The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้เคมี6_65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2022-10-29 05:59:45

แผนการจัดการเรียนรู้เคมี6_65

แผนการจัดการเรียนรู้เคมี6_65



คำนำ

แผนการจัดการเรียนร้เู ล่มนี้ จัดทำขนึ้ เพ่ือใช้เปน็ แนวทางในการจัดการเรยี นการสอนรายวชิ ารายวิชา
เพิ่มเติม ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 รหัสวิชา ว30226 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565ที่เน้นนักเรียนเป็นสำคัญ มี
การจัดกิจกรรมและการวัดผลประเมินผลท่ีหลากหลายสอดคล้องกับสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ จำนวน 4 หน่วย คือ หน่วยที่ 1 การใช้ความรู้
ทางเคมใี นการแกป้ ัญหา หน่วยท่ี 2 การบูรณาการความรู้ในการแกป้ ัญหา หน่วยท่ี 3 การนำเสนอผลงาน และ
หนว่ ยที่ 4 การเขา้ รว่ มประชมุ วิชาการ

แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งเป็นรายบุคคลและ
รายกลุ่ม เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งเสริมให้
นักเรียนเช่ือมโยงความรู้ท้ังในและต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ในเชิงบูรณาการด้วยวิธีการที่หลากหลาย สร้าง
สถานการณ์การเรียนรู้ท้ังในและนอกห้องเรียน โดยครูมีบทบาทหน้าที่ในการเอ้ืออำนวยความสะดวกให้แก่
นักเรียน เพ่ือให้นักเรียนมีคุณภาพตามสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัด รวมทั้งพัฒนานักเรียนให้มี
สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่หลักสูตรกำหนด เพ่ือให้นักเรียนสามารถดำรงชีวิตอยู่
ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมไทยและสังคมโลกได้อย่างมีความสุขการปฏิบัติงานมุ่งผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนได้อย่างเป็น
ระบบ ส่งผลให้ผูเ้ รยี นมีคณุ ภาพ และสถานศึกษามคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาอยา่ งแทจ้ ริง

หวังเปน็ อย่างยง่ิ ว่าแผนการจัดการเรยี นรู้ เล่มน้ีจะเป็นประโยชนต์ ่อการนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในการจัดการ
เรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพแวดล้อมของนกั เรียนต่อไป

......................................................
(นางสาวอโนชา อทุ ุมสกลุ รัตน์)

สารบญั ค

คำนำ หน้า

สารบัญ ข
1-6
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 การใช้ความรทู้ างเคมีในการแกป้ ญั หา 1
7 - 19
 แผนการเรยี นรู้ที่1 การใชค้ วามรู้ทางเคมีในการแก้ปัญหา 7
14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การบรู ณาการความรใู้ นการแกป้ ัญหา 20- 25
20
 แผนการเรียนรทู้ ่ี2 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม 26- 31
26
 แผนการเรยี นรทู้ ่ี3 การบรู ณาการความรู้ในการแก้ปญั หา 32 - 41

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 3 การนำเสนอผลงาน

 แผนการเรยี นรู้ที่4 การนำเสนอผลงาน

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 การเขา้ ร่วมประชมุ วชิ าการ

 แผนการเรยี นรู้ท่ี5 การเขา้ ร่วมประชมุ วชิ าการ

เครอ่ื งมือวัดและประเมินผล

1

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่.1.การใชค้ วามรู้ทางเคมีในการแกป้ ญั หา...เรอ่ื ง..…..การใช้ความรูท้ างเคมใี นการแกป้ ัญหา….
รายวิชา……..............เคมี…6........ ............รหสั วชิ า…..............ว 30226......................ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี....6.....
กลมุ่ สาระการเรียนรู้..วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปกี ารศึกษา… 2565...ภาคเรยี นท.่ี .2...เวลา...10..ช่ัวโมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพ้นื ฐานมที ้ังมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ช้วี ัด

รายวิชาเพ่มิ เติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละผลการเรยี นร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้

สาระเคมี 3 : เขา้ ใจหลักการทำปฏบิ ตั กิ ารเคมี การวัดปริมาณสาร หนว่ ยวดั และการเปล่ียนหนว่ ย

การคำนวณปริมาณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมท้ังการบรู ณาการ ความรู้และทักษะในการ

อธบิ ายปรากฏการณ์ในชวี ิตประจำวันและการแกป้ ัญหา ทางเคมี

1.2 ผลการเรยี นรู้

1. กำหนดปัญหา และนำเสนอแนวทางการแกป้ ญั หาโดยใช้ความรูท้ างเคมจี ากสถานการณ์ท่ีเกิดขน้ึ ใน

ชีวิตประจำวัน การประกอบอาชีพ หรอื อุตสาหกรรม

2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด (หลอมจากผลการเรียนรู้ทีใ่ ชใ้ นหนว่ ยการเรยี นรูน้ ้ีเขียนเปน็ แบบความ

เรยี ง)

ความรเู้ กย่ี วกับเน้ือหาวิชาเคมี สามารถนำมาประยุกตใ์ ช้ในการแก้ปญั หาจากสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนใน

ชีวิตประจำวันการประกอบอาชพี หรืออตุ สาหกรรม โดยใชค้ วามรู้ทางเคมแี ละวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ได้

3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/สาระการเรียนร้เู พมิ่ เติม (รายวิชาเพิ่มเติม)

สถานการณ์บางสถานการณ์ในชวี ิตประจำวันการประกอบอาชีพ หรืออตุ สาหกรรม สามารถนำความรู้

ทางเคมีไปใช้ประโยชน์หรอื แก้ปญั หาได้

3.2 สาระการเรยี นรู้ท้องถนิ่ (ถา้ ในคำอธบิ ายรายวิชาพดู ถงึ หลักสตู รท้องถิน่ ให้ใสล่ งไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. ระบปุ ญั หาท่เี กี่ยวข้องกับความรู้ทางเคมีจากสถานการณท์ ก่ี ำหนด (K)

2. ออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาโดยใชค้ วามรู้ทางเคมแี ละวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ (P)

3. ตัง้ ใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ (A)

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน (เลือกเฉพาะข้อท่เี กดิ ในหน่วยการเรียนรูน้ ี)้

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา  4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (เลือกเฉพาะข้อท่ีเกิดในหนว่ ยการเรียนรู้น้ี)

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  2. ซ่อื สัตยส์ ุจรติ

 3. มวี นิ ัย  4. ใฝ่เรียนรู้
 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง  6. มงุ่ มั่นในการทำงาน
 7. รักความเปน็ ไทย  8. มจี ติ สาธารณะ

2

7. ดา้ นคุณลกั ษณะของผเู้ รียนตามหลักสตู รมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. สือ่ สารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคิด

 4. ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์  5. ร่วมกนั รับผดิ ชอบต่อสังคมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได)้  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )
 ทกั ษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะดา้ นความเขา้ ใจความต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะดา้ นความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะด้านการส่ือสาร สารสนเทศและรู้เทา่ ทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชีพ และทกั ษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
 ความมีเมตตา (วนิ ยั คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกล่มุ ใหเ้ หมาะสมกบั จำนวนสมาชิกในห้องเรียนคอื

ประมาณกลุม่ ละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมีเหตุผล : ให้นักเรียนสรา้ งสรรคผ์ ลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ , เลอื กใชส้ ารเคมไี ดอ้ ยา่ ง

คมุ้ ค่า

3. หลักภมู ิคุม้ กนั : ใหน้ ักเรยี นเกิดทักษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก

4. เงอื่ นไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วคอ่ ยลงมือทำอยา่ งระมดั ระวงั , เขยี นสมการการ

เปลี่ยนแปลงจากการทดลอง

5. เงอ่ื นไขคุณธรรม : อดทนท่ีจะทำงาน และมคี วามขยนั ที่จะทำงานให้ออกมาได้ดที ีส่ ุด , มีวนิ ยั ในการ

ทำการทดลอง

10. ช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการเรยี นรู้ ชิน้ งาน ภาระงาน

1 - รายงานผลการทดลอง เรื่อง การ - การอภิ ปรายผลการทด ลองการ

แก้ปัญหาด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ แกป้ ัญหาด้วยวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์โดย

โดยใชค้ วามรทู้ างเคมี ใชค้ วามรู้ทางเคมี

11. การวดั ประเมนิ ผล

11.1การวัดและประเมนิ ผลช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ ีการ

1.การสงั เกตการณ์

2.การใช้ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตรร์ ่องรอยบ่งช้ี 3.การวดั ประเมนิ การปฏบิ ตั ิ

เครื่องมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมนิ การปฏบิ ัติ

3

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตัง้ แต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผา่ น 1

รายการถือว่า ไมผ่ า่ น

11.2 การวดั และประเมินผลระหว่างการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรียนรขู้ อง

หนว่ ยการเรียนร้นู )ี้

สิง่ ที่ต้องการวดั วิธีวดั ผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมนิ

1. ความรเู้ ก่ยี วกับ -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมินการ - นกั เรียนได้คะแนน

- วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ความคดิ เหน็ อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขนึ้ ไป

-การตอบคำถาม คิดเหน็ หรอื ร้อยละ 80

-การตรวจผลงาน ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

นักเรียน - แบบประเมินการ - นกั เรยี นได้คะแนน

ตรวจผลงานนกั เรียน ประเมินผลงาน

13 คะแนนข้ึนไป

หรอื รอ้ ยละ 80

ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

2.ทกั ษะกระบวนการคิด และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมินการ -นักเรยี นได้คะแนน

ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ความคิดเห็น อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขึ้นไป

คดิ เหน็ หรือรอ้ ยละ 80 ถอื ว่า

- สังเกตพฤติกรรมการ - แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์

ทำงานกลุม่ พฤติกรรมการ

ทำงานกลมุ่

3. คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ - สังเกตคา่ นิยมในการ - แบบประเมนิ - นกั เรียนได้คะแนน

และสมรรถนะผเู้ รยี น ทำงานรว่ มกับผู้อ่ืน คณุ ลักษณะอนั พึง ประเมนิ คุณลกั ษณะ

- มวี นิ ยั ในการทำงานกลุม่ และการทำงานใน ประสงค์ อันพงึ ประสงค์

- นักเรียนเหน็ ความสำคัญ ระบบกลมุ่ - แบบประเมิน 26 คะแนนขึ้นไป

ของการทำงานร่วมกับผ้อู น่ื และ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผู้เรียน หรอื รอ้ ยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คิดเหน็ เกยี่ วกบั ผลการ -แบบทดสอบ ถือว่าผ่านเกณฑ์

- ยอมรับความคดิ เห็นซึ่งกนั ทดลอง Rubin’s Self - นกั เรยี นได้คะแนน

และกนั มีความเสียสละและ Esteem Scale การประเมนิ สมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนข้ึนไป

- นักเรยี นมีการเหน็ คุณค่าใน หรือรอ้ ยละ 80

ตนเอง (Self-esteem) ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

12. กจิ กรรมการเรยี นรู้

ช่ัวโมงที่ 1-3

1. ข้นั ตง้ั ประเดน็ ปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครแู สดงรูปสิ่งตา่ ง ๆ ที่อยรู่ อบตัว เช่น อาหาร ยานพาหนะ ยา อปุ กรณ์ไฟฟา้ และชี้ใหเ้ หน็ ว่า

การคิดค้น ประดิษฐ์ หรอื ปรับปรุงสิ่งต่าง ๆ เหล่าน้นั เกยี่ วข้องกบั การใช้ความรู้ในวิชาเคมีท้ังสน้ิ

4

1.2 ครใู หน้ ักเรยี นพิจารณารปู “ตำราฝนหลวงพระราชทาน” แลว้ ใช้คำถามนำวา่ การทำฝน
หลวงใช้ความร้วู ชิ าเคมีเร่อื งใด เพอื่ นำเขา้ ส่กู ารอธบิ ายการทำฝนหลวง

1.3 นักเรียนศึกษาขั้นตอนการทำฝนหลวง ตามรายละเอยี ดในชุดกจิ กรรม จากน้ันร่วมกันอภิ
ปรายโดยเน้นประเดน็ การใช้ความรทู้ างเคมที ่ีเกี่ยวข้องในขัน้ กอ่ กวนขัน้ เล้ยี งให้อว้ น และข้ันโจมตี ตามลำดบั

ชัว่ โมงที่ 4-8
2. ขน้ั สืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)

2.1 แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4- 5 คน แต่ละกลุ่มมีนักเรียนเก่ง ปานกลาง อ่อน คละกัน
ให้นักเรียนทบทวนความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนในวิธีการทางวิทยาศาสตร์ตามรายละเอียดในชุดกิจกรรมโดยใช้ส่ือ
เพาว์เวอร์พอยด์ท่ีครูสร้างข้ึน ประกอบการอธิบาย โดยเน้นการอธิบายเก่ียวกับการตั้งสมมติฐาน รวมท้ัง
ทบทวนความหมายของตวั แปรต้น ตวั แปรตาม และตัวแปรที่ต้องควบคมุ ใหค้ งท่ี

