The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดกิจกรรม4 มนุษย์และการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2022-10-22 05:55:25

ชุดกิจกรรม4 มนุษย์และการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ

ชุดกิจกรรม4 มนุษย์และการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ

สารบญั หนา้

บทนำ......................................................................................................................... ....... ก
คำชแี้ จงการใช้ชุดกิจกรรม................................................................................................ ข
แบบประเมนิ ตนเองก่อนเรียน........................................................................................... 1
หน่วยกระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศบทที่ 2 ลมฟา้ อากาศรอบตวั ..................... 1
ขน้ั พัฒนาปญั ญา กิจกรรม ฝกึ อ่าน : ฝึกคดิ 1
1
เรือ่ งที่ 1 พายุ..................................................................................................... 2
-ทบทวนความรูก้ ่อนเรียน 1…………………………………………………………..
-กจิ กรรม สืบเสาะ ค้นหา 1 เรอื่ งพายุฝนฟ้าคะนองและพายหุ มนุ เขต… 7
ร้อนเกดิ ขนึ้ ได้อยา่ งไร………………………………………………………………….. 8
-รว่ ม กัน คิด 1…………………………………………………………………………… 8
8
เรอื่ งท่ี 2 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมอิ ากาศอากาศโลก......................................... 13
-ทบทวนความร้กู ่อนเรียน 2………………………………………………………….. 14
-กจิ กรรม สืบเสาะ ค้นหา 2 เรือ่ งภมู อิ ากาศเปล่ยี นแปลงได้หรือไม่…….. 15
-ร่วม กัน คิด 2…………………………………………………………………………… 18
21
ข้นั นำปัญญาพฒั นาความคิด กจิ กรรม ฝึกทำ : ฝกึ สรา้ ง
ขน้ั นำปญั ญาพัฒนาตนเอง กจิ กรรม คิดดี ผลงานดี มีความสุข
แบบประเมนิ ตนเองหลังเรียน............................................................................................
อา้ งอิง............................................................................................................................

บทนำ
ชุดกิจกรรมที่ผู้เรียนจะได้ศึกษาน้ีเรียกว่าชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
หน่วยกระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศ บทที่ 2 มนุษย์และการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศ เป็นสื่อ
วิทยาศาสตร์ที่เน้นให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีระบบ พบคำตอบของปัญหาหรือ
สถานการณ์นั้นด้วยตนเอง ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้คิดและลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ
และ เพอ่ื ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สุดนักเรียน
ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการเน้ือหาส่วนใหญ่เน้นการให้นักเรียนสามารถ
นำไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันเพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้เน้ือหาได้ด้วยตนเองจึงได้เรียบเรียง
เนื้อหาให้กระชับและน่าสนใจและนอกจากนี้ยังได้แทรกรูปภาพและคำถามชวนคิดไว้ตลอดทำให้ไม่เบ่ื อในการ
อา่ นและทำกจิ กรรม
ผู้จัดทำชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารชุดน้ีจะมี
ประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาตามหลักสูตร ผเู้ รียนมีความรู้และความสามารถในการสืบค้น การจัดระบบสิ่งท่ี
เรียนรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อสร้างองค์ความรู้ ได้เป็นอย่างดีสามารถนำความรู้ที่ได้จากการ
เรียนรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ และเป็นประโยชน์สำหรับผู้ท่ีสนใจใช้เป็นแนวทาง ในการจัดกระบวนการ
เรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรไ์ ด้ตอ่ ไป

...........................................
( นางสาวอโนชา อทุ มุ สกลุ รตั น์ )
ผ้จู ดั ทำชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์



คำชี้แจงการใช้ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตรต์ ามแนวคดิ แบบโยนโิ สมนสิการ

หนว่ ยกระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ บทที่ 2 มนษุ ย์และการเปลีย่ นแปลงลมฟ้าอากาศ

1. สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลงภาย

ในโลกและบนผิวโลก ธรณีพบิ ตั ภิ ยั กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟ้าอากาศและภมู ิอากาศโลก รวมทัง้
ผลต่อสง่ิ มีชีวิตและสง่ิ แวดลอ้ ม
2. มาตรฐานการเรยี นรู้ /ตวั ชี้วัด ว 3.2 ม.1/1 ,1/2, 1/3,1/4 , 1/5, 1/6, 1/7
3. วิธีเรยี นรู้จากชดุ กจิ กรรมน้ีเพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสุดนกั เรียนควรปฏบิ ัตติ าม
คำชี้แจง ตอ่ ไปนี้

1. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สองภาษาตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ เรื่อง มนุษย์และการ
เปลย่ี นแปลงลมฟ้าอากาศ ชุดนี้ ใชเ้ วลา 7 ชว่ั โมง
2. ใหน้ ักเรยี นจัดกล่มุ ๆ ละประมาณ 6 คน
3. ใหน้ กั เรยี นศึกษามาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ช้ีวดั ของชุดการเรยี น
4. ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมในชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ โดยใช้

