น เรื่องโครงสรา้ งภายในโลกโดยใช้
การเรยี นรู้แบบรว่ มมือด้วยเทคนิคจิก๊ ซอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปที ี่ 2

4 ผลของการใช้ผังมโนทศั นส์ รุปเน้ือหาทมี่ ีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
รายวชิ าชวี วทิ ยา 4 ของนักเรียนระดบั ชัน้ ม.5

5 การแก้ไขปญั หาคณติ ศาสตรใ์ นรายวชิ าฟิสกิ ส์โดยใชแ้ บบฝึกของ
นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4

6 การพัฒนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นโดยใช้ชดุ ฝกึ ทักษะวชิ าฟิสิกส์

ท่ี ช่ืองานวจิ ยั ผวู้ ิจยั

เร่ือง ของไหล ของนกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6

7 การศกึ ษาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนและความสามารถในการแกไ้ ขปญั หา นายทวี มว่ งมนตรี

ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3

โดยสอนแบบอิทธิบาท 4

8 การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียนโดยใช้แบบฝกึ ทกั ษะ นายสุรจกั ริ์ แก้วม่วง

เร่อื ง การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม ช้ัน ม.3/2

9 การศึกษาผลของการจัดการเรียนรแู้ บบเปดิ (Open approach) เรื่อง นายวารุต ขำเจริญ

ทรพั ยากรแร่เชื้อเพลิง ทมี่ ีผลต่อความตระหนกั ต่อส่ิงแวดลอ้ ม ของ

นักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4/1 ปกี ารศกึ ษา 2562

โรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม

10 ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้google application ร่วมกบั แบบฝกึ หดั นางสาวชุตมิ า รอดสดุ

ท่มี ีต่อผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน หน่วยท่ี 6 การถา่ ยทอดลกั ษณะทาง

พันธุกรรม รายวิชา ว 23102 วิทยาศาสตร์ 5 ของนกั เรยี นช้ัน

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3

11 การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น เร่อื ง ลม ฟา้ อากาศรอบตัว นางสมศรี คงสวุ รรณ

ของนักเรียน ม.1/4 โดยใช้ชุดกจิ กรรม

12 การพัฒนาผลสัมฤทธขิ์ องนกั เรยี นทไี่ ม่สนใจเรยี นวิทยาศาสตร์ดว้ ย นางกนกวรรณ แก้วมว่ ง

กระบวนการสบื เสาะและกระบวนการกลมุ่ ของนักเรยี น

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2

13 รายงานการศกึ ษาผลสัมฤทธ์แิ ละทักษะการคดิ วเิ คราะหข์ องนักเรียน นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรัตน์

ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ที่ได้รับการจดั การเรียนรู้ โดยใช้ชุดกิจกรรม

วิทยาศาสตร์ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสกิ าร

กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

1 การศกึ ษาผลการสอนโดยใช้กระบวนการเรยี นการสอน แบบ Story นางสาวฐมน มว่ งนาพูล

Line ท่ีมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ในรายวชิ าประวัติศาสตร์ 6 ของ

นกั เรยี น

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3

2 การศึกษาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน เรอ่ื งเศรษฐกจิ พอเพยี งโดยใช้ นางสาวณัฐรินีย์ สมนึก

วิธีการสอนแบบ 4MAT ของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 โรงเรยี น

สุวรรณารามวิทยาคม ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2562

3 ผลการจัดกจิ กรรมสง่ เสริมคุณธรรมการประหยัดและออมของนักเรยี น นางสาววานดิ า เสนห่ า

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2/7 โรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม

4 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าสงั คมศกึ ษา ของนกั เรียน นายอนศุ กั ด์ิ ตริ สถิตย์

ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยวิธีการสอบย่อยทุกสปั ดาหก์ บั วิธที ดสอบ

เมือ่ จบหน่วยการเรยี นรู้

5 การเปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าสังคมศึกษา นางสาวนนั ทวรรณ บญุ วฒั น์