2.2 ครูใหค้ วามรู้ว่า การระบุปญั หาหรือกำหนดโจทยว์ ิจยั ของนกั วทิ ยาศาสตร์ต้องอาศยั ข้อมลู
จากการสังเกต จากน้นั ยกตวั อยา่ งการระบุปัญหาจากกรณกี ารทำฝนหลวงซึง่ เป็นปัญหาที่มีตัวแปร
ที่เก่ียวข้องหลายตัวแปร แล้วอธิบายให้เห็นความสำคัญของการต้ังคำถามและสมมติฐานย่อยเพ่ือนำไปสู่การ
กำหนดตัวแปรในการทดลอง โดยให้นักเรียนพิจารณาข้อมูลในตารางที่ 1 ตัวอย่างคำถามและสมมติฐานจาก
กรณีการทำฝนหลวง

2.3 ครชู ี้ใหเ้ หน็ วา่ ตัวอยา่ งคำถามในตาราง 1 เป็นคำถามทีเ่ ก่ียวข้องกบั ตัวแปรตน้ ซ่ึงมีผลตอ่ ตวั
แปรตามรว่ มกันคอื การรวมตัวของเมฆท่ีเกดิ เป็นฝนได้ และคำถามเหล่านี้ช่วยกำหนดขอบเขตของการทดลอง
ท่ีจะใชต้ อบคำถามหรือพิสูจน์สมมตฐิ านไดช้ ัดเจนขึ้น

2.4 ครูให้นกั เรียนพิจารณาสถานการณ์ตัวอยา่ งซึ่งเป็นปัญหาเกยี่ วกบั กลิ่นฉุนแอมโมเนยี ของ
ปาท่องโก๋ จากน้ันใหน้ กั เรียนศึกษาตวั อยา่ งการระบุปัญหา การต้งั คำถามและสมมติฐาน รวมท้งั การ
ออกแบบการทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน ตามรายละเอยี ดในชดุ กิจกรรม และใหน้ ักเรยี นตอบคำถาม
ตรวจสอบความเข้าใจ

2.5 ครูและนักเรียนรว่ มกันอภิปรายเกีย่ วกับแนวทางการแก้ปัญหากล่ินและความกรอบของ
ปาทอ่ งโก๋ เพอ่ื ใหไ้ ด้ขอ้ สรุปตามรายละเอยี ดในชุดกจิ กรรม

ชวั่ โมงท่ี 9-13
3. ขนั้ สรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation)

3.1 นกั เรียนและครูร่วมกันอภปิ รายและสรุปผลการทดลองโดยใช้ชดุ กิจกรรมประกอบ
3.2 ครูใหน้ ักเรยี นทำกิจกรรมท่ี 1 การแกป้ ญั หาดว้ ยวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์โดยใชค้ วามรู้ทางเคมี
โดยรว่ มกบั สมาชิกในกลุ่มตามข้นั ตอนดงั นี้

1) ระบปุ ัญหาจากสถานการณ์ท่ีกำหนดให้
2) ตั้งคำถาม สมมตฐิ าน และระบุตัวแปรจากสถานการณท์ ี่กำหนดใหโ้ ดยใช้ความรทู้ างเคมี
3) ออกแบบวธิ กี ารตรวจสอบสมมตฐิ าน
4) นำเสนอแนวทางการแกป้ ัญหา
3.3 ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกนั อภิปราย ตรวจความถูกต้อง ตอบคำถามข้อสงสยั ตา่ ง ๆ
3.4 ให้นกั เรียนช่วยกันเฉลยคำตอบพรอ้ มทง้ั ให้เหตุผล
ช่ัวโมงท่ี 14-15
4. ขั้นการสอ่ื สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 ครูใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ทำกิจกรรม ปฏิบตั กิ าร คิดดี ผลงานดี มคี วามสุข อ่านข่าวท่ี
กำหนดให้และเติมข้อความลงในช่องวา่ งให้ถูกต้องและสมบูรณ์ ตามรายละเอยี ดในชดุ กจิ กรรม

5

5. ข้นั การบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 ตัวแทนนกั เรียนแต่ละกลุม่ ออกมาแสดงถงึ จดุ เด่น จุดด้อยของกลุม่ ตวั เองเมื่อไดท้ ำกิจกรรม

มาจนครบ

5.2 รว่ มกันคดั เลอื กผลงานท่ีดที ี่สุดในช้นั เรียน

13. สอื่ การเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้

13.1สอ่ื การเรียนรู้

- ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ โยนโิ สมนสิการ เร่อื ง การใชค้ วามรู้ทางเคมีในการแก้ปญั หา

- สอื่ ppt

13.2แหลง่ เรียนรู้

1) อินเตอร์เนต็ 2) ห้องสมดุ

14. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหา ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคดิ อย่างมี ......................................................................................

วจิ ารณญาณ ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยม ......................................................................................

อนั พึงประสงค์ : ......................................................................................

- มวี นิ ัย ......................................................................................

- ใฝเ่ รยี นรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ......................................................................................

- รกั ความเป็นไทย ......................................................................................

4. ปญั หาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

6

5. วิธีแก้ปัญหา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

ลงช่ือ........................................ครผู ้สู อน ลงชื่อ...........................................หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รัตน.์ .) (นางกณกิ าร์ พฒั รากลุ )

ลงชอื่ ...........................................
(นางวนั วิศาข์ ผลหมู่)

รองผู้อำนวยการกลมุ่ บริหารวิชาการ

ลงชอื่ ........................................................
(นายสรุ ยิ นั ต์ เหลา่ มะลกึ )

ผู้อำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม

\

7

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2

หนว่ ยการเรียนรู้ท.่ี 2.การบรู ณาการความรู้ในการแกป้ ญั หา...เรอ่ื ง..…..กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม….
รายวิชา……..............เคมี…6........ ............รหัสวิชา…..............ว 30226......................ช้ันมัธยมศึกษาปีที่....6.....
กลุ่มสาระการเรยี นรู้..วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี . ปกี ารศึกษา… 2565...ภาคเรียนท่.ี .2...เวลา...15...ชั่วโมง…
ผ้สู อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าพื้นฐานมีท้งั มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชีว้ ดั
รายวชิ าเพิม่ เติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละผลการเรยี นร้)ู

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
สาระเคมี 3 : เข้าใจหลักการทำปฏบิ ตั กิ ารเคมี การวดั ปรมิ าณสาร หนว่ ยวดั และการเปล่ียนหน่วย

การคำนวณปริมาณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมท้ังการบรู ณาการ ความร้แู ละทักษะในการ
อธิบายปรากฏการณใ์ นชีวิตประจำวนั และการแกป้ ัญหา ทางเคมี

1.2 ผลการเรยี นรู้
ข้อท่ี 2 แสดงหลกั ฐานถึงการบูรณาการความรูท้ างเคมรี ว่ มกบั สาขาวิชาอื่น รวมทั้งทกั ษะกระบวนการ

ทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม โดยเนน้ การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาและความคิด
สร้างสรรค์ เพอ่ื แก้ปญั หาในสถานการณ์หรือประเดน็ ท่ีสนใจ
2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากผลการเรียนรู้ท่ใี ช้ในหนว่ ยการเรียนร้นู ี้เขยี นเป็นแบบความ
เรยี ง)

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เป็นขั้นตอนที่นำมาใช้ในดำเนินการเพ่ือแก้ปัญหาหรือสนอง
ความต้องการ ซงึ่ กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมน้ีจะเริ่มจากการระบุปัญหาที่พบแล้วกำหนดเปน็ ปัญหาท่ี
ต้องการแก้ไข จากน้ันจึงทำการค้นหาแนวคิดที่เกี่ยวข้องและทำการวิเคราะห์เพ่ือเลือกวิธีการที่เหมาะสม
สำหรับการแก้ไข เม่ือได้วิธีการท่ีเหมาะสมแล้วจึงทำการวางแผนและพัฒนาส่ิงของเครื่องใช้หรือวิธีการ เมื่อ
สร้างชิ้นงานหรือวิธีการเรียบร้อยแล้วจึงนำไปทดสอบ หากมีข้อบกพร่องก็ให้ทำการปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้
ส่ิงของเครื่องใช้หรือวิธีการน้ันสามารถใช้แก้ไขปัญหาหรือสนองความต้องการได้ ส่วนในตอนสุ ดท้ายจะ
ดำเนนิ การประเมนิ ผลว่าสิ่งของเคร่อื งใช้หรือวธิ ีการน้นั จะสามารถใช้แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการไดต้ ามท่ี
กำหนดไวห้ รอื ไม่ ดังน้ัน กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมจึงประกอบด้วย 6 ขัน้ ตอน ดังน้ี

ข้ันท่ี 1 ระบปุ ัญหา (Problem Identification)
ข้นั ที่ 2 รวบรวมข้อมูลและแนวคดิ ที่เกีย่ วขอ้ งกับปญั หา (Related Information Search)
ขน้ั ท่ี 3 ออกแบบวธิ ีการแกป้ ญั หา (Solution Design)
ขัน้ ท่ี 4 วางแผนและดำเนินการแกป้ ญั หา (Planning and Development)
ขน้ั ท่ี 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรบั ปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือช้ินงาน (Testing, Evaluation
and Design Improvement)
ขั้นท่ี 6 นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแกป้ ัญหาหรอื ชน้ิ งาน (Presentation)
3. สาระการเรยี นรู้
3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/สาระการเรยี นร้เู พิม่ เติม (รายวชิ าเพิม่ เติม)
• การศึกษาและการแก้ปัญหาในสถานการณห์ รอื ประเด็นท่ีสนใจทำไดโ้ ดยการบูรณาการความรู้ทางเคมี
รว่ มกบั วิทยาศาสตรแ์ ขนงอื่น รวมทั้งคณิตศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรห์ รอื
กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม โดยเน้นการคิดวเิ คราะห์แกป้ ัญหาและความคิดสรา้ งสรรค์

8

3.2 สาระการเรียนรทู้ ้องถิน่ (ถ้าในคำอธิบายรายวชิ าพดู ถงึ หลักสูตรท้องถ่นิ ใหใ้ สล่ งไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธบิ ายวิธีการทางวทิ ยาศาสตรห์ รอื กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม (K)

2. ออกแบบแนวทางการแก้ปญั หาโดยใช้การบูรณาการความรู้ทางเคมีรว่ มกับศาสตร์อ่ืน แกป้ ัญหา

สถานการณห์ รือประเดน็ ท่สี นใจ (P)

3. ต้งั ใจเรียนรูแ้ ละแสวงหาความรู้ (A)

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เลอื กเฉพาะข้อท่เี กิดในหน่วยการเรียนร้นู ้ี)

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (เลอื กเฉพาะข้อทเี่ กิดในหน่วยการเรียนรู้นี้)

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  2. ซื่อสัตยส์ ุจริต

 3. มวี นิ ยั  4. ใฝเ่ รียนรู้
 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง  6. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน
 7. รักความเปน็ ไทย  8. มจี ิตสาธารณะ
7. ดา้ นคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลกั สตู รมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวิชาการ  2. สือ่ สารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคดิ

 4. ผลติ งานอยา่ งสร้างสรรค์  5. รว่ มกันรับผิดชอบตอ่ สังคมโลก
8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คอื การเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเป็น)
 ทกั ษะด้านการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและทกั ษะในการแกไ้ ขปญั หา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะด้านความเขา้ ใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรูเ้ ท่าทนั สื่อ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)
ความมเี มตตา (วนิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลมุ่ ให้เหมาะสมกบั จำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตผุ ล : ใหน้ ักเรยี นสรา้ งสรรคผ์ ลงานและเกิดทักษะการปฏิบตั ิ , เลอื กใช้สารเคมไี ด้อย่าง

คมุ้ ค่า

3. หลกั ภมู ิคมุ้ กนั : ใหน้ ักเรียนเกดิ ทักษะการทำงานกลุม่ และกล้าแสดงออก

9

4. เง่อื นไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วค่อยลงมือทำอย่างระมัดระวัง , เขยี นสมการการ

เปล่ยี นแปลงจากการทดลอง

5. เงอื่ นไขคณุ ธรรม : อดทนทจ่ี ะทำงาน และมีความขยนั ทจ่ี ะทำงานให้ออกมาไดด้ ีที่สดุ , มีวนิ ัยในการ

ทำการทดลอง

10. ช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการเรยี นรู้ ช้นิ งาน ภาระงาน