รปู แบบการเรยี นรแู้ บบโยนโิ สมนสิการตามขัน้ ตอนดงั นี้
1. ขั้นพฒั นาปัญญา
2. ข้นั นำปญั ญาพัฒนาความคิด
3. ขัน้ นำปญั ญาพฒั นาตนเอง

4. สาระสำคญั
ลมฟ้าอากาศมกี ารเปลยี่ นแปลงได้ตลอดเวลาเม่ือองคป์ ระกอบของลมฟา้ อากาศมกี ารเปลีย่ นแปลงไป

บางคร้ังการเปล่ยี นแปลงลมฟ้าอากาศจะเกิดอยา่ งรนุ แรงซึ่งสง่ ผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมอย่างมาก
สำหรับประเทศไทยพบการเปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศได้แก่ พายฝุ นฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตรอ้ น ซงึ่ พายุทงั้
สองมีกระบวนการเกดิ และผลกระทบทงั้ เหมือนและแตกตา่ งกัน ลมฟ้าอากาศเปน็ สภาวะของอากาศทีเ่ กิดขึ้นใน
พน้ื ทหี่ นึ่ง ๆ ในชว่ งเวลาหนงึ่ เกิดการเปล่ียนแปลงได้ดงั ทีก่ ล่าวมา ภูมิอากาศเป็นลักษณะลมฟ้าอากาศโดย
เฉลี่ยของพ้นื ทหี่ นง่ึ ๆ ในแตล่ ะชว่ งเวลา มีการเปลยี่ นแปลงได้เชน่ กนั ปัจจัยท่ีทำใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลง
ภมู อิ ากาศมีทั้งปัจจยั ทางธรรมชาตแิ ละกจิ กรรมของมนุษย์ การเปลย่ี นแปลงภูมิอากาศแม้ไม่ได้เกดิ ขนึ้ อย่าง
รวดเรว็ เหมือนดังการเปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศ แต่กส็ ง่ ผลกระทบต่อสิง่ มชี วี ิตและสิ่งแวดลอ้ ม
อยา่ งมาก มนุษย์จำเป็นต้องเรยี นรู้สถานการณ์ ผลกระทบ และแนวทางในการปฏบิ ัติตนภายใต้การ
เปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศและการเปลย่ี นแปลงภูมิอากาศ เพ่ือให้มนษุ ย์และส่ิงแวดล้อมดำรงอย่ไู ดอ้ ยา่ ง
ปลอดภัยและยัง่ ยนื

*** ขอใหน้ กั เรียนทกุ คนไดเ้ รียนรู้วิทยาศาสตรอ์ ยา่ งมีความสุข ***



แบบประเมินตนเองก่อนเรยี น

คำชีแ้ จง : ให้นักเรยี นตอบคำถามต่อไปนี้ ใช้เวลา 10 นาที

1. เราใช้เกณฑ์ในข้อใดจำแนกชนิดของพายุหมนุ เขตร้อน

ก. บริเวณทอ้ งถน่ิ ท่เี กิด ข. ความเรว็ ลมสงู สดุ ใกล้ศนู ย์กลาง

ค. ความเร็วในการเคล่ือนทีข่ องพายุ ง. ความกว้างของรัศมกี ารพดั รอบศูนยก์ ลาง

2. จากภาพ ขอ้ ความใดแสดงกระบวนการในวัฏจกั รคารบ์ อนได้ถูกต้อง

ก. A คอื กระบวนการหายใจ ข. B คือการสังเคราะหด์ ้วยแสง

ค. C คอื กระบวนการหายใจ ง. D คอื การสงั เคราะห์ดว้ ยแสง

3. พจิ ารณาข้อความต่อไปนี้

A. อุณหภมู ิอากาศสง่ ผลต่อการเกดิ เมฆ

B. ปรมิ าณเมฆปกคลุมสง่ ผลต่ออุณหภูมอิ ากาศ

C. ไอนำ้ ในอากาศทร่ี วมตัวกนั อย่างหนาแนน่ เกิดเปน็ เมฆ

ขอ้ ความใดถูกต้อง

ก. A และB ข. A และC ค. B และ C ง. A B และC

4. จากภาพ อัตราเร็วลมในบริเวณใดมคี า่ น้อยทีส่ ุด

ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4

5. เหตุการณใ์ ดไม่ได้เปน็ ผลมาจากการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศโลก

ก. การกัดเซาะชายฝัง่ เพิ่มมากข้นึ ข. จำนวนวนั ทฝ่ี นตกหนักมีเพ่ิมข้นึ

ค. กลางวันมีความยาวนานขึ้น ง. ดอกไม้บางพน้ื ทบี่ านเร็วข้ึน

ใช้ข้อมูลต่อไปน้ี ตอบคำถามขอ้ 6-7
ช่วงเวลาการหลอมเหลวของน้ำแขง็ ในทะเลอารก์ ติก ทะเลอาร์กติกบางสว่ นปกคลุมด้วยน้ำแขง็ ตลอด

ทั้งปี อยา่ งไรก็ตามนำ้ แขง็ ดงั กลา่ วจะมีการหลอมเหลวและแข็งตวั ขนึ้ อยู่กับฤดกู าล ศนู ย์ข้อมูลหิมะและน้ำแขง็