สาระเศรษฐศาสตร์ เร่ือง กลไกราคา ของนักเรยี นระดับช้ัน

มัธยมศึกษา

ท่ี ช่ืองานวจิ ยั ผวู้ จิ ัย

ปีท่ี 6 ระหว่างการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะกบั รูปแบบการสอนปกติ

6 การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ าภมู ศิ าสตร์ เรื่อง กฎหมาย นางสาวภรณี สืบเครือ

และความร่วมมอื ดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม ของ

นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างการสอนโดยใชแ้ บบฝึกทักษะ

กบั การสอนปกติ

7 การพัฒนาแผนการจดั การเรยี นรู้แบบร่วมมอื สาระเศรษฐศาสตร์ นางสาววิมลมาศ ฟบู ินทร์

เรอื่ งคุ้มครองสิทธผิ บู้ ริโภคเพื่อสง่ เสริมวิถีประชาธิปไตย ของนักเรยี น

ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม

8 การปรบั พฤตกิ รรมท่ีไม่พงึ ประสงค์ของนกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2/9 นายสมานชัย ริดจนั ดี

โรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม โดยใช้วิธีเสริมแรงด้วยรางวัล

9 การปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมการเรียนให้มีวินยั และความรบั ผดิ ชอบของ นายปรชั ญานนั ท์ พนั ธเสน

นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 2/6 โรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม โดย

การเกบ็ รวบรวมข้อมลู จากการสังเกต การสมั ภาษณ์ขอ้ มลู ด้านการ

เรียน

10 การศกึ ษาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนสงั คมศึกษาและความมีวนิ ัยในตนเอง นางสาวสุภาวดี พงประสิทธิ์

ของนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ท่ีไดร้ บั การจัดการเรยี นร้แู บบ

ร่วมมือโดยใชเ้ ทคนคิ TGT

11 การปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมให้มรี ะเบยี บวนิ ัยมีความรบั ผิดชอบตอ่ การ นายอรรถกิตติ์ มเี งนิ

เรียนและสง่ งานของนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3/6

12 การพัฒนาผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนวิชาหน้าทีพ่ ลเมอื ง 2 (ส20242) นางสาวกานดา รว่ มเกตุ

เร่อื ง ความหลากหลายทางสังคมและวฒั นธรรมในภูมิภาคเอเชยี

ตะวันออกเฉียงใต้ ของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1/9 ภาคเรียนท่ี

2 ปกี ารศึกษา 2562 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม โดยใชบ้ ทเรียน
สำเรจ็ รปู

13 การพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและ นางสาวชตุ ิภา พทุ ธา

วัฒนธรรม สาระเศรษฐศาสตร์ เร่ืองการออมและการลงทนุ โดยใช้

บทเรยี นสำเร็จรูป

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

1 การแกไ้ ขการอา่ นออกเสียงคำศพั ทโ์ ดยใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะเพื่อศึกษา นายธนกฤต พิมพ์ทอง
ผลสมั ฤทธ์ิการอ่านออกเสียงคำศพั ท์ของนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่
2/6 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

2 การพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นรายวชิ าภาษาอังกฤษ 6 (อ33102) นางสาวกนกวรรณ พิมพ์ศร
เรอ่ื งการลดรปู ประโยค (Reducing Adjective Clause) โดยใช้แบบ วงษ์
ฝึกทกั ษะเรอ่ื งการลดรูปประโยค (Reducing Adjective Clause)

ของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม

3 การศึกษาและสรา้ งเจตคติทางการเรยี นในรายวชิ าภาษาองั กฤษผา่ นสอื่ นางพัทธธ์ รี า พงษส์ ัตยา

มัลตมิ เี ดียของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5/4 ปีการศกึ ษา 2562

ท่ี ช่อื งานวจิ ัย ผู้วจิ ยั

โรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม

4 การพัฒนาทกั ษะการฟงั ภาษาอังกฤษด้วยคลิปวดิ ีโอภาษาองั กฤษของ นางสาวสุอาภา กระปกุ ทอง

นกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5/5 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

5 การศึกษาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนเรื่อง Present Continuous โดยใช้ นางสาวธีรนุช วารรี ักษ์

เกมบนั ไดงู (Snake and ladder game)ของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปี

ที่ 1 โรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม

6 การพฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนโดยใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะการอา่ น นางสาวชุลีพร ร่ืนเรงิ

ภาษาองั กฤษของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรยี นสวุ รรณาราม

วทิ ยาคม

7 การพัฒนาการออกเสยี ง –ed หลังคำกริยาชอ่ งที่ 2 และ 3 โดยใช้แบบ นางสาววราลกั ษณ์ จันทร์ลอย

ฝกึ เสริมทักษะการออกเสียงของนกั เรียนระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5

8 การพฒั นาความสามารถด้านการเขยี นสะกดคำศัพทภ์ าษาอังกฤษโดย นายอรรถพล หวานทรัพย์

ใชเ้ กมคำศพั ท์สำหรบั นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2/5

9 การฝกึ ทักษะการอา่ นภาษาองั กฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านเร่ือง The นางสาวสุภาวรรณ ลนื ภูเขียว

Lottery ของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4

10 การใช้ชดุ การเรยี นรู้และชดุ แบบฝกึ ทักษะเพ่อื ส่งเสริมการเรยี นรู้ นางสาวมารษิ า ผิวคำ

ไวยากรณภ์ าษาอังกฤษของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3

11 การพฒั นาทักษะการเขยี นการเตมิ ing ในคำกริยาโดยการใช้ Present นางสาวพิมพ์พิชชา ผลทพิ ย์

Continuous tense ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1/2

12 พฒั นาทกั ษะการจำตัวอักษรคันจิโดยการใชเ้ กมเปิดแผน่ ป้ายเป็นการ นางสาววไิ ลวรรณ บุญเพมิ่

ชว่ ยจำของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 5/4

13 การใช้ตัวอกั ษรภาพภาษาจนี เพอื่ แก้ปัญหาในการจดจำความหมายของ นายเปรมณัช สถิตยม์ ่ยั วิวัฒน์

คำศัพท์จีนกลางสำหรบั นักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5/4

14 การพฒั นาความสามารถในการใช้คำศพั ทภ์ าษาญ่ีปนุ่ โดยใช้สอื่ บัตรคำ นางสาวฐิติรตั น์ ชเู กตุ

รูปภาพของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2/6

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ

1. การพัฒนาทักษะการวเิ คราะห์การใชน้ าฏญศพั ทข์ องทา่ รำในการแสดง นางสาวรงั ษยิ า ชูขนั ธ์

แมบ่ ทเล็ก

2. การแก้ปัญหาหานักเรียนในระดับช้นั ม.1 ท่ีตดิ ตามการเรยี นไมท่ ันใน นางสุภทั รา อินตะ๊ คำ

วชิ าศิลปะ 2 โดยใช้เอกสารใบงาน

3. การแกป้ ัญหาการทำความเข้าใจเพอ่ื ช่วยในการจดจำทำนองเพลง นายเอกนรินทร์ ช่ังจตั ตรุ ตั น์

ของนกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2562

ในรายวิชาศิลปะ 6 ศ 23102 (ดนตรไี ทย) เพลงลาวสมเดจ็ 2 ชั้น

4. การพัฒนาทกั ษะพนื้ ฐานการร้องเพลงชาตขิ องนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษา นายศวิ าวฒุ ิ รัตนะ

ปที ี่ 1/1 โรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม โดยใชแ้ บบฝกึ หดั โคดาย

5. ชดุ แบบฝึกการปฏบิ ัตกิ ลองชุดของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1/10 ว่าท่ีร้อยตรที วศี ักดิ์ ยิม้ แย้ม

วิชาศลิ ปกรรมศาสตร์ เอกกลอง

ท่ี ช่ืองานวจิ ัย ผู้วจิ ัย

6. วิจยั ในชน้ั เรียนเร่ืองแก้ปญั หานกั เรียนขาดอุปกรณ์สร้างงานศลิ ปะของ นางจไุ รรตั น์ เสือนุ่ม