2 - รายงานผลการทดลอง เร่ือง สายไฟ - การอภิปรายผลการทดลอง

แปง้ โดว์

11. การวัดประเมินผล

11.1การวัดและประเมนิ ผลช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ ีการ

1.การสงั เกตการณ์

2.การใช้ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตรร์ ่องรอยบ่งช้ี 3.การวัดประเมนิ การปฏิบตั ิ

เคร่ืองมือ

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมนิ การปฏบิ ตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถอื ว่า ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือว่า ไมผ่ ่าน

11.2 การวดั และประเมินผลระหว่างการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรยี นรู้ของ

หนว่ ยการเรียนรนู้ ้)ี

สิ่งทต่ี ้องการวดั วธิ วี ัดผล เคร่ืองมือวัดผล เกณฑ์การประเมนิ

1. ความรูเ้ ก่ยี วกับ -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมินการ - นักเรยี นได้คะแนน

- กระบวนการออกแบบเชงิ ความคิดเห็น อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขึ้นไป

วิศวกรรม -การตอบคำถาม คดิ เห็น หรือรอ้ ยละ 80

-การอภิปรายและ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

รายงานผลการทำ - แบบประเมินการ - นักเรยี นได้คะแนน

กจิ กรรม ตรวจผลงานนักเรยี น ประเมนิ ผลงาน

-การตรวจผลงาน 13 คะแนนขนึ้ ไป

นักเรยี น หรอื ร้อยละ 80

ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

2.ทักษะกระบวนการคิดอย่างมี - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมินการ -นกั เรียนได้คะแนน

วิจารณญาณ ทักษะการแก้ปัญ ความคดิ เห็น อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขน้ึ ไป

หา และทักษะกระบวนการ - สังเกตพฤติกรรมการ คิดเหน็ หรือร้อยละ 80 ถอื ว่า

กล่มุ ทำงานกลุ่ม - แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์

พฤติกรรมการ

ทำงานกลมุ่

10

3. คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน - นักเรยี นไดค้ ะแนน

และสมรรถนะผเู้ รียน ทำงานรว่ มกบั ผู้อื่น คณุ ลักษณะอันพึง ประเมินคุณลกั ษณะ

- มวี ินยั ในการทำงานกล่มุ และการทำงานใน ประสงค์ อนั พงึ ประสงค์

- นกั เรยี นเห็นความสำคญั ระบบกลุ่ม - แบบประเมิน 26 คะแนนขึ้นไป

ของการทำงานร่วมกับผู้อื่นและ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผเู้ รยี น หรอื ร้อยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คดิ เห็นเกย่ี วกับผลการ -แบบทดสอบ ถือว่าผา่ นเกณฑ์

- ยอมรับความคิดเหน็ ซ่ึงกนั ทดลอง Rubin’s Self - นักเรยี นได้คะแนน

และกนั มีความเสียสละและ Esteem Scale การประเมนิ สมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนขนึ้ ไป

- นักเรียนมีการเหน็ คณุ ค่าใน หรือร้อยละ 80

ตนเอง (Self-esteem) ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

12. กจิ กรรมการเรยี นรู้

ช่ัวโมงท่ี 1-6

1. ข้ันตงั้ ประเดน็ ปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครใู หค้ วามรูว้ า่ ในการแก้ปญั หานอกจากจะใชว้ ธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์แล้ว ยังสามารถ

ใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมได้อีกดว้ ย จากนน้ั ใช้คำถามนำว่า กระบวนการออกแบบเชงิ

วิศวกรรมมขี ้ันตอนแตกตา่ งจากวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์หรือไม่ เพ่ือนำเข้าสู่กจิ กรรม “สายไฟแปง้ โดว์”

2. ข้ันสบื ค้นความรู้ (Searching for Information)

2.1 แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4- 5 คน แต่ละกลุ่มมีนักเรียนเก่ง ปานกลาง อ่อน คละกัน

ให้นักเรียนทำกิจกรรม สายไฟแป้งโดว์ ตามรายละเอียดในชดุ กิจกรรม

2.2 ครูอธิบายเงื่อนไขเกี่ยวกับความสว่างของหลอด LED ว่า ควรเห็นจุดสว่างทั้งด้านบนและ

ด้านล่าง เม่ือมองจากด้านข้างของหลอด LED ดังรูป 1 แต่หากมีจดุ สว่างเฉพาะด้านล่างเม่ือสงั เกตจากด้านข้าง

ของหลอด LED ดังรูป 2 ถือว่ายังไม่สว่าง

2.3 ครูชใี้ ห้เห็นว่า เน่ืองจากหลอด LED แต่ละชนิด และแป้งโดว์แตล่ ะสูตร อาจใหผ้ ลการทดลอง
ที่ควรทำการทดสอบก่อน เพื่อให้มั่นใจว่า หลอด LED สว่างเมื่อต่อด้วยสายไฟที่ต่อกับคลิปปากจระเข้แต่ไม่
สวา่ งเม่ือตอ่ ด้วยแปง้ โดว์

แตกตา่ งกนั นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มไมส่ ามารถขอแปง้ โดว์และสารเคมีทัง้ หมดเพ่มิ ได้
3. ขนั้ สรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)
3.1 นักเรยี นและครรู ว่ มกนั อภปิ รายและสรปุ ผลการทดลองโดยใช้ชุดกจิ กรรมประกอบ
3.2 ครคู รูชใ้ี ห้เหน็ ว่า การตอ่ วงจรไฟฟา้ ในกิจกรรม เปน็ แบบอนกุ รม จากนน้ั ใหค้ รสู าธิตการใช้

แปง้ โดว์ทีน่ ำไฟฟ้ามาต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน ดังรูป แล้วใหน้ ักเรยี นเปรยี บเทียบความสวา่ งของหลอด LED

11

3.3 ใหน้ ักเรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกันอภิปราย ตรวจความถูกต้อง ตอบคำถามข้อสงสยั ต่าง ๆ
3.4 ใหน้ กั เรียนช่วยกนั เฉลยคำตอบพร้อมทง้ั ให้เหตผุ ล
3.5 ครูและนักเรยี นร่วมกนั อภิปรายผลทเี่ กิดขึน้ เพ่ือให้ได้ข้อสรปุ ว่า การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน
และอนุกรมมีผลต่อความสว่างของหลอด LED โดยหากต่อหลอด LED แบบขนานจะทำให้มีความสว่าง
มากกว่าการต่อแบบอนุกรม เน่ืองจากการต่อแบบขนานจะทำให้หลอด LED ท้ังสองหลอดมีความต่างศักย์
เท่ากับความต่างศักย์ของแหล่งกำเนิดไฟฟ้า ส่วนการต่อแบบอนุกรม ความต่างศักย์ของแหล่งกำเนิดไฟฟ้าจะ
ถูกแบง่ ออกใหแ้ ต่ละหลอด ทำให้มคี วามสว่างน้อยลง ตามรายละเอยี ดในชดุ กิจกรรม
3.6 ครชู ้ีให้เห็นว่า การบรู ณาความรูจ้ ากหลาย ๆ ศาสตร์ จะช่วยใหแ้ ก้ปญั หาได้อย่างมีประสิทธิ
ภาพมากขนึ้ เช่น ในกิจกรรม หากใชค้ วามรู้เร่ือง การต่อวงจรไฟฟ้าร่วมกบั ความรู้เร่ืองสารละลายอิเล็กโทรไลต์
จะชว่ ยให้สามารถสรา้ งสายไฟจากแป้งโดวโ์ ดยใชส้ ารเคมีนอ้ ยลงได้
ช่ัวโมงที่ 7-15
4. ขน้ั การส่อื สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 วิธีการทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมมีส่วนของวัตถุประสงค์และ
ข้ันตอนท่เี หมอื นและต่างกนั อย่างไร
4. ครเู ชื่อมโยงข้นั ตอนที่ไดด้ ำเนนิ การในกิจกรรมกบั การอธบิ ายรายละเอยี ดแต่ละขนั้ ตอนของ
กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมตามรายละเอียดในชุดกิจกรรม โดยใช้รปู ประกอบการอธบิ ายดงั นี้

5. ข้นั การบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 ครูกำหนดสถานการณ์ “แก้ปัญหามลพิษทางอากาศ ลดการใช้น้ำมนั ” ให้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่ม

แกป้ ญั หาดังกลา่ วโดยใช้กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม ออกมามานำเสนอแสดงถึงจุดเด่น จุดด้อยของ
กลุ่มตวั เองเม่ือไดท้ ำกิจกรรมมาจนครบกระบวนการ

5.2 รว่ มกนั คัดเลือกผลงานท่ีดที ่ีสุดในช้นั เรยี น
13. สอื่ การเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้

13.1ส่อื การเรียนรู้

12

- ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนิโสมนสิการ เรื่อง การบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหา

- ส่ือ ppt

13.2แหลง่ เรียนรู้

1) อนิ เตอร์เนต็ 2) หอ้ งสมุด

14. บนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................

- กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคิดแกป้ ญั หา ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรมและค่านยิ ม ......................................................................................

อนั พึงประสงค์ : ......................................................................................

- มวี ินัย - การเกิด self esteem ......................................................................................

- ใฝเ่ รียนรู้ ......................................................................................

- อย่อู ย่างพอเพียง ......................................................................................
- รกั ความเปน็ ไทย
......................................................................................

4. ปัญหาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................

5. วิธีแก้ปัญหา

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

13

ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์..) (นางกณิการ์ พัฒรากลุ )

ลงช่อื ...........................................
(นางวันวิศาข์ ผลหม่)ู

รองผู้อำนวยการกลุม่ บรหิ ารวิชาการ

ลงชอ่ื ........................................................
(นายสรุ ิยันต์ เหล่ามะลึก)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม

14

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3

หน่วยการเรียนรทู้ ี่.2.การบรู ณาการความรู้ในการแก้ปญั หา...เรอื่ ง..…..การบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหา….
รายวชิ า……..............เคมี…6........ ............รหสั วิชา…..............ว 30226......................ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที.่ ...6.....
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้..วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปกี ารศึกษา… 2565...ภาคเรยี นท่.ี .2...เวลา...15...ช่ัวโมง…
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกุลรัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพ้นื ฐานมีท้งั มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชว้ี ดั

รายวิชาเพ่ิมเติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรยี นร้)ู

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้

สาระเคมี 3 : เขา้ ใจหลักการทำปฏิบัตกิ ารเคมี การวดั ปริมาณสาร หน่วยวัดและการเปลย่ี นหน่วย

การคำนวณปริมาณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมท้งั การบรู ณาการ ความรแู้ ละทกั ษะในการ

อธิบายปรากฏการณ์ในชีวติ ประจำวันและการแก้ปัญหา ทางเคมี

1.2 ผลการเรียนรู้

ขอ้ ที่ 2 แสดงหลักฐานถงึ การบูรณาการความร้ทู างเคมรี ว่ มกับสาขาวิชาอ่ืน รวมทัง้ ทักษะกระบวนการ

ทางวทิ ยาศาสตรห์ รือกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม โดยเนน้ การคิดวิเคราะห์ การแก้ปญั หาและความคิด

สร้างสรรค์ เพือ่ แก้ปญั หาในสถานการณ์หรือประเด็นท่สี นใจ

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากผลการเรียนรู้ทใ่ี ช้ในหนว่ ยการเรยี นรนู้ ้ีเขยี นเป็นแบบความ

เรยี ง)

สิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันนั้นจะเป็นสิ่งที่เกี่ยวเน่ืองสัมพันธ์กันกับศาสตร์ในสาขาต่างๆ

ผสมผสานกัน ทักษะจากหลายๆ ศาสตรม์ าแก้ปัญหาไดก้ บั ชวี ิตจรงิ

3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรู้เพม่ิ เติม (รายวิชาเพม่ิ เติม)

• การศึกษาและการแก้ปัญหาในสถานการณ์หรอื ประเดน็ ท่ีสนใจทำไดโ้ ดยการบรู ณาการความรู้ทางเคมี

รว่ มกบั วิทยาศาสตร์แขนงอ่ืน รวมท้งั คณิตศาสตร์เทคโนโลยแี ละทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือ

กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม โดยเนน้ การคิดวิเคราะหแ์ กป้ ัญหาและความคดิ สรา้ งสรรค์

3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถา้ ในคำอธิบายรายวชิ าพดู ถึงหลักสตู รทอ้ งถน่ิ ใหใ้ ส่ลงไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. อธิบายความรู้เก่ยี วกบั กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม (K)

2. เลอื กสถานการณป์ ญั หาหรือประเด็นที่สนใจและออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาโดยการบูรณาการ

ความรทู้ างเคมกี ับความรูใ้ นศาสตร์อื่น (P)