แหง่ ชาติสหรัฐเกบ็ ข้อมลู การหลอมเหลวของน้ำแขง็ ในทะเลอาร์กติก โดยวนั ท่ีนำ้ แขง็ เริ่มต้นการหลอมเหลวและ
สน้ิ สุดการหลอมเหลวในแตล่ ะปี แสดงไดด้ ังกราฟ

6. จากขอ้ มลู ในสถานการณท์ ี่กำหนดให้ สามารถลงข้อสรุปตอ่ ไปนี้ ได้หรือไม่ได้ จงเขยี นวงกลมล้อมรอบคำว่า
“ได”้ หรือ “ไม่ได้” ในแต่ละข้อสรุป

ข้อสรุป ไดห้ รือไม่ได้
6.1 ระยะเวลาการหลอมเหลวของนำ้ แข็งในแตล่ ะปียาวนานขึน้ ได/้ ไม่ได้
6.2 ปริมาณนำ้ แขง็ ในทะเลอาร์กติกลดลง ได้/ไม่ได้

7. ปรมิ าณนำ้ แข็งปกคลุมบริเวณทะเลอารก์ ติก ในเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2522 และ 2558 ควรเป็นอย่างไร
เม่อื เทยี บกับเดือนกนั ยายน ปี พ.ศ. 2522 และ 2558 ตามลำดบั เพราะเหตุใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

8. การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการหลอมเหลวของน้ำ แขง็ ขั้วโลก มีหลากหลายวธิ ี เชน่ การใชด้ าวเทียม การเกบ็
ข้อมลู จากสถานท่ีจริง การตดิ ตั้งสถานีตรวจวัด ข้อสรปุ ใดถูกต้อง

ก. การเกบ็ ข้อมลู เพ่ือศกึ ษาการหลอมเหลวของนำ้ แขง็ ข้ัวโลก ควรเก็บข้อมูลจากบรเิ วณข้ัวโลกก็
เพียงพอ
ข. การเก็บข้อมลู ไมจ่ ำเปน็ ต้องใช้นักวทิ ยาศาสตรเ์ ท่านน้ั บุคลากรในท้องถนิ่ สามารถเกบ็ ขอ้ มูลได้
ค. การเก็บข้อมลู จากดาวเทียมก็ให้ข้อมูลที่ครบถ้วนเพยี งพอ ไมจ่ ำเป็นตอ้ งเกบ็ ข้อมูลดว้ ยวธิ กี ารอืน่
ง. ปจั จัยทีส่ ง่ ผลใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงของน้ำแข็งขว้ั โลกแตกต่างกันไปในแต่ละฤดู จึงควรเปล่ยี น
วธิ กี ารตรวจวัดองค์ประกอบลมฟ้าอากาศทุกฤดู

คะแนนเต็ม 8 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

1

กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟ้าอากาศ

บทท่ี 2 มนุษย์และการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ เวลา 7 ช่วั โมง

ข้นั พฒั นาปัญญา กิจกรรม ฝึ กอ่าน : ฝึ กคิด

เรอื่ งที่ 1 พายุ

ภาพที่ 1 พายหุ มนุ เขตร้อนในซีกโลกใต้ และพายุฝนฟา้ คะนอง

ที่มา หนังสือแบบเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 สสวท

ภาพนำเรอื่ งคอื ภาพพายุหมนุ เขตร้อนในซีกโลกใต้
ซึ่งมีทิศทางการหมุนของพายุตามเขม็ นาฬิกา และ
ภาพพายฝุ นฟา้ คะนองขณะเกิดฟ้าแลบ

ทบทวนความร้กู ่อนเรยี น 1

เขียนเครือ่ งหมาย  หน้าข้อท่ีถูกต้อง
 ความชนื้ อากาศ คือ น้ำในอากาศที่อยู่ในสถานะของเหลว
 นำ้ ระเหยได้เม่ืออณุ หภูมิของน้ำถึงจดุ เดือดเท่าน้นั
 บรรยากาศชน้ั โทรโพสเฟียร์ เม่อื ระดับความสูงจากพืน้ ดนิ มากขน้ึ อณุ หภมู ิอากาศจะลดลง
 อากาศเคลื่อนทีจ่ ากบรเิ วณทมี่ ีความกดอากาศต่ำไปยังบรเิ วณทีม่ ีความกดอากาศสูง
 บริเวณความกดอากาศสูง อุณหภมู ิอากาศมคี ่าตำ่

กิจกรรม สืบเสาะ คน้ หา 1 2
กจิ กรรมที่ 1 พายฝุ นฟา้ คะนองและพายหุ มนุ เขตร้อนเกดิ ข้ึนได้อย่างไร

จุดประสงค์ :
รวบรวมข้อมลู เพ่อื อธิบายและเปรยี บเทียบกระบวนการเกดิ พายุฝนฟ้าคะนอง และพายุหมนุ เขตร้อน