นกั เรียนช้ัน ม.6 วิชา ศลิ ปะ6 ศ32102

กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี

1 การพฒั นาส่อื ประสม รายวิชาวิทยาการคำนวณ 1 รหสั วิชา ว30105 นางสาวขวัญหลา้ เกตุฉิม

เรอื่ ง การออกแบบขนั้ ตอนวธิ ใี นการแกป้ ัญหา ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 4

ปกี ารศึกษา 2562

2 การพฒั นาทักษะความคิดสร้างสรรคโ์ ดยใชก้ ระบวนการโครงงานเรื่อง นางสาวนงนุช ภญิ โญทรพั ย์

การทำเค้กกล้วยหอมกับกล้วยนำ้ ว้า

3 - นางสาวสุภาพร บญุ ศิริ

4 - นางสาวพรศรี เจรญิ วยั

5 สำรวจทัศนคติของนกั เรยี นระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 ท่มี ีตอ่ ครูผูส้ อน นางสาวจุรยี พ์ ร ด้วงชอุม่

วชิ าการงานอาชีพ ง31102 กรณศี ึกษาเฉพาะในโรงเรยี นสวุ รรณาราม

วิทยาคม

6 การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เร่ือง การเขยี นรหัสจำลองและผงั งาน นางสาวรศั มี กลุ สุวรรณ

(สัญลกั ษณ์ Flow Chart) สำหรับนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1

โรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม

7 การพฒั นาสื่อการสอนออนไลน์ วิชาวทิ ยาการคำนวณเร่อื ง การใช้ นางสาวกาญจนา คงทน

เทคโนโลยอี ยา่ งมีความรับผดิ ชอบสำหรบั นกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2

โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

8 การเปรยี บเทียบผลการสง่ งานของนักเรยี นระดับมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 นางสาวรุ่งทวิ า วงค์ษา

โดยใชส้ มุดแบบฝกึ หัดกบั ใบงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 6

โรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม กรุงเทพมหานคร

9 การเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน จากการใช้รูปแบบการเรียน นายอรรถพล ภทู อง

สอนตามแนวคดิ การพัฒนาทกั ษะปฏิบัตขิ องซมิ พ์ซัน กับ รูปแบบการ

เรียนการสอนทกั ษะปฏบิ ตั ิของเดวสี ์ โดยใช้ส่ือบทเรยี นออนไลน์ เร่ือง

โครงงานกบั การแก้ปญั หา ของนกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรียน

สวุ รรณารามวิทยาคม กรงุ เทพมหานคร

10 การพฒั นาบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน เรื่อง ความรพู้ ื้นฐานของ นายสมชาย กราบทอง

โปรแกรม Microsoft Word 2010 สำหรบั นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี

ที่ 1 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา

1 การศึกษาพฤตกิ รรมของนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2/4 นางกิตญิ า เนดิ นอ้ ย

2 เจตคติทมี่ ตี อ่ วินยั ในตนเองด้านวินยั ในหอ้ งเรยี น ความขยันอดทน

ทางการเรยี นและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิท์ างการเรยี นวชิ าสุขศกึ ษา 6 ของ นางสาวบุปผา กาลพัฒน์

นักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

3 การพัฒนาวดี ีทศั นเ์ ร่อื งกติกาบาสเกตบอลของนักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปี นางสาวชลสิ า ชำนาญวารี

ท3ี่ โรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม

ท่ี ชอ่ื งานวจิ ัย ผู้วิจัย

4 การพฒั นาแบบฝึกความคล่องแคลว่ ว่องไวที่มีผลตอ่ ทกั ษารอันเดอร์ลกู นางสาวกลั ยา ทองโชติ

วอลเลย์บอลของนักเรียนนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2/2 โรงเรียน