3. เหน็ คณุ คา่ ทางวิทยาศาสตร์ ตง้ั ใจเรียนรแู้ ละแสวงหาความรู้ (A)

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เลือกเฉพาะข้อทเ่ี กดิ ในหน่วยการเรยี นรู้น้ี)

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

6. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (เลอื กเฉพาะข้อท่เี กิดในหน่วยการเรียนรู้น้ี)

15

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซ่ือสตั ยส์ ุจรติ

 3. มวี นิ ัย  4. ใฝ่เรยี นรู้
 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง  6. มงุ่ มั่นในการทำงาน
 7. รกั ความเปน็ ไทย  8. มจี ติ สาธารณะ
7. ดา้ นคณุ ลักษณะของผู้เรยี นตามหลกั สตู รมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวชิ าการ  2. สอ่ื สารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคดิ

 4. ผลติ งานอยา่ งสร้างสรรค์  5. รว่ มกนั รับผดิ ชอบต่อสังคมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คอื การเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )
 ทักษะด้านการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)

 ทกั ษะดา้ นความเขา้ ใจความต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะดา้ นความรว่ มมือ การทำงานเป็นทมี และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทกั ษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทนั ส่ือ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT iteracy)
 ทกั ษะอาชีพ และทกั ษะการเรียนรู้ (Career and Learning)

9. บรู ณคากวาามรตมาเี มมตหตลาัก(ปวรนิ ัชยั ญคาุณขธอรงรเมศรจษรฐิยกธิจรรพมอเ(พCoียmง passion)

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกล่มุ ให้เหมาะสมกบั จำนวนสมาชิกในหอ้ งเรียนคอื

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมเี หตผุ ล : ใหน้ กั เรยี นสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏบิ ตั ิ , เลือกใชส้ ารเคมไี ดอ้ ยา่ ง

คุม้ คา่

3. หลักภูมคิ มุ้ กนั : ให้นักเรยี นเกิดทักษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก

4. เง่อื นไขความรู้ : การวางแผนงานท่ีจะทำก่อนแลว้ ค่อยลงมือทำอย่างระมดั ระวงั , เขียนสมการการ

เปล่ยี นแปลงจากการทดลอง

5. เงอื่ นไขคณุ ธรรม : อดทนทจี่ ะทำงาน และมคี วามขยนั ทจี่ ะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ีที่สดุ , มีวินัยในการ

ทำการทดลอง

10. ชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการเรยี นรู้ ชิน้ งาน ภาระงาน

2 -รายงานกิจกรรม การแก้ปัญหาโดย - การอภิปรายผลการแก้ปญั หา

การบรู ณาการความรู้

11. การวดั ประเมนิ ผล 3.การวดั ประเมนิ การปฏบิ ตั ิ
11.1การวดั และประเมนิ ผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด
วธิ กี าร
1.การสังเกตการณ์
2.การใชช้ ดุ กิจกรรมวิทยาศาสตรร์ ่องรอยบ่งชี้

16

เคร่ืองมือ

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมนิ การปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านต้ังแต่ 2 รายการ ถอื ว่า ผา่ น ผ่าน 1

รายการถือวา่ ไมผ่ ่าน

11.2 การวดั และประเมนิ ผลระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรยี นรขู้ อง

หนว่ ยการเรียนรู้น้)ี

สงิ่ ทีต่ ้องการวัด วธิ ีวดั ผล เครอื่ งมอื วัดผล เกณฑ์การประเมนิ

1. ความรู้เก่ยี วกับ -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมินการ - นกั เรียนได้คะแนน

- กระบวนการออกแบบเชิง ความคดิ เห็น อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขนึ้ ไป

วิศวกรรม -การตอบคำถาม คิดเห็น หรอื รอ้ ยละ 80

-การอภิปรายและ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

รายงานผลการทำ - แบบประเมนิ การ - นกั เรียนไดค้ ะแนน

กจิ กรรม ตรวจผลงานนกั เรยี น ประเมินผลงาน

-การตรวจผลงาน 13 คะแนนขน้ึ ไป

นักเรียน หรอื ร้อยละ 80

ถือว่าผา่ นเกณฑ์

2.ทักษะกระบวนการคิดอย่างมี - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ -นักเรียนไดค้ ะแนน

วิจารณญาณ ทกั ษะการแกป้ ัญ ความคิดเห็น อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนข้นึ ไป

หา และทักษะกระบวนการ - สังเกตพฤติกรรมการ คิดเหน็ หรอื ร้อยละ 80 ถอื วา่

กลมุ่ ทำงานกลุ่ม - แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์

พฤติกรรมการ

ทำงานกลุม่

3. คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ - สังเกตคา่ นิยมในการ - แบบประเมนิ - นกั เรยี นได้คะแนน

และสมรรถนะผ้เู รยี น ทำงานร่วมกับผู้อื่น คณุ ลักษณะอนั พงึ ประเมินคุณลักษณะ

- มีวนิ ัยในการทำงานกลุม่ และการทำงานใน ประสงค์ อนั พงึ ประสงค์

- นกั เรียนเหน็ ความสำคญั ระบบกล่มุ - แบบประเมนิ 26 คะแนนขนึ้ ไป

ของการทำงานร่วมกับผอู้ น่ื และ อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผูเ้ รียน หรือร้อยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คิดเห็นเกย่ี วกบั ผลการ -แบบทดสอบ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

- ยอมรับความคิดเห็นซ่ึงกนั ทดลอง Rubin’s Self - นักเรยี นได้คะแนน

และกนั มีความเสียสละและ Esteem Scale การประเมินสมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนขึ้นไป

- นกั เรยี นมีการเหน็ คณุ ค่าใน หรอื รอ้ ยละ 80

ตนเอง (Self-esteem) ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรยี นรู้

ช่ัวโมงที่ 1

1. ขนั้ ตั้งประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)

17

1.1 ครูมอบหมายให้นักเรียนสำรวจปัญหาท่ีเกิดข้ึนใน โรงเรียน ท้องถ่ิน จังหวัด ประเทศ หรือ
ระดบั โลกและ สืบค้นข้อมูลประกอบ จากนั้นเลือกสถานการณป์ ญั หา โดยหากเน้นวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ควร
มีการตั้งคำถาม แตห่ ากเนน้ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมควรระบปุ ญั หาและเง่ือนไขใหช้ ัดเจน

ชั่วโมงที่ 2-4
2. ขั้นสืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)

2.1 ครูให้นักเรียนนำเสนอสถานการณ์ปัญหาที่นักเรียนสนใจจะแก้ไข พร้อมข้อมูลสนับสนุน
เพ่อื ให้เห็นความสำคัญของปัญหา

2.2 นำเสนอคำถามหรือปัญหาและ เงื่อนไข ครูควรวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของการตอบคำถาม
หรือแกป้ ัญหานน้ั

2.3 ครูมอบหมายให้นักเรียน สืบค้นข้อมูลที่เก่ียวข้องโดยครูอาจแนะนำแหล่งสืบค้น ข้อมูล
เพิม่ เตมิ

ชว่ั โมงที่ 5-7
3. ขนั้ สรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

3.1 ครใู หน้ กั เรยี นแต่ละกลุม่ นำข้อมลู ท่ีได้จากการสืบค้นมาอภิปรายรว่ มกนั ภายในกลมุ่
3.2 โดยครูใหค้ ำแนะนำในกลมุ่ ท่ีมีขอ้ สงสัยหรอื ต้องการความช่วยเหลือ
ชวั่ โมงท่ี 8-15
4. ขนั้ การส่ือสารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 ครใู ห้นักเรยี นกำหนดวัตถปุ ระสงค์ ขอบเขตของงานและ ออกแบบวธิ ีดำเนินการหลังจากที่ได้
ข้อมูลเพยี งพอแล้ว

- หากเนน้ วธิ กี ารทางวิทยาศาตร์หลังจากต้งั คำถาม และสืบคน้ ข้อมูลแล้ว ให้นักเรยี นต้งั
สมมติฐาน กำหนดตวั แปร และออกแบบวธิ กี ารตรวจสอบสมมติฐาน

- หากเนน้ กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมหลังระบุ ปัญหาและสืบค้นข้อมูลแล้ว ให้
นกั เรยี นออกแบบ วธิ ีการแก้ปัญหา

4.2 ครูใหน้ ักเรยี นนำเสนอแนวทางการแก้ปญั หาท่ีได้ ออกแบบไว้
- หากเน้นวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ ครูวิเคราะหว์ ่าสมมตฐิ าน และตัวแปรตา่ ง ๆ ทีน่ ักเรียน

กำหนดขึ้นมีความสอดคลอ้ งกับคำถามหรือไม่ วิธีการตรวจสอบสมมตฐิ านสอดคลอ้ งกบั สมมติฐานและเป็น
แนวทางนำไปสู่การตอบคำถามได้หรือไม่ โดยครูอาจให้ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติมในการปรับปรงุ แกไ้ ข

- หากเนน้ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ครวู ิเคราะห์วา่ วิธกี ารแก้ปญั หาทน่ี กั เรียน
ออกแบบไว้ สอดคลอ้ งกับปัญหาและนำไปสู่แนวทางการแก้ปัญหาได้หรือไม่ โดยครูอาจใหข้ อ้ เสนอแนะ
เพิ่มเตมิ ในการปรบั ปรุงแก้ไข

4.3 ครูให้นักเรยี นดำเนนิ การแกป้ ัญหาตามที่ไดอ้ อกแบบ วิธีการไว้ โดยครูอำนวยความสะดวก
เกย่ี วกับอปุ กรณ์ สารเคมี และสถานท่สี ำหรับทำปฏิบตั ิการ และคอยให้ คำแนะนำปรึกษา รวมท้ังกระตุน้ ให้
นักเรียนใช้ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรร์ ะหวา่ งดำเนนิ การแกป้ ัญหา

5. ขนั้ การบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 ครูใหน้ ักเรยี นนำผลการดำเนินการมาปรึกษาหารอื เพอื่ ให้คำแนะนำเก่ียวกบั การสรปุ ผลการ

ดำเนนิ การ
5.2 รว่ มกนั คดั เลือกผลงานที่ดที ่ีสดุ ในช้ันเรียน

13. สอ่ื การเรียนรู้/แหล่งเรยี นรู้

18

13.1 ส่ือการเรียนรู้

- ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนิโสมนสิการ เร่อื ง การบูรณาการความรู้ในการแก้ปญั หา

- สือ่ ppt

13.2 แหล่งเรียนรู้

1) อินเตอร์เนต็ 2) ห้องสมดุ

14. บนั ทกึ หลังการจัดการเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- การบรู ณาการความรใู้ นการแกป้ ญั หา ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคิดแก้ปญั หา ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการกล่มุ ......................................................................................

......................................................................................

.................................................................................. ....

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ด้านคณุ ธรรมจริยธรรมและค่านิยม ......................................................................................

อนั พึงประสงค์ : ......................................................................................

- มวี ินัย - การเกิด self esteem ......................................................................................

- ใฝเ่ รียนรู้ ......................................................................................

- อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง ......................................................................................
- รกั ความเปน็ ไทย
......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

.....................................................................................

4. ปญั หาการสอน

....................................................................... .....................................................................................

....................................................................... .....................................................................................