วสั ดแุ ละอปุ กรณ์
-

วธิ ีการทดลอง
1. อ่านข้อความการเกิดพายุฝนฟ้าคะนองตอ่ ไปนี้ “อากาศร้อน นำ้ ระเหยกลายเป็นไอน้ำได้มาก อากาศรอ้ นข้ึน
จะลอยตวั สูงข้ึนอย่างรวดเรว็ ถึงระดับท่ีอุณหภมู ิอากาศต่ำไอนำ้ เกดิ การควบแนน่ เป็นละอองนำ้ ปริมาณมหาศาล
เกิดเป็นเมฆขนาดใหญ่ และฝนตกหนัก” วิเคราะห์และวาดภาพอธิบายการเกิดพายุฝนฟ้าคะนองจากข้อความ
ดงั กลา่ ว
2. สังเกตภาพพายุหมุนเขตร้อนด้านล่าง วิเคราะห์และเขียนอธิบายเกี่ยวกับพายุหมุนเขตร้อนจากภาพในประ
เด็นตา่ งๆ เช่น แหล่งท่ีเกิด อัตราเรว็ ลม ลกั ษณะรปู ร่าง

3. รวบรวมขอ้ มูลกระบวนการเกิดพายฝุ นฟ้าคะนองและพายหุ มุนเขตร้อนจากแหล่งข้อมลู ท่ีเชื่อถือได้
4. นำข้อมูลการเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน มาจัดกระทำในรูปแบบต่างๆท่ีน่าสนใจ และนำเสนอ
ต่อชั้นเรียน
ผลการทำกิจกรรม
ขอ้ 1 ภาพวาดอธิบายการเกดิ พายฝุ นฟา้ คะนอง

ข้อ 2 อธบิ ายการเกิดพายุหมุนเขตรอ้ น จากภาพ …………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

3

คำถามทา้ ยกิจกรรม
1. กระบวนการเกิดพายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อนท่ีสร้างข้ึนเหมือนและแตกต่างจากท่ีได้รวบรวมมา
อยา่ งไร

กระบวนการเกิดพายุฝนฟ้าคะนองท่ีสร้างข้ึนเหมือนกับข้อมูลท่ีได้รวบรวมมาคือ มีการรวมตัวกันของ
ละอองนำ้ และผลึกน้ำแขง็ ในแนวตัง้ จนทำให้เมฆมขี นาดใหญข่ ึน้

จากน้ันจึงเกิดพายุฝนฟ้าคะนองและแตกต่างกันคือจากข้อมลู ที่รวบรวมมพบว่าพายฝุ นฟ้าคะนองมีขั้น
การเกิด 3 ระยะ คือ ระยะเจริญเติบโต ระยะเจริญเติบโตเต็มท่ี และระยะสลายตัว เกิดการพัดขึ้นและลงของ
กระแสอากาศเน่ืองจากความแตกต่างของอุณหภูมิ ทำให้เกิด สภาพอากาศรุนแรง เช่น ลมกระโชก ฟ้าแลบ
ฟ้าผา่ ฝนตกหนกั และลูกเห็บตก

กระบวนการเกิดพายหุ มุนเขตร้อนท่ีสร้างขน้ึ เหมือนกับข้อมูลที่ได้รวบรวมมาคือเกิดจากการระเหยของ
นำ้ ในมหาสมทุ รและมีการเคลือ่ นทขี่ องอากาศเขา้ สูศ่ ูนย์กลาง และแตกต่างกนั คือการเกิดพายุหมุนเขตรอ้ นจาก
ขอ้ มูลท่รี วบรวมมาพบวา่ สว่ นใหญ่ก่อตวั ในมหาสมุทร และจะเคลือ่ นท่ีไปตามแนวความกดอากาศต่ำ เนือ่ งจาก
อากาศร้อนชื้นมีไอน้ำอยู่เป็นจำนวนมากจึงช่วยหล่อเล้ียงให้พายุมีความรุนแรง แต่เม่ือพายุเคลื่อนตัวเข้าสู่
แผ่นดนิ ก็จะเรม่ิ ออ่ นกำลังลง เน่ืองจากไมม่ ีไอน้ำในอากาศมาหล่อเล้ยี งพายุได้เพยี งพอ

2. พายุฝนฟา้ คะนองและพายุหมนุ เขตรอ้ นมกี ระบวนการเกิดและผลกระทบเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………
………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………

3. จากกจิ กรรมสรุปได้ว่าอยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………
…………………………..………………………………………..……………………………………………………………………………………
……………………..………………………………………..…………………………………………………………………………………………
………………..………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………..………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…………………..………………………….…………………………………………………………………………………………..………………
………….…………………………………………………………………………………………..………………………….………………………
…………………………………………………………………..………………………….……………………………………………………………
……………………………..………………………….…………………………………………………………………………………………………
……………………………..………………………….…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………
…………………………..………………………………………..…………………………………………………………………….………………

4

• พายฝุ นฟ้าคะนอง (Thunderstorm) เกิดข้นึ ไดท้ ่วั ทุกภาคของประเทศไทยแต่มกั จะเกดิ ได้บ่อย