สวุ รรณารามวิทยาคม

5 การทดสอบและศกึ ษาสมรรถภาพทางกายของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษา นายนนั ทกรณ์ หนดู ี

ปีที่ 5/1 โรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม

6 การพฒั นาชดุ กิจกรรมการฝกึ ทกั ษะพ้ืนฐานกฬี าแฮนดบ์ อลโดยใช้ นายวันเฉลิม เนตรธานนท์

รปู แบบการเรียนการสอนทกั ษะปฏิบตั ิเดวีส์ สำหรับนกั เรยี น

มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1/9 โรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม

กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น

1 การปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรมการเรยี นให้มวี ินยั และความรบั ผดิ ชอบ ของ นางสาวหทยั รัตน์ ทบั เปรม

นกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่3/1

รายช่อื ครผู ้ไู ด้รบั การคัดเลอื กงานวจิ ยั และนวตั กรรม ประจำปี 2562

รายช่ือครูผไู้ ดร้ บั การคัดเลือก งานวิจัยและนวัตกรรม ประจำปี 2562

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ท่ี ช่ือ - นามสกุล รางวลั

1 นางสาวนันทิดา กรับทอง รางวัลชนะเลศิ

2 นางสาวปนัดดา หงษท์ อง รางวลั รองชนะเลิศ อนั ดับ 1

3 นายเชาวว์ ฒั น์ ดดี อม รางวลั รองชนะเลิศ อันดับ 2

กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์

ที่ ชือ่ - นามสกลุ รางวัล
รางวัลชนะเลิศ
1 นายฑนันชยั คชเคลอื่ น รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับ 1
รางวลั รองชนะเลิศ อันดบั 2
2 นางสาวกมลนัทธ์ แกลว้ ทนงค์

3 นางจิตตมิ า ยศเรอื งสา

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ รางวลั
ท่ี ชอ่ื - นามสกุล รางวัลชนะเลศิ
1 นายวารตุ ขำเจริญ รางวัลรองชนะเลิศ อันดบั 1
2 นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรัตน์ รางวัลรองชนะเลิศ อนั ดับ 2
3 นายธงวุฒิ จนั ทร์เพชร

กล่มุ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ที่ ชอื่ - นามสกลุ รางวัล

1 นางสาวนนั ทวรรณ บญุ วัฒน์ รางวลั ชนะเลิศ

2 นางสาวภรณี สบื เครอื รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ 1

3 นางสาววมิ ลมาศ ฟบู นิ ทร์ รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ 2

กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา รางวลั
ที่ ชอ่ื - นามสกุล รางวัลชนะเลิศ
1 นางสาวชลสิ า ชำนาญวารี รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับ 1
2 นายวนั เฉลมิ เนตรธานนท์ รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั 2
3 นายนนั ทกรณ์ หนูดี

กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ ชง่ั จัตตรุ ตั น์ รางวัล
ที่ ช่ือ - นามสกุล รัตนะ รางวลั ชนะเลิศ
1 นายเอกนรินทร์ ชขู ันธ์ รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ 1
2 นายศวิ าวุฒิ รางวัลรองชนะเลศิ อันดบั 2
3 นางสาวรังษิยา

กล่มุ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี

ท่ี ช่อื - นามสกลุ รางวัล

1 นางสาวรัศมี กุลสวุ รรณ รางวลั ชนะเลศิ

2 นางสาวนงนุช ภญิ โญทรพั ย์ รางวัลรองชนะเลศิ อันดบั 1

3 นางสาวกาญจนา คงทน รางวลั รองชนะเลิศ อันดบั 2

กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ

ที่ ชอื่ - นามสกลุ รางวัล
รางวลั ชนะเลศิ
1 นายธนกฤต พมิ พท์ อง รางวัลรองชนะเลิศ อนั ดับ 1
รางวัลรองชนะเลิศ อนั ดบั 2
2 นางสาววราลกั ษณ์ จันทร์ลอย

3 นางสาวกนกวรรณ พิมพ์ศรวงษ์


Click to View FlipBook Version