....................................................................... .....................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

19

....................................................................... ......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

5. วธิ ีแกป้ ญั หา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

ลงชอ่ื ........................................ครผู สู้ อน ลงชอื่ ...........................................หัวหนา้ กล่มุ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รัตน์..) (นางกณกิ าร์ พฒั รากุล)

ลงช่อื ...........................................
(นางวนั วิศาข์ ผลหมู่)

รองผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

ลงช่อื ........................................................
(นายสุริยันต์ เหลา่ มะลึก)

ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม

20

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 4

หน่วยการเรียนร้ทู ี่.3……………..การนำเสนอผลงาน……..……....เรื่อง………..……..การนำเสนอผลงาน…….…….…..
รายวชิ า……..............เคมี…6........ ............รหัสวิชา…..............ว 30226......................ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่....6.....
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้..วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปกี ารศึกษา… 2565...ภาคเรยี นที่..2...เวลา...12...ชั่วโมง…
ผูส้ อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกุลรตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ดั /ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพน้ื ฐานมที ั้งมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชวี้ ดั
รายวชิ าเพ่ิมเตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรยี นรู้และผลการเรียนรู้)

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
สาระเคมี 3 : เขา้ ใจหลักการทำปฏบิ ัตกิ ารเคมี การวดั ปรมิ าณสาร หนว่ ยวัดและการเปล่ียนหน่วย

การคำนวณปริมาณของสาร ความเข้มขน้ ของสารละลาย รวมทงั้ การบูรณาการ ความรู้และทักษะในการ
อธบิ ายปรากฏการณใ์ นชวี ติ ประจำวนั และการแก้ปัญหา ทางเคมี

1.2 ผลการเรียนรู้
ข้อท่ี 3 นำเสนอผลงานหรอื ช้ินงานที่ไดจ้ ากการแก้ปญั หาในสถานการณ์หรือประเดน็ ท่ีสนใจโดยใช้

เทคโนโลยสี ารสนเทศ

2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากผลการเรียนรู้ทีใ่ ชใ้ นหน่วยการเรยี นรนู้ ี้เขยี นเปน็ แบบความ

เรียง)

การนำเสนอผลงานเป็นการส่ือสารเพื่อสรุปให้บคุ คลอ่ืนได้รับทราบถึงผลการดำเนินการที่ ผู้นำเสนอ

ได้ศึกษามาการนำเสนอสาระสำคัญของผลงานควรทำให้อยู่ในรูปแบบท่ีเข้าใจง่ายและเป็นส่ือประกอบอย่าง

เหมาะสมและมีคุณภาพโดยท่ัวไปการนำเสนอผลงานทางวิทยาศาสตร์อาจอยู่ในรูปของรายงานการบรรยาย

บทความหรือการแสดงช้ินงานซึ่งการเข้าใจหลักการในการเตรียมนำเสนอในแต่ละรูปแบบเป็นการส่ งเสริมให้

การนำเสนอนนั้ มีประสิทธิภาพมากข้นึ

3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/สาระการเรยี นรเู้ พ่ิมเติม (รายวิชาเพ่ิมเติม)

• การนำเสนองานหรือแสดงผลงาน เป็นการเปดิ โอกาสให้ผู้มสี ่วนรว่ มไดแ้ ลกเปลยี่ นแนวคดิ ผลงาน รวมท้งั

เพม่ิ โอกาสในการพัฒนางานโดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเป็นเคร่อื งมือประกอบการนำเสนอ ซงึ่ จะทำใหก้ าร

ส่ือสารมปี ระสิทธิภาพมากขึ้น

3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน (ถ้าในคำอธบิ ายรายวิชาพูดถงึ หลักสูตรทอ้ งถน่ิ ให้ใส่ลงไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายจัดทำรายงานการแก้ปญั หาโดยการบูรณาการความรู้ (K)

2. นำเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ (P)

3. เห็นคณุ คา่ ทางวทิ ยาศาสตร์ ต้ังใจเรยี นรแู้ ละแสวงหาความรู้ (A)

5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน (เลอื กเฉพาะข้อทเี่ กดิ ในหนว่ ยการเรียนรู้น)้ี

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

21

6. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (เลือกเฉพาะข้อทีเ่ กิดในหนว่ ยการเรยี นรู้น้ี)

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซอื่ สัตยส์ ุจรติ

 3. มีวินยั  4. ใฝเ่ รียนรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มงุ่ มั่นในการทำงาน
 7. รักความเปน็ ไทย  8. มีจิตสาธารณะ
7. ด้านคุณลักษณะของผเู้ รยี นตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. สื่อสารสองภาษา  3. ลำ้ หนา้ ทางความคดิ

 4. ผลิตงานอย่างสรา้ งสรรค์  5. ร่วมกนั รับผิดชอบต่อสังคมโลก
8. ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )
 ทักษะด้านการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณและทกั ษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทักษะด้านการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะดา้ นความเข้าใจความต่างวฒั นธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะดา้ นความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะดา้ นการสอ่ื สาร สารสนเทศและรูเ้ ท่าทันส่ือ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
ความมเี มตตา (วินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลมุ่ ใหเ้ หมาะสมกบั จำนวนสมาชิกในหอ้ งเรียนคือ

ประมาณกลุม่ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมเี หตผุ ล : ให้นกั เรยี นสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบตั ิ , เลือกใชส้ ารเคมไี ดอ้ ยา่ ง

คุม้ คา่

3. หลกั ภูมคิ ุม้ กนั : ให้นกั เรยี นเกดิ ทักษะการทำงานกลุ่ม และกลา้ แสดงออก

4. เงอ่ื นไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วคอ่ ยลงมือทำอยา่ งระมดั ระวงั , เขยี นสมการการ

เปล่ียนแปลงจากการทดลอง

5. เงอ่ื นไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมคี วามขยนั ท่ีจะทำงานใหอ้ อกมาได้ดีทสี่ ดุ , มีวินยั ในการ

ทำการทดลอง

10. ชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการเรียนรู้ ชิน้ งาน ภาระงาน

3 -ก า ร น ำ เส น อ รู ป แ บ บ ก า ร เขี ย น - การอภิปรายความรู้เกี่ยวกับรูปแบบ

บรรณานุกรม และวธิ ีการนำเสนอผลงาน

-รายงานการสืบค้นข้อมูลวิธีการเขียน

อ้างอิงแบบแทรกในเนือ้ หารายงาน

11. การวดั ประเมินผล

11.1การวดั และประเมนิ ผลชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด

22

วิธีการ

1.การสงั เกตการณ์

2.การใช้ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์รอ่ งรอยบ่งช้ี 3.การวัดประเมนิ การปฏบิ ตั ิ

เครอ่ื งมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมนิ การปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นตั้งแต่ 2 รายการ ถอื ว่า ผา่ น ผา่ น 1

รายการถือว่า ไม่ผ่าน

11.2 การวดั และประเมนิ ผลระหวา่ งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรยี นรู้ของ

หน่วยการเรยี นรู้น้ี)

สิ่งที่ต้องการวัด วธิ วี ดั ผล เครือ่ งมือวัดผล เกณฑก์ ารประเมนิ

1. ความรู้เกี่ยวกับ -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมนิ การ - นักเรียนไดค้ ะแนน

- รปู แบบและวิธกี ารนำเสนอ ความคิดเหน็ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขึ้นไป

ผลงาน -การตอบคำถาม คดิ เห็น หรอื ร้อยละ 80

-การอภิปรายและ ถือว่าผา่ นเกณฑ์

รายงานผลการทำ - แบบประเมินการ - นกั เรียนไดค้ ะแนน

กิจกรรม ตรวจผลงานนกั เรียน ประเมนิ ผลงาน

-การตรวจผลงาน 13 คะแนนขน้ึ ไป

นกั เรียน หรือร้อยละ 80

ถือว่าผ่านเกณฑ์

2.ทกั ษะกระบวนการ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมนิ การ -นกั เรยี นได้คะแนน

- ทักษะการจัดกระทำและส่ือ ความคิดเหน็ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขนึ้ ไป

ความหมายข้อมูล - สังเกตพฤติกรรมการ คิดเหน็ หรือร้อยละ 80 ถอื ว่า

- ทักษะการสร้างสรรค์และ ทำงานกลมุ่ - แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์

นวตั กรรม พฤติกรรมการ

ทำงานกลมุ่

3. คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ - สงั เกตคา่ นิยมในการ - แบบประเมิน - นกั เรยี นได้คะแนน

และสมรรถนะผ้เู รยี น ทำงานร่วมกบั ผู้อืน่ คุณลักษณะอันพงึ ประเมินคุณลกั ษณะ

- มีวนิ ัยในการทำงานกลมุ่ และการทำงานใน ประสงค์ อันพึงประสงค์

- นกั เรยี นเห็นความสำคัญ ระบบกลุ่ม - แบบประเมิน 26 คะแนนขน้ึ ไป

ของการทำงานร่วมกับผู้อื่นและ อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผเู้ รยี น หรือร้อยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คดิ เหน็ เกยี่ วกบั ผลการ -แบบทดสอบ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

- ยอมรบั ความคดิ เหน็ ซ่ึงกนั ทดลอง Rubin’s Self - นักเรยี นได้คะแนน

และกนั มีความเสยี สละและ Esteem Scale การประเมนิ สมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนข้ึนไป

- นักเรียนมีการเห็นคณุ คา่ ใน หรอื ร้อยละ 80

ตนเอง (Self-esteem) ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

23

12. กจิ กรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงท่ี 1
1. ข้ันต้งั ประเดน็ ปญั หา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครใู ห้นกั เรียนยกตวั อยา่ งรูปแบบการนำเสนอหรือการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการแลว้ ร่วมกัน

อภิปรายเพ่ือให้ไดข้ ้อสรุปว่า รูปแบบการนำเสนอหรอื เผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการท่ีนยิ มคือ รายงาน โปสเตอร์
และการบรรยาย เพอื่ นำเขา้ สู่การอธบิ ายรายละเอียดในแต่ละรปู แบบ

1.2 ครอู ธบิ ายองค์ประกอบและการเขยี นรายงาน ตามรายละเอียดในหนงั สือเรยี น โดยอาจ
อธบิ ายเพม่ิ เตมิ ในบางประเด็น ดังน้ี

- ในสว่ นนำ ใช้รูปประกอบการอธบิ ายเกยี่ วกบั บทคัดย่อ และช้แี จงเพิ่มเติมว่าบทคัดย่อสว่ น
ใหญ่มีความยาวประมาณ 1 หน้า

- ในสว่ นเน้อื หา จำนวนบทในรายงานอาจมีมากกว่าหรอื น้อยกวา่ 5 บท กไ็ ด้ ขนึ้ อยู่กบั
รายละเอยี ดของเน้ือหา เช่น อาจรวมทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องไวใ้ นบทนำเปน็ 1 บท ได้ ในสว่ นของผล
การดำเนนิ การและการอภปิ รายข้อมลู ถ้ามขี ้อมลู จากการดำเนนิ การท่มี ีประเด็นแตกตา่ งกันอาจเขียนแยกบท
ได้

ช่ัวโมงที่ 2-9
2. ขัน้ สืบค้นความรู้ (Searching for Information)

2.1 ครใู ห้นกั เรียนทำกิจกรรม “สืบคน้ ขอ้ มลู รูปแบบการเขียนบรรณานกุ รม”
2.2 ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมเสนอแนะเรื่องเร่ือง “สืบค้นข้อมูลวิธีการเขียนอ้างอิงแบบแทรกใน
เนือ้ หา” เพื่อใหน้ กั เรยี นไดศ้ กึ ษารูปแบบการอ้างองิ แบบแทรกในเน้ือหา
2.3 ครูอธิบายการนำเสนอโปสเตอร์ ท้ังในส่วนของการจัดทำและการพูดนำเสนอโปสเตอร์ตาม
รายละเอียดในหนังสอื เรียน โดยครูอาจอธิบายเพ่ิมเติมเก่ียวกับรปู แบบโปสเตอรท์ ่นี ิยมใช้ในการนำเสนอในงาน
ประชุมวชิ าการ
2.4 ครใู หน้ กั เรียนทำกจิ กรรม การจัดทำและนำเสนอข้อมูลในโปสเตอร์
ชวั่ โมงที่ 10-12
3. ขน้ั สรปุ องคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ครูและนกั เรียนร่วมกันอภปิ รายเก่ยี วกับการนำเสนอดว้ ยการบรรยายทั้งในสว่ นของการ
จัดเตรียมเน้อื หาและส่ือประกอบ รวมทั้งการพดู นำเสนอ เพื่อให้ได้ข้อสรุปตามรายละเอียดในชุดกจิ กรรมโดย
ในส่วนของการเตรียมสไลด์ ครอู าจใช้รูปประกอบเพื่อใหน้ ักเรียนพจิ ารณาตัวอย่างสไลด์ที่เหมาะสม
และไมเ่ หมาะสม
3.2 ครใู ห้นักเรียนทำกจิ กรรม การนำเสนอผลงานจากกิจกรรม “การแกป้ ัญหาโดยการบรู ณาการ
ความรู้”
4. ขน้ั การสอ่ื สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 ครแู จ้งข้อกำหนดเกยี่ วกับขนาดและรปู แบบของ โปสเตอร์ และระยะเวลาในการบรรยาย
แลว้ ใหน้ ักเรยี น จดั ทำโปสเตอร์หรือสไลดป์ ระกอบการบรรยายเพอ่ื ใช้ ในการนำเสนอผลงาน
5. ข้นั การบริการสงั คมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 ครูใหน้ ักเรียนนำเสนอผลงาน และแลกเปล่ยี นความรู้
5.2 รว่ มกนั คัดเลอื กผลงานทีด่ ีท่ีสุดในชน้ั เรียน
13. สือ่ การเรียนรู้/แหลง่ เรยี นรู้
13.1สอ่ื การเรยี นรู้

24

- ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ โยนโิ สมนสิการ เรือ่ ง การนำเสนอผลงาน

- สอื่ ppt

13.2 แหล่งเรียนรู้

1) อนิ เตอรเ์ นต็ 2) หอ้ งสมุด

14. บันทึกหลังการจดั การเรยี นรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- การนำเสนอผลงาน ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................