ระยะเจริญเตบิ โต ระยะเจริญเติบโตเต็มที่ ระยะสลายตวั
อากาศที่มีอุณหภูมิและความชื้น ยอ ด ข องเม ฆ ป ะท ะกั บ ฝนค่อยๆหมดไป ทำให้ลมที่พัดลงสู่พื้นโลกมี
สูงลอยตัวขึ้น ทำให้มีอาการ ร อ ย ต่ อ ข อ ง ช้ั น โ ท น โ พ ส อัตราเร็วลดลงเมฆเร่มิ สลายตวั
ลดลงของอุณหภูมิตามความสูง เฟี ยร์และชั้นสตราโต ส
แ ล ะ ไ อ น้ ำ ใ น อ า ก า ศ เกิ ด ก า ร เฟี ยร์ ท ำให้ไม่สามารถ
ค ว บ แ น่ น เป็ น ล ะ อ อ ง น้ ำ อ ย่ า ง ลอยตัวสูงขึ้นไปได้อีกยอด
ตอ่ เนอ่ื ง เกิดเป็นเมฆขนาดใหญ่ เม ฆ จึงเกิ ด ก ารแผ่ อ อ ก
ด้านข้างในแนวราบ ต่อมา
เกิดฝนตกหนักลมแรง เกิด
ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า และอาจ
เกิดลูกเห็บตก

 พายุฤดูรอ้ น คอื พายฟุ า้ คะนอง (Thunderstorms) ที่มีความรุนแรง
เกดิ ในช่วงฤดรู อ้ น

ฟ้าผ่าฟ้าแลบและฟ้าร้องเป็นปรากฎการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดจากการถ่ายเทประจุไฟฟ้าจำนวนมาก
ระหว่างวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าซึ่งอาจเกิดข้ึนระหว่างพื้นโลกกับก้อนเฆมหรือระหว่างก้อนเฆมกับพ้ืนดินหมือนกับ
หลกั การที่วา่ ถา้ เอาวตั ถุตา่ งชนดิ มาถูกันจะเกิดอำนาจของไฟฟา้ ขึน้ ในวัตถทุ งั้ สองน้ัน ซ่งึ การท่ีประจเุ คลื่อนที่
จากก้อนเมฆไปสู่ผิวโลกจะเรียกว่า ฟ้าผ่า ถ้าประจุเคลื่อนท่ีจากก้อนเมฆไปยังก้อนเมฆเรียกว่า ฟ้าแลบ และ
ในขณะท่ีประจุไฟฟ้าแหวกผ่านไปในอากาศด้วยอัตราเร็วสูงมันจะผลักดันให้อากาศ แยกออกจากกัน แล้ว
อากาศก็กลบั เขา้ มาแทนทโ่ี ดยฉบั พลนั ทันที ทำใหเ้ กิดเสียงดังล่นั ข้ึน เราเรยี กวา่ ฟ้ารอ้ ง

ฟา้ แลบและฟ้ารอ้ งในพายเุ กิดขึ้นพร้อม ๆ กนั แต่มนษุ ย์เรามองเหน็ ฟ้าแลบก่อนต่อมาจึงไดย้ นิ ฟ้ารอ้ ง
ท้ังน้ี เพราะเหตวุ า่ แสงมีความเร็วมากกวา่ เสยี ง แสงมีอัตราเร็ว 300,000 กิโลเมตรตอ่ วินาที สว่ นเสียงมี
อัตราเร็วประมาณ 1/3 กิโลเมตรตอ่ วินาทีเทา่ นั้น

5

 ฟา้ แลบ เกดิ จาก การแลกเปล่ยี นประจไุ ฟฟา้ ภายในกอ้ นเมฆ หรือระหว่างกอ้ นเมฆ
 ฟา้ ผ่า เกดิ จาก การแลกเปลี่ยนประจไุ ฟฟา้ ระหว่างเมฆควิ มูโลนิมบสั กับพื้นโลก
 ฟ้าร้อง เกิดจาก การขยายตัวอย่างรวดเร็วของอากาศเกิดเป็นเสียงดัง เนื่องจากเมื่อเกิดฟ้าแลบหรือ

ฟ้าผ่าอากาศโดยรอบจะมีอุณหภมู สิ งู มาก และอาจสงู ถงึ 30,000 องศาเซลเซยี ส

• พายหุ มุนเขตร้อนพายหุ มนุ เขตรอ้ น เป็นปรากฏการณธ์ รรมชาติ ท่ีสามารถทำความเสียหายได้รนุ แรงและ
เปน็ บรเิ วณกวา้ งมลี ักษณะเด่น คือ มศี นู ย์กลางหรอื ที่เรียกว่าตาพายุเป็นบริเวณท่ีมลี มสงบ อากาศโปรง่ ใส โดย
อาจมีเมฆและฝนบ้างเลก็ น้อยล้อมรอบดว้ ยพ้ืนทบี่ รเิ วณกว้างรศั มหี ลายร้อยกิโลเมตร ซง่ึ ปรากฏฝนตกหนกั

ดังน้ัน ในบริเวณที่พายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนที่ผ่าน ครั้งแรกจะปรากฏลักษณะอากาศโปร่งใส เมื่อ
ด้านหน้าของพายุหมุนเขตร้อนมาถึงจะ ปรากฏลมแรง ฝนตกหนักและมีพายุฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรงและ
อาจปรากฏพายุทอร์นาโด ในขณะตาพายุมาถึง อากาศจะโปร่งใสอีกครั้ง และเมื่อด้านหลังของพายุหมุนมาถึง
อากาศจะเลวร้ายลงอีกคร้ังและรุนแรงกว่าคร้ังแรกลมพายุเกิดจากบริเวณ 2 บริเวณมีอุณหภูมิแตกต่างกันมาก
เป็นผลทำให้ความกดอากาศต่างกันมาก อากาศจะไหลเร็วขึ้น ถ้าลมพายุพัดวนรอบจุดศูนย์กลาง เราเรียกลม
พายุชนิดน้ีวา่ พายหุ มุน

ตาราง ความเร็วลมสูงสดุ ใกล้ศูนยก์ ลางของพายหุ มุนเขตรอ้ น

ประเภท ความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนยก์ ลาง (km/hr)

1. พายดุ เี ปรสชนั ไมเ่ กิน 63

2. พายุโซนร้อน 63 - 118

3. พายไุ ต้ฝนุ่ มากกวา่ 118

6

จากตารางพายไุ ตฝ้ นุ่ จะมชี ื่อเรียกแตกตา่ งไปตามแหล่งทเี่ กิด เชน่
- เกดิ ในทะเลจนี ใต้ เรียกว่า ไต้ฝุ่น
- เกิดในอ่าวเมก็ ซโิ ก เหนือแถบมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมทุ รแปซิฟิกและทะเล

แครบิ เบยี น เรยี กวา่ เฮอริเคน
- เกิดในแถบทวปี ออสเตรเลีย เรียกวา่ วลิ ลี่ - วลิ ล่ี
- เกดิ ในอ่าวเบงกอล และมหาสมุทรอินเดีย เรียกวา่ ไซโคลน

ภาพ การช่ือเรยี กพายุหมุนเขตร้อนทีแ่ ตกตา่ งกนั ในแตล่ ะบรเิ วณ

• พายุในซีกโลกเหนือและซีกโลกใตแ้ ตกต่างกันอยา่ งไร
พายุทเ่ี กิดในซีกโลกเหนือจะหมนุ ทวนเข็มนาฬิกา สว่ นในซีกโลกใตจ้ ะหมุนตามเข็มนาฬิกาเหตทุ ีท่ ำให้

พายหุ มุนแตกต่างกันน้เี ปน็ ผลจาก "แรงคอริออลสิ " (Coriolis Force) แรงเสมือนทเ่ี กิดข้ึนจากการที่โลก
หมนุ รอบตนเองจากทิศตะวันตกไปยงั ทิศตะวนั ออก สง่ ผลให้ลมในซกี โลกเหนือเบนไปทางขวา ในขณะท่ีลมใน
ซีกโลกใตเ้ บนไปทางซา้ ย ในขณะทีต่ ำแหน่งไมเ่ กนิ 5 องศาเหนอื และใต้จะไมเ่ กิดพายุ เนื่องจากอยู่ใกล้บรเิ วณ
เส้นศนู ยส์ ตู รมากจึงไมม่ ีแรงคอริออลิส

พายเุ ฮอริเคนแมททิว เกดิ ในมหาสมุทรแอตแลนติก

7

พายุไซโคลนวินสตัน เกิดในมหาสมุทรแปซิฟกิ ตอนใต้

ร่วม กนั คดิ 1

1. พายุฝนฟ้าคะนองในระยะใดส่งผลกระทบมากท่สี ุด เพราะเหตใุ ด
..............................................................................................................................................................................
2. เหตใุ ดอากาศที่มคี วามชนื้ เมอ่ื ลอยตัวสูงขึ้นสู่บรเิ วณท่ีมีอุณหภูมิตำ่ กว่า จงึ เกิดการควบแนน่ เป็นละอองนำ้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. พายุลดกำลังลงหรือ สลายตวั เมอ่ื เคล่ือนท่ีเข้าสแู่ ผน่ ดินหรือบริเวณอุณหภมู ิต่ำกวา่ 26-27 องศาเซลเซยี ส ได้
อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. บริเวณขว้ั โลกเกดิ พายหุ มนุ เขตร้อนได้หรือไม่เพราะเหตใุ ด164
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
5. พายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตรอ้ น พายชุ นดิ ใดก่อใหเ้ กิดความเสยี หายมากกวา่ กัน เพราะเหตุใด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

8

เร่ืองที่ 2 การเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศโลก

ภาพท่ี 2 หมขี วั้ โลกไดร้ ับผลกระทบจากการเปล่ยี นแปลงภูมอิ ากาศโลก
ทม่ี า หนงั สอื แบบเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 สสวท

ภาพนำเร่ือง คอื ภาพหมขี ้ัวโลกทีอ่ ยบู่ นแผ่นน้ำแขง็ โดยนำ้ แขง็ ข้ัวโลกมี
การหลอมเหลวและมปี รมิ าณลดน้อยลงทุกปี เนื่องจากการเปลี่ยนแปลง
ภูมิอากาศโลก