- ทักษะการจัดกระทำและส่ือความหมาย ......................................................................................

ขอ้ มลู ......................................................................................

- ทกั ษะการสรา้ งสรรค์และนวตั กรรม ......................................................................................

- ทักษะการส่ือสารสารสนเทศและการรูเ้ ทา่ ......................................................................................

ทันสอื่ ......................................................................................

......................................................................................

.....................................................................................

......................................................................................

3. ดา้ นคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม ......................................................................................

อันพึงประสงค์ : ......................................................................................

- มวี นิ ยั ......................................................................................

- ใฝเ่ รียนรู้ ......................................................................................

- อยอู่ ย่างพอเพยี ง ......................................................................................
- รกั ความเป็นไทย
- การเกดิ self esteem ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

.....................................................................................

4. ปัญหาการสอน

....................................................................... .....................................................................................

....................................................................... .....................................................................................

....................................................................... .....................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

25

....................................................................... ......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

5. วธิ ีแกป้ ัญหา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

ลงช่อื ........................................ครผู สู้ อน ลงช่อื ...........................................หวั หน้ากลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน.์ .) (นางกณกิ าร์ พฒั รากลุ )

ลงชือ่ ...........................................
(นางวันวศิ าข์ ผลหมู่)

รองผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

ลงช่อื ........................................................
(นายสุรยิ นั ต์ เหล่ามะลกึ )

ผู้อำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม

26

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 5

หนว่ ยการเรียนรู้ที่.4………..การเขา้ รว่ มประชุมวิชาการ……....เร่ือง……….การเขา้ ร่วมประชุมวิชาการ.…….…..
รายวิชา……..............เคมี…6........ ............รหัสวชิ า…..............ว 30226......................ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่.ี ...6.....
กลุ่มสาระการเรยี นรู้..วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปกี ารศึกษา… 2565...ภาคเรยี นท.่ี .2...เวลา...3...ชวั่ โมง…
ผูส้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพื้นฐานมีทั้งมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชว้ี ดั
รายวิชาเพิม่ เติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนร้แู ละผลการเรียนรู)้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
สาระเคมี 3 : เข้าใจหลกั การทำปฏิบตั กิ ารเคมี การวดั ปริมาณสาร หนว่ ยวัดและการเปลยี่ นหนว่ ย

การคำนวณปริมาณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมท้ังการบรู ณาการ ความรแู้ ละทักษะในการ
อธิบายปรากฏการณ์ในชวี ิตประจำวนั และการแกป้ ัญหา ทางเคมี

1.2 ผลการเรียนรู้
ขอ้ ที่ 4 แสดงหลักฐานการเข้ารว่ มการสัมมนา การเข้าร่วมประชมุ วิชาการ หรือการแสดงผลงาน

สิ่งประดษิ ฐ์ในงานนทิ รรศการ

2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด (หลอมจากผลการเรียนรู้ท่ีใชใ้ นหน่วยการเรยี นรู้น้ีเขียนเปน็ แบบความ

เรียง)

การสัมมนาการประชุมวิชาการหรืองานนิทรรศการเป็นเวทีที่เปิดโอกาส ให้นักเรียนได้เผยแพร่

ความรูห้ รอื นำผลงานที่ได้ทำมาซ่ึงจะทำให้นักเรียนไดร้ ับคำแนะนำ

3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรยี นร้แู กนกลาง/สาระการเรียนรู้เพิม่ เติม (รายวิชาเพ่ิมเติม)

• การสัมมนา การประชมุ วชิ าการ หรอื การร่วมแสดงผลงาน ส่งิ ประดิษฐ์ในงานนิทรรศการเป็นการเปดิ

โอกาสใหผ้ มู้ ีส่วนรว่ มไดแ้ ลกเปลยี่ นความคิด แสดงทศั นคติตอ่ กรณีศึกษา สถานการณ์หรือประเดน็ สำคัญทาง

เคมซี งึ่ ชว่ ยส่งเสริมให้พัฒนากระบวนการคิด ทักษะการส่ือสารทกั ษะการใช้เทคโนโลยเี พ่อื การคน้ คว้าและการ

สอ่ื สาร ซ่ึงสามารถทำไดห้ ลายระดับ โดยอาจเปน็ ระดับชน้ั เรียน โรงเรียน กลุ่มโรงเรียนชมุ ชน ระดับชาติหรอื

นานาชาติ

3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ (ถ้าในคำอธบิ ายรายวิชาพดู ถงึ หลักสตู รทอ้ งถน่ิ ให้ใส่ลงไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธิบายรูปแบบและความสำคญั ของการประชมุ วชิ าการ (K)

2. จัดทำรายงานสรปุ การประชุมวชิ าการ (P)

3. เหน็ คุณค่าทางวิทยาศาสตร์ ต้ังใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ (A)

5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน (เลอื กเฉพาะข้อทเี่ กิดในหนว่ ยการเรียนรู้นี้)

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (เลอื กเฉพาะข้อท่เี กิดในหนว่ ยการเรียนรู้น้ี)

27

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  2. ซื่อสัตยส์ จุ ริต

 3. มีวนิ ยั  4. ใฝ่เรียนรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มงุ่ มั่นในการทำงาน
 7. รักความเป็นไทย  8. มีจิตสาธารณะ
7. ด้านคุณลักษณะของผ้เู รยี นตามหลกั สตู รมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. สือ่ สารสองภาษา  3. ล้ำหน้าทางความคดิ

 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  5. ร่วมกนั รับผดิ ชอบต่อสังคมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได)้  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )
 ทักษะด้านการคดิ อย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะดา้ นความเขา้ ใจความต่างวฒั นธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรูเ้ ท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)
ความมเี มตตา (วินยั คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ

ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตผุ ล : ใหน้ กั เรยี นสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบตั ิ , เลอื กใช้สารเคมไี ดอ้ ย่าง

คุม้ คา่

3. หลกั ภูมคิ มุ้ กนั : ใหน้ ักเรียนเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก

4. เงอื่ นไขความรู้ : การวางแผนงานทจี่ ะทำก่อนแล้วค่อยลงมือทำอยา่ งระมดั ระวงั , เขียนสมการการ

เปลี่ยนแปลงจากการทดลอง

5. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม : อดทนทจี่ ะทำงาน และมีความขยันทจี่ ะทำงานให้ออกมาไดด้ ีที่สดุ , มีวินยั ในการ

ทำการทดลอง

10. ช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการเรียนรู้ ช้ินงาน ภาระงาน

-รายงานกิจกรรม สืบค้นข้อมูลงาน - การอภิปรายความรู้เก่ียวกับ งาน

ประชมุ วชิ าการ ประชุมวิชาการ

4 -รายงานกิจกรรม การเข้าร่วมและการ

สรุปรายงานการเข้าประชุมวิชาการท่ี

นักเรียนสนใจ

11. การวัดประเมินผล

11.1 การวัดและประเมินผลช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

28

วธิ ีการ

1.การสังเกตการณ์

2.การใช้ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตรร์ ่องรอยบ่งช้ี 3.การวัดประเมนิ การปฏบิ ตั ิ

เครอ่ื งมือ

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมนิ การปฏิบัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรม ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผา่ น ผ่าน 1

รายการถือว่า ไมผ่ ่าน

11.2 การวัดและประเมินผลระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรูข้ อง

หนว่ ยการเรียนรนู้ )ี้

สิง่ ทต่ี ้องการวดั วิธีวัดผล เคร่ืองมอื วัดผล เกณฑ์การประเมนิ

1. ความรเู้ ก่ียวกับ -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมินการ - นกั เรียนได้คะแนน

- ขอ้ ควรปฏิบัตใิ นการเขา้ รว่ ม ความคิดเหน็ อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขึน้ ไป

ประชุมวชิ าการ -การตอบคำถาม คิดเหน็ หรือรอ้ ยละ 80
-การอภปิ รายและ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

รายงานผลการทำ - แบบประเมนิ การ - นักเรยี นได้คะแนน

กจิ กรรม ตรวจผลงานนกั เรยี น ประเมินผลงาน

-การตรวจผลงาน 13 คะแนนขน้ึ ไป

นกั เรยี น หรอื รอ้ ยละ 80

ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

2.ทักษะกระบวนการ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมินการ -นักเรยี นไดค้ ะแนน

- ทกั ษะการสืบค้น ความคิดเห็น อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขนึ้ ไป

- สงั เกตพฤติกรรมการ คิดเหน็ หรอื ร้อยละ 80 ถอื ว่า

ทำงานกลุ่ม - แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์

พฤติกรรมการ

ทำงานกลมุ่

3. คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ - สงั เกตค่านิยมในการ - แบบประเมนิ - นกั เรียนได้คะแนน

และสมรรถนะผูเ้ รียน ทำงานรว่ มกับผู้อ่ืน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประเมนิ คุณลกั ษณะ

- มีวนิ ัยในการทำงานกล่มุ และการทำงานใน ประสงค์ อันพึงประสงค์

- นกั เรียนเหน็ ความสำคญั ระบบกลุม่ - แบบประเมนิ 26 คะแนนขน้ึ ไป

ของการทำงานร่วมกับผู้อ่ืนและ อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผเู้ รียน หรอื รอ้ ยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คดิ เหน็ เกย่ี วกบั ผลการ -แบบทดสอบ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

- ยอมรับความคิดเหน็ ซ่ึงกนั ทดลอง Rubin’s Self - นักเรยี นได้คะแนน

และกันมีความเสียสละและ Esteem Scale การประเมินสมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนขึ้นไป

- นกั เรยี นมีการเห็นคณุ คา่ ใน หรือรอ้ ยละ 80

ตนเอง (Self-esteem) ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

29

12. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ช่ัวโมงที่ 1
1. ข้นั ตง้ั ประเดน็ ปญั หา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูอธบิ ายถึงรปู แบบและความสำคัญของการประชุมวิชาการ ตามรายละเอยี ดในชดุ กจิ กรรม
1.2 ครูให้นักเรยี นทำกจิ กรรม “สืบคน้ ขอ้ มลู งานประชมุ วิชาการ”
2. ขั้นสบื ค้นความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกนั เกีย่ วกบั บทบาทในฐานะผู้ฟังและผู้นำเสนอในงานประชมุ

วิชาการ โดยให้นักเรียนเขียนข้อควรปฏิบัติในฐานะผู้ฟังและผู้นำเสนอท่ีดี อย่างละ 1 ข้อ ลงในกระดาษ
ร่วมกันจดั หมวดหมู่

2.2 อภิปรายเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปและเปรียบเทียบกับบทบาทในฐานะผู้ฟังและผู้นำเสนอ ตาม
รายละเอียดในชดุ กจิ กรรม

ชว่ั โมงท่ี 2
3. ขน้ั สรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

3.1 ครยู กตวั อย่างคำถามที่ไม่เหมาะสมในฐานะผู้ฟังเพิ่มเติม ดังตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้
- คำถามไมช่ ัดเจน ไม่เฉพาะเจาะจง หรือกวา้ งเกินไป เชน่ ทำเร่ืองนี้ไปทำไม่ สรปุ ทงั้ หมด

ให้ฟังอีกคร้ังไดห้ รือไม่ หากไมเ่ ขา้ ใจส่วนใดควรใช้คำถามท่ีมคี วามชัดเจนและเจาะจงมากข้นึ เช่น เพราะเหตใุ ด
จงึ ต้องทำการทดลองในส่วน

- คำถามนอกเร่ือง เช่น ในงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการหาประสิทธิภาพที่กรองน้ำจากเปลือก
ส้ม กล้วย เงาะ และมังคุด แต่ใช้คำถามว่า ถ้าใช้เปลือกทุเรียนหรือเปลือกส้มโอจะดีกว่าหรือไม่ หากต้องการ
ทราบข้อมูลในสว่ นท่ีไม่ได้ดำเนินการแต่เช่ือมโยงกับส่ิงที่ทำได้ ควรมีสมมติฐาน หรือเหตุผลสนับสนุนประกอบ
คำถาม

- คำถามดูหมิ่น เช่น งานน้ีลอกใครมาหรือเปล่า งานนี้ทำเองหรือเปล่า หากสงสัยว่างานน้ี
อาจมีความซ้ำซ้อนกับงานอ่ืน หรืองานบางส่วนอาจไม่ได้ทำข้ึนเอง ควรใช้คำถามว่า ผลงานน้ีมีส่วนใดท่ีใหม่
หรอื ไมซ่ ้ำซอ้ นกับงานอ่ืน หรือ ผนู้ ำเสนอมีสว่ นรว่ ม ในการดำเนนิ การสว่ นใดบา้ ง

3.2 ครอู ธบิ ายการเขียนรายงานการเขา้ รว่ มการประชมุ วชิ าการ ตามรายละเอยี ดในชุดกจิ กรรม
4. ขน้ั การสอ่ื สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 ครูใหน้ ักเรียนทำกจิ กรรม “การเขา้ รว่ มและการสรุปรายงานการเข้าประชุมวิชาการ”
4.2 ครแู นะนำให้นักเรยี นเขา้ รว่ มประชมุ วิชาการที่จดั ขึ้นโดยหน่วยงานต่าง ๆ หรือครจู ัดการ
ประชุมวชิ าการในระดบั ชั้นเรียน โรงเรยี น หรือกลุ่มโรงเรียน เพื่อใหน้ ักเรยี นทุกคนไดม้ ปี ระสบการณ์การเข้า
รว่ มประชมุ วิชาการ
5. ขน้ั การบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 ครูใหน้ กั เรยี นนำเสนอ จดั ทำสรุปรายงานการเขา้ ร่วมประชมุ วิชาการ และแลกเปล่ียนความรู้
5.2 ร่วมกนั คัดเลอื กผลงานทีด่ ที ีส่ ดุ ในชนั้ เรียน
13. ส่อื การเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
13.1 สื่อการเรียนรู้
- ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนโิ สมนสิการ เรือ่ ง การเขา้ รว่ มประชุมวชิ าการ
- สือ่ ppt
13.2แหลง่ เรียนรู้

30

1) อนิ เตอรเ์ นต็ 2) หอ้ งสมดุ

14. บนั ทึกหลังการจัดการเรยี นรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- ข้อควรปฏบิ ตั ิในการเข้ารว่ มประชมุ ......................................................................................