ทบทวนความร้กู ่อนเรยี น 2

จับคขู่ อ้ ความท่ีมีความสมั พันธ์กนั 1. อณุ หภูมิอากาศปจั จุบัน
o ปรากฏการณเ์ รือนกระจก 2. องค์ประกอบของส่งิ มชี ีวิต
o แกส๊ เรือนกระจก 3. สง่ ผลให้อุณหภมู ิโลกสงู ขึน้
o ลมฟ้าอากาศ 4. คารบ์ อนไดออกไซด์ , ไอน้ำ
o คาร์บอน

กิจกรรม สืบเสาะ คน้ หา 1 กจิ กรรมท่ี 2 ภูมอิ ากาศเปล่ียนแปลงได้หรือไม่

จดุ ประสงค์ : วเิ คราะห์ และอภปิ รายข้อมลู ภมู อิ ากาศ พร้อมทงั้ อธิบายผลกระทบต่อสงิ่ มชี วี ิตและสง่ิ แวดล้อม
วสั ดแุ ละอุปกรณ์

-
วธิ ีการดำเนินกจิ กรรม
1. จากกราฟวเิ คราะห์ขอ้ มลู และอภปิ รายในประเดน็ ต่อไปน้ี

• การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศภาคพนื้ ผิวเฉล่ยี ของโลกตั้งแต่ปีพ.ศ. 2444 – 2558

• การเปลย่ี นแปลงปริมาณหยาดน้ำฟา้ เฉล่ียของโลกตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2444 – 2558

9

• การเปล่ียนแปลงภมู อิ ากาศของประเทศไทยตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2494 – 2558
2. อภิปรายสรุปรว่ มกนั ในประเด็นภมู อิ ากาศโลกมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่อยา่ งไร และภมู ิอากาศลักษณะ
ดังกลา่ วส่งผลกระทบตอ่ ส่ิงมีชีวติ และส่งิ แวดล้อมอย่างไร

10

คำถามทา้ ยกิจกรรม
1. อุณหภมู ิอากาศเฉลี่ยของโลกมกี ารเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร

มกี ารเปลย่ี นแปลงช่วงปี พ.ศ. 2443 - 2483 อณุ หภูมิอากาศผวิ พน้ื ต่ำกว่าค่าเฉลย่ี ชว่ ง พ.ศ. 2483 -
ก่อนพ.ศ. 2523 มีการเปล่ียนแปลงของอุณหภมู ิอากาศไม่แน่นอน บางชว่ งอุณหภมู สิ งู กว่าคา่ เฉลีย่ บางชว่ ง
อุณหภมู ิตำ่ กว่าคา่ เฉลีย่ และหลัง พ.ศ. 2523 อุณหภมู ิสูงกว่าคา่ เฉลีย่ มาตลอดและมีแนวโนม้ เพ่มิ ข้นึ
2. ปริมาณหยาดนำ้ ฟา้ เฉลี่ยของโลกมีการเปล่ียนแปลงหรือไม่ อย่างไร

มกี ารเปลย่ี นแปลง ช่วงก่อน พ.ศ. 2493 มปี ริมาณหยาดน้ำฟ้านอ้ ยกวา่ ค่าเฉลี่ยแต่หลงั จากนน้ั ปรมิ าณ
หยาดนำ้ ฟ้ามีแนวโน้มสงู กวา่ ค่าเฉลยี่ จนถงึ ชว่ ง พ.ศ. 2523 - 2543 ปรมิ าณหยาดน้ำฟา้ นอ้ ยกวา่ คา่ เฉลีย่ และ
หลังจากปี พ.ศ. 2543 ปริมาณหยาดนำ้ ฟ้ามากกว่าค่าเฉลย่ี
3. อณุ หภูมอิ ากาศเฉลย่ี ของประเทศไทย มีการเปลยี่ นแปลงหรือไม่อยา่ งไร
.................................................................................. ...................................................... ......................................
.................................................................................. ...................................................... ......................................
4. ลักษณะภมู ิอากาศดงั กล่าวส่งผลต่อส่ิงมชี ีวิตใดบา้ ง อย่างไร164
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................. ...................................................... ......................................
.................................................................................. ...................................................... ......................................
5. จากกจิ กรรมสรุปได้วา่ อย่างไร
.................................................................................. ...................................................... ......................................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................. ............................................................................................