วชิ าการ ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................

- ทักษะการสื่อสารสารสนเทศและการ ......................................................................................

รูเ้ ทา่ ทนั ส่อื ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

.....................................................................................

......................................................................................

3. ด้านคณุ ธรรมจริยธรรมและค่านยิ ม ......................................................................................

อันพึงประสงค์ : ......................................................................................

- มีวนิ ัย ......................................................................................

- ใฝ่เรียนรู้ ......................................................................................

- อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ......................................................................................

- รกั ความเป็นไทย ......................................................................................

- การเกิด self esteem ......................................................................................

......................................................................................

.....................................................................................

4. ปัญหาการสอน

....................................................................... .....................................................................................

....................................................................... .....................................................................................

....................................................................... .....................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

31

......................................................................................
5. วิธแี กป้ ญั หา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

ลงช่อื ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รัตน.์ .) (นางกณิการ์ พฒั รากลุ )

ลงชื่อ...........................................
(นางวันวิศาข์ ผลหมู่)

รองผู้อำนวยการกลมุ่ บริหารวิชาการ

ลงช่ือ ........................................................
(นายสรุ ิยนั ต์ เหล่ามะลึก)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม

32

แบบประเมนิ การอภิปรายแสดงความคิดเหน็
วชิ า .......................................................................................................... ช้ัน ………………………………
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ..............................กิจกรรม ……………………………………………………………………….…

คำชีแ้ จง : ให้ประเมนิ จากการสงั เกตการรว่ มอภปิ รายในระหวา่ งเรียน และการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลมุ่

โดยให้ระดับคะแนนลงในตารางทตี่ รงกับพฤติกรรมของผู้เรยี น

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ต้องปรับปรุง

รวม สรุปผลการ

รายการประเมิน 15 ประเมิน
คะแน

เลขท่ี ชอื่ -นามสกุล น

การแสดงความ คะแนน ผา่ น ไม่
ิคดเห็น ทที่ ำได้ ผา่ น
ยอม ัรบ ัฟงความ
ิคดเ ็หนของผู้ ่ือน
ตรงประเ ็ดน
สมเห ุตสมผล
มีความเ ่ชือ ่มันใน
การแสดงออก

ลงช่ือ ................................................................................. ผูป้ ระเมนิ
เกณฑ์การประเมิน : นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

33

แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

คำช้แี จง : ให้สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ ลงในชอ่ งที่ตรง
กับระดบั คะแนน

คณุ ลกั ษณะอนั พึง รายการทป่ี ระเมิน ระดบั คะแนน
ประสงคด์ า้ น 321

3.1 ตรงตอ่ เวลา

1. มีวนิ ัย 3.2 ปฏบิ ัตงิ านเรียบรอ้ ยเหมาะสม

3.3 ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง

2. ใฝ่เรยี นรู้ 4.1 กระตือรือร้นในการแสวงหาขอ้ มูล
4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเปน็ ระบบ
4.3 สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตุผล

5.1 ใชว้ ัสดุ สงิ่ ของ เครือ่ งใช้ อยา่ งประหยดั

3. อยู่อย่างพอเพยี ง 5.2 ใช้อปุ กรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณคา่

4. รกั ความเปน็ ไทย 5.3 ใชจ้ ่ายอยา่ งประหยดั และมีการเกบ็ ออม
7.1 มีจติ สำนกึ ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย
7.2 เหน็ คุณค่าและปฏิบัตติ นตามวฒั นธรรมไทย

ลงชอื่ ................................................................................. ผู้ประเมิน
/ /......................... ......................... .............................

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : ให้ 3 คะแนน
- พฤติกรรมที่ปฏบิ ัติชัดเจนและสมำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน
- พฤติกรรมทปี่ ฏิบตั ชิ ดั เจนและบ่อยคร้งั ให้ 1 คะแนน
- พฤติกรรมที่ปฏบิ ตั ิบางครง้ั

34

แบบประเมินผลงานผู้เรียน

ชือ่ - นามสกุล .................................................................................. ชั้น …………………........
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ................................ กิจกรรม ……………….………………......................

คำช้ีแจง: ใหผ้ ปู้ ระเมนิ ขีด ✓ ลงในช่องท่ตี รงกับระดบั คะแนน

ประเด็นท่ีประเมนิ ผปู้ ระเมิน

ตนเอง เพื่อน ครู

4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 21

1. ตรงจุดประสงคท์ ่ีกำหนด

2. มคี วามถกู ตอ้ งสมบรู ณ์

3. มีความคดิ สร้างสรรค์

4. มคี วามเป็นระเบียบ

รวม
รวมทุกรายการ

เฉล่ีย

ผู้ประเมนิ (ตนเอง)........................................................... ผปู้ ระเมิน .......................................................... (เพ่อื น)

ผปู้ ระเมนิ ................................................................ (คร)ู

35

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนผลงาน

ประเดน็ ทปี่ ระเมนิ 4 คะแนน 1

1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้อง 32 ผลงานไม่
จดุ ประสงค์ทก่ี ำหนด กับจดุ ประสงค์ สอดคล้องกบั
ทกุ ประเดน็ ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคล้อง จดุ ประสงค์
2. ผลงานมีความถกู ต้อง กบั จดุ ประสงค์ กบั จดุ ประสงค์ เนอ้ื หาสาระของ
สมบรู ณ์ เน้ือหาสาระของ เปน็ ส่วนใหญ่ บางประเด็น ผลงานไมถ่ ูกตอ้ ง
ผลงานถกู ต้อง เน้ือหาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เปน็ สว่ นใหญ่
3. ผลงานมคี วามคิด ครบถว้ น ผลงานถูกต้อง ผลงานถกู ต้องเป็น ผลงานไมแ่ สดง
สรา้ งสรรค์ เปน็ สว่ นใหญ่ บางประเด็น แนวคิดใหม่
ผลงานแสดงออก ผลงานมีแนวคดิ ผลงานมีความ
4. ผลงานมคี วามเปน็ ถึงความคิด แปลกใหม่แต่ยงั นา่ สนใจ แต่ยงั ไม่ ผลงานส่วนใหญ่
ระเบยี บ สรา้ งสรรค์ ไมเ่ ปน็ ระบบ มแี นวคดิ แปลก ไมเ่ ป็นระเบยี บ
แปลกใหม่ และมีข้อ
และเป็นระบบ ใหม่ บกพร่องมาก

ผลงานมคี วามเป็น ผลงานสว่ นใหญ่มี ผลงานมคี วาม
ระเบยี บแสดงออก
ถึงความประณตี ความเปน็ เป็นระเบียบแต่มี

ระเบยี บแตย่ งั มี ขอ้ บกพร่อง

ข้อบกพร่อง บางสว่ น

เลก็ น้อย

เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ

นักเรียนได้คะแนน 13 คะแนนขน้ึ ไป หรอื ร้อยละ 80 ถือว่าผา่ นเกณฑ์

36

แบบประเมินพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม

กลมุ่ ..........................................................................................................

สมาชิกในกลมุ่ 1. 2....................................................................... ......................................................................

3. 4....................................................................... ......................................................................

5. 6....................................................................... ......................................................................

คำชแ้ี จง: ใหน้ ักเรยี นทำเครื่องหมาย ✓ ในช่องทีต่ รงกับความเป็นจริง

พฤติกรรมท่สี ังเกต คะแนน 1
32

1. มสี ่วนร่วมในการแสดงความคดิ เห็น
2. มคี วามกระตือรือรน้ ในการทำงาน
3. รบั ผดิ ชอบในงานท่ีได้รบั มอบหมาย
4. มขี ้ันตอนในการทำงานอย่างเป็นระบบ
5. ใช้เวลาในการทำงานอย่างเหมาะสม

รวม

เกณฑ์การให้คะแนน

พฤติกรรมทีท่ ำเปน็ ประจำ ให้ 3 คะแนน
พฤตกิ รรมทที่ ำเปน็ บางครงั้ ให้ 2 คะแนน
พฤตกิ รรมท่ีทำนอ้ ยคร้ัง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ
13-15 ดี
8-12 ปานกลาง
5-7 ปรับปรุง

37

แบบประเมินสมรรถนะผเู้ รยี น 5 ดา้ น

คำชีแ้ จง : ใหส้ งั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ ลงในช่องทีต่ รง
กับระดบั คะแนน

สมรรถนะทป่ี ระเมิน ระดับคะแนน
321
1. ความสามารถในการส่ือสาร
1.1 มคี วามสามารถในการรับ – ส่งสาร
1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง
โดยใช้ภาษาอยา่ งเหมาะสม
1.3 ใชว้ ธิ กี ารสือ่ สารท่ีเหมาะสม

2. ความสามารถในการคิด
2.1 มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ เพ่ือการสร้างองค์ความรู้
2.2 มีความสามารถในการคดิ เป็นระบบ เพ่ือการสรา้ งองค์ความรู้

3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
3.1 แกป้ ัญหาโดยใช้เหตุผล
3.2 แสวงหาความรมู้ าใช้ในการแกป้ ญั หา
3.3 ตดั สินใจโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น

4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
4.1 ทำงานและอยู่รว่ มกับผู้อื่นดว้ ยความสัมพนั ธอ์ ันดี
4.2 มวี ธิ แี กไ้ ขความขดั แยง้ อย่างเหมาะสม

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
5.1 เลอื กใช้ข้อมูลในการพฒั นาตนเองอยา่ งเหมาะสม
5.2 เลือกใช้ข้อมลู ในการทำงานและอยูร่ ่วมกบั ผู้อน่ื อยา่ งเหมาะสม

ลงชอ่ื ................................................................................. ผู้ประเมิน
/ /........................ ......................... .............................

เกณฑ์การใหค้ ะแนน : ให้ 3 คะแนน
- พฤติกรรมท่ีปฏิบัติชดั เจนและสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน
- พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ตั ชิ ัดเจนและบ่อยครงั้ ให้ 1 คะแนน
- พฤติกรรมทปี่ ฏบิ ัตบิ างครัง้

แบบทดสอบ Rubin’s Self Esteem Scale

38

คำชี้แจง แบบสอบถามทัง้ หมดมี 3 ตอน โปรดอ่านคำชแี้ จงแตล่ ะตอนอย่างถี่ถว้ น คำตอบไม่มีการตัดสิน

ว่าถกู หรือผิดเพราะเป็นความรู้สกึ ของคนแตล่ ะคนไมจ่ ำเป็นจะตอ้ งเหมือนกับผู้อน่ื โปรดตอบทุก ๆข้อ

ตอนที่ 1 โปรดอา่ นแตล่ ะประโยคอยา่ งระมดั ระวัง ถ้าประโยคไหนเหมือนตัวคณุ เองกต็ อบว่า ใช่

ถา้ เห็นว่าไมเ่ หมอื นก็ตอบว่า ไมใ่ ช่ โดยกาเครื่องหมาย X ทับคำตอบน้นั

1. ฉนั ทำสิ่งทไี่ ม่ดีมามาก ใช่ ไมใ่ ช่

2. ฉันเปน็ คนไมเ่ ช่ือฟังเวลาท่ีอยู่บ้าน ใช่ ไมใ่ ช่

3. ฉันเคยไดร้ บั ความลำบากเสมอ ใช่ ไม่ใช่

4. ฉนั คิดไปในด้านอกุศลเสมอ ใช่ ไมใ่ ช่

5. ฉนั เป็นคนที่ไว้ใจได้ ใช่ ไม่ใช่

6. ฉนั เป็นคนเรยี นดี ใช่ ไม่ใช่

7. ฉนั เป็นคนฉลาด ใช่ ไม่ใช่

8. ฉันไมค่ ่อยจะรู้เรื่องอะไรเลย ใช่ ไมใ่ ช่

9. ฉันเป็นนกั อ่านทด่ี ี ใช่ ไม่ใช่

10. ฉนั เรยี นอะไรแล้วก็ลมื หมด ใช่ ไม่ใช่

11. ฉนั เปน็ คนหนา้ ตาดี ใช่ ไม่ใช่

12. ฉนั มีหนา้ ตาแจม่ ใสเสมอ ใช่ ไม่ใช่

13. ฉันมรี ูปรา่ งไม่ดี ใช่ ไม่ใช่

14. ฉนั เปน็ คนแข็งแรง ใช่ ไมใ่ ช่

15. ฉนั เป็นผู้นำในการเลน่ และการกฬี า ใช่ ไมใ่ ช่

16. ฉันรอ้ งไห้เกง่ ใช่ ไมใ่ ช่

17. ฉนั เปน็ คนชอบวิตกกงั วล ใช่ ไมใ่ ช่

18. ฉันหวาดหลัวบอ่ ย ๆ ใช่ ไม่ใช่

19. ฉันจะว้าวุน่ ใจเมอ่ื มีคนเรียกฉัน ใช่ ไม่ใช่

20. ฉันเปน็ คนขตี้ กใจ ใช่ ไม่ใช่

21. คนมกั เลือกฉนั ในการเล่นเกมต่าง ๆ ใช่ ไมใ่ ช่

22. ฉันเปน็ คนสุดท้ายทไี่ ดร้ ับเลอื กใหเ้ ลน่ เกม ใช่ ไมใ่ ช่

23. ฉนั ลำบากใจที่จะเป็นเพ่อื นกับใคร ใช่ ไมใ่ ช่

24. ฉนั มีเพ่ือนมาก ใช่ ไม่ใช่

25. ฉนั เป็นคนที่ถกู ลืม ใช่ ไมใ่ ช่

26. ฉนั เป็นคนที่มีความสขุ ใช่ ไมใ่ ช่

27. ฉนั เปน็ คนทีม่ ีความสุข ใช่ ไมใ่ ช่

28. ฉนั พอใจในสภาพตัวเองขณะน้ี ใช่ ไม่ใช่

29. ฉันอยากเป็นอยา่ งอ่นื ที่ไม่ใช่ตัวฉันตอนน้ี ใช่ ไมใ่ ช่

30. ฉันเปน็ คนร่าเริง ใช่ ไมใ่ ช่

ตอนท่ี 2 โปรดอ่านแต่ละข้อต่อไปน้ีอย่างระมดั ระวงั แลว้ เลอื กทำเคร่ืองหมาย ¡ ลอ้ มรอบ ขอ้ ก. หรือ ข.
หรือ ค. หรอื ง.ตามที่คณุ เหน็ วา่ ตรงกบั ความรสู้ กึ ของคุณมากทสี่ ุดเพยี งข้อเดยี ว

39

ก. เหน็ ด้วยอยา่ งย่ิง ข. เหน็ ด้วย ค. ไมเ่ หน็ ดว้ ย ง. ไมเ่ ห็นด้วยอย่างยง่ิ
ก ขคง
31. ฉนั เป็นคนมีคณุ ค่าทดั เทียมกบั ผูอ้ ืน่ ก ขคง
ก ขคง
32. ฉนั เปน็ คนมีคณุ สมบตั ิท่ีดีหลายอย่าง ก ขคง
ก ขคง
33. ฉันรสู้ ึกวา่ ฉนั ทำอะไรไม่สำเร็จเลย ก ขคง
ก ขคง
34. ฉันมคี วามสามารถทำสง่ิ ต่าง ๆ ได้ดีเท่าผู้อืน่ ก ขคง
ก ขคง
35. ฉนั มคี วามภาคภมู ิใจในตนเองนอ้ ยเหลอื เกิน ก ขคง

36. ฉนั คิดถึงตัวเองในทางทด่ี ี

37. โดยท่วั ไปแล้วฉนั มคี วามพอใจในตวั เอง

38. ฉนั หวงั ว่าฉนั สามารถนบั ถือตวั เองได้มากกวา่ นี้

39. ขณะน้ีฉนั ร้สู ึกว่าตนเองเป็นคนไร้ประโยชน์

40. บางคร้ังฉนั คดิ วา่ ฉันไม่มีอะไรดเี ลย

ตอนท่ี 3 โปรดอ่านข้อความต่อไปนต้ี ามลำดบั อย่างถ่ีถว้ น แลว้ ทำเครือ่ งหมาย  ล้อมรอบ

ตวั เลข 1 หรือ 2 หรือ 3 หรือ 4 หรือ 5 ซงึ่ ตรงกบั รู้สึกของคณุ มากท่สี ดุ เพียงข้อเดียว

1. ไม่เคยเลย 2. ไมบ่ ่อยนัก 3. บางครงั้ 4. บ่อยครัง้ 5. ตลอดมา
45
41. ฉนั เป็นเพ่ือนกบั ทกุ ๆ คน 123 45
45
42. ฉนั มคี วามสุข 123 45
45
43. ฉนั มคี วามกรณุ า 123 45
45
44. ฉันเปน็ คนกลา้ 123 45
45
45. ฉนั เปน็ คนซ่ือสตั ย์ 123 45
45
46. คนทว่ั ๆ ไปชอบฉนั 123 45
45
47. ฉนั เป็นคนที่ไวใ้ จได้ 123 45
45
48. ฉันเป็นคนดี 123 45
45
49. ฉนั ภาคภูมใิ จในตัวฉัน 123 45
45
50. ฉันเป็นคนเกยี จคร้าน 123 45
45
51. ฉันใหค้ วามรว่ มมือกบั ทกุ คนเสมอ 123 45

52. ฉนั เปน็ คนรา่ เรงิ แจ่มใส 123

53. ฉันเปน็ คนมีความคิด 123

54. ฉันเปน็ ทรี่ จู้ กั ของคนทั่วไป 123

55. ฉันเป็นคนอ่อนโยน 123

56. ฉนั เป็นคนข้ีอจิ ฉา 123

57. ฉนั เปน็ คนที่ไมด่ ้ือดึง 123

58. ฉันเป็นคนสุภาพ 123

59. ฉนั เป็นคนข้ีอาย 123

60. ฉนั เปน็ คนสะอาด 123

61. ฉันเป็นคนทมี่ ีประโยชน์ต่อผู้อื่น 123

62. ฉันเปน็ คนมีความกตัญญู 123

40

การตรวจและการแปลผลแบบทดสอบ (Rubin’s Self Esteem Scale)
แบบทดสอบนี้เป็นแบบวดั ท่ีใหร้ ายงานตัวเองประกอบด้วยขอ้ ความ 62 ข้อ แบ่งออกเป็น 3 ตอน ดงั นี้
ตอนท่ี 1 เปน็ ข้อความเกีย่ วกับอัตมโนทศั น์ (Self Concept) จำนวน 30 ข้อ เป็นแบบเลือกรบั หรือปฏิเสธ
ตอบโดยกาเครื่องหมาย  (กากบาท) ลงกบั คำว่า “ใช่” หรือ “ไม่ใช”่ ข้อละเคร่ืองหมาย
ในแต่ละข้อมีการตรวจให้คะแนนแตกต่างกันตามลักษณะของข้อความ ดงั น้ี
เมอ่ื ข้อความมีลกั ษณะทางบวก
ถ้าตอบ “ใช”่ ได้ 2 คะแนน
ถา้ ตอบ “ไม่ใช่” ได้ 1 คะแนน
ไดแ้ ก่ ข้อ 5, 6, 7, 9, 11, 12, 14, 15, 21, 24, 26, 28 และ 30
เม่ือข้อความมลี ักษณะทางลบ
ถ้าตอบ “ใช”่ ได้ 1 คะแนน
ถา้ ตอบ “ไม่ใช”่ ได้ 2 คะแนน
ไดแ้ ก่ ขอ้ 1, 2, 3, 4, 8, 10, 13, 16, 17, 18, 19, 20, 22, 23, 25, 27 และ 29

ตอนท่ี 2 เป็นแบบวัดความรูส้ ึกเห็นคณุ คา่ ในตนเอง (Self – Esteem Scale) จำนวน 10 ข้อ
เป็นแบบ rating scale 4 ระดบั (ก - ง) ตอบโดยการทำเครอื่ งหมาย  (วงกลม) ล้อมรอบตวั อักษร
ทแ่ี สดงวา่ “เห็นด้วยอยา่ งยิ่ง” “เหน็ ด้วย” “ไม่เห็นดว้ ย” หรือ “ไมเ่ หน็ ดว้ ยอยา่ งย่ิง”
ขอ้ ละ 1 เคร่อื งหมาย ในแตล่ ะข้อมกี ารตรวจใหค้ ะแนนแตกตา่ งกันตามลักษณะของข้อความ ดงั น้ี
เม่ือข้อความมีลักษณะทางบวก
ถ้าตอบ “ก” หรือ “ข” ได้ 2 คะแนน
ถา้ ตอบ “ค” หรือ “ง” ได้ 1 คะแนน
ไดแ้ ก่ ขอ้ 31, 32, 34, 36 และ 37
เมื่อข้อความมลี กั ษณะทางลบ
ถา้ ตอบ “ก” หรือ “ข” ได้ 1 คะแนน
ถ้าตอบ “ค” หรือ “ง” ได้ 2 คะแนน
ได้แก่ ขอ้ 33, 35, 38, 39 และ 40

ตอนที่ 3 เป็นการประเมินอัตมโนทศั น์ (Self Concept Rating) จำนวน 22 ขอ้ เปน็ แบบ rating scale
5 ระดับ (1-5) ใหต้ อบโดยการทำเคร่อื งหมาย  (วงกลม) ล้อมรอบตัวอักษรทแี่ สดงว่า “ไมเ่ คยเลย”
“ไมบ่ ่อยนกั ” “บางครง้ั ” หรือ “ตลอดมา” และในแต่ละข้อมกี ารตรวจให้คะแนนแตกต่างกนั ตามลักษณะ
ของข้อความ ดังน้ี
เมือ่ ข้อความมีลกั ษณะทางบวก
ถ้าตอบ “1” จะได้ 1 คะแนน
ถ้าตอบ “2” จะได้ 2 คะแนน
ถ้าตอบ “3” จะได้ 3 คะแนน
ถ้าตอบ “4” จะได้ 4 คะแนน
ถ้าตอบ “5” จะได้ 5 คะแนน
ไดแ้ ก่ข้อ 41, 42, 43, 44, 45, 46, 47, 48, 49, 51, 52, 53, 54, 55, 57, 58, 60, 61 และ 62

41

เม่ือข้อความมลี กั ษณะทางลบ
ถ้าตอบ “1” จะได้ 5 คะแนน
ถ้าตอบ “2” จะได้ 4 คะแนน
ถา้ ตอบ “3” จะได้ 3 คะแนน
ถ้าตอบ “4” จะได้ 2 คะแนน
ถ้าตอบ “5” จะได้ 1 คะแนน

การคดิ คะแนนรวม
คะแนนรวมคิดโดยการรวมคะแนนท้งั 62 ข้อ ของผตู้ อบแบบทดสอบเข้าดว้ ยกัน
เป็นคะแนนความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองของผู้ตอบแบบทดสอบแต่ละคนซึ่งมีช่วงคะแนนโดยทฤษฎี
(Theoretical Range of Scores) ตงั้ แต่ 62 – 190
ในการแบ่งระดับของคะแนนความรูส้ กึ เห็นคณุ ค่าในตนเอง มีเกณฑ์การแบ่งต่อไปนี้

ถ้าได้คะแนนตงั้ แต่ 159 - 190 ถือว่าเป็นผู้ที่มีความรสู้ ึกเห็นคุณคา่ ในตนเอง ในระดบั สูง
ถา้ ได้คะแนนตงั้ แต่ 95 - 158 ถอื วา่ เป็นผ้ทู ีม่ ีความรู้สึกเหน็ คุณคา่ ในตนเอง ในระดบั ปานกลาง
ถ้าได้คะแนนต้งั แต่ 62 - 94 ถือว่าเปน็ ผู้ท่มี คี วามรูส้ ึกเหน็ คุณค่าในตนเอง ในระดับตำ่

ทมี่ า : คมู่ ือ พัฒนาทักษะการดำเนินชวี ติ ระดับมธั ยมศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ


Click to View FlipBook Version