➢ เอลนโี ญ – ลานญี า
ลานีญา (สเปน: La Niña) เป็นปรากฏการณ์บรรยากาศมหาสมุทรคู่กนั ซึ่งเกดิ ขึน้ คู่กับเอลนีโญอนั เปน็ สว่ น

หน่ึงของเอลนีโญ-ความผันแปรของระบบอากาศ ในซีกโลกใต้ ในช่วงท่ีเกิดลานีญา อุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเล
ตลอดมหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลางตะวันออกแถบเส้นศูนย์สูตรจะต่ำกว่าปกติ 3-5 °C ชื่อลานีญากำเนิดจาก
ภาษาสเปน หมายถงึ "เดก็ หญิง" คลา้ ยกบั เอลนีโญท่ีหมายถึง "เดก็ ชาย"
ลานีญา หรือท่ีบางทเี รยี กอยา่ งไมเ่ ป็นทางการว่า "แอนติเอลนีโญ" เป็นปรากฏการณ์ตรงกันข้ามกับเอลนีโญ ซึ่ง
ปรากฏการณ์เอลนีโญนี้จะเป็นช่วงท่ีอุณหภูมิพ้ืนผิวน้ำทะเลเพ่ิมสูงขึ้นอย่างน้อย 0.5 °C และผลกระทบของ
ลานีญามักจะตรงกันข้ามกับของเอลนีโญ เอลนีโญเป็นปรากฏการณ์ที่มีช่ือเสียงเนื่องจากสามารถมีผลกระทบ
ร้ายแรงต่อสภาพอากาศของท้งั ชายฝั่งชิลี เปรูและออสเตรเลีย รวมทั้งอีกหลายประเทศ ลานีญามักเกิดข้ึนหลัง
ปรากฏการณเ์ อลนโี ญรนุ แรง ผลกระทบของลานีญาส่วนใหญ่จะตรงข้ามกับของเอลนีโญ ตัวอย่างเช่น
เอลนี โญจะทำใหเ้ กิดชว่ งฝนตกในแถบสหรัฐอเมรกิ าตอนกลางตะวนั ตก ขณะทล่ี านญี าจะทำ ให้ เกิ ด ช่ ว ง
แห้งแล้งในพื้นที่เดียวกัน ส่วนอีกด้านหน่ึงของมหาสมุทรแปซิฟิก ลานีญาทำให้เกิดฝนตกหนัก สำหรับอินเดีย
เอลนีโญมักเป็นสาเหตุของความกังวลเพราะผลของมันตรงกันข้ามกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซ่ึงเคยเกิดขึ้นใน
พ.ศ. 2552 แต่ลานีญา มักเป็นประโยชน์สำหรับฤดูมรสุม โดยเฉพาะอย่างย่ิงในช่วงหลัง แต่ลานีญาซ่ึงปรากฏ
ในมหาสมุทรแปซิฟิกยังอาจทำให้ฝนตกหนักในออสเตรเลีย ซ่ึงเกิดเป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติครั้งร้ายแรงท่ีสุด
ครงั้ หนึ่งโดยพื้นที่สว่ นใหญข่ องรฐั ควนี สแ์ ลนด์จมอยใู่ ตน้ ้ำจาก อุทกภัยอันเกิดจากสัดส่วนผิดปกติหรือถูกพายุ

11

หมุนเขตร้อนพัดถล่ม ซึ่งรวมไปถึงพายุหมุนเขตรอ้ นระดับ 5 ไซโคลนยาซ่ี นอกจากนี้ยังทำให้เกิดความหายนะ
แบบเดียวกนั ในบราซลิ ตะวันออกเฉยี งใตแ้ ละมีสว่ นทำใหเ้ กิดฝนตกหนักและอุทกภัยตามมาในศรีลงั กา

จากปรากฏการณ์เอลนิโญ ซ่ึงเกิดจากการเปลี่ยนทิศทางของลมสินค้าหรือลมท่ีพัดจาก ทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือและลมที่พัดจากทิศตะวันออกเฉียงใต้พัดเข้าหาแนวเส้นศูนย์สูตรในมหาสมุทรแปซิฟิก
เปลยี่ นทิศทาง ทำให้กระแสน้ำอนุ่ ไหลย้อนกลับตามกระแส ส่งผลให้บริเวณท่ีเคยมีกระแสแห้งแล้งและมอี ากาศ
หนาวเย็นมาก่อนกลับมีฝนตกชุกกว่าเดิมและมีสภาพอบอุ่นขึ้นเม่ือเอลนิโญได้ผ่านพ้นไป กระแสน้ำอุ่นก็ไหล
กลับคืนสู่สภาวะปกติในช่วงท่ีกระแสน้ำอุ่นไหลย้อนกลับจะดูดเอาน้ำทะเลที่อยู่ด้านล่าง ซ่ึงมีอุณหภูมิต่ำกว่า
ไหลขึ้นมาแทนทำให้เกดิ ปรากฎการณ์ลานญี าขนึ้ สง่ ผลให้พ้นื ที่บริเวณ น้ันมีสภาพภูมิอากาศหนาวเย็นมากข้ึน
โดยเฉพาะทางฝง่ั ตะวนั ออกของมหาสมทุ ร แปซิฟิก ในแนวเส้นศูนย์สูตรต้องเผชิญกับความหนาวเย็น
ผดิ ปกติ ทำให้ประเทศท่ีเพงิ่ ประสบกบั ภัยแหง้ แล้งจากเอลนิโญเกิดฝนตกชุกกว่าปกติ และมีพายุกอ่ ตัวข้ึนหลาย
คร้ังสำหรับประเทศท่ีได้รับผลกระทบจากลานีญามากท่ีสุด คือ ออสเตรเลีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ตอนล่าง
เนื่องจากอยูใ่ ตเ้ ส้นศนู ย์สตู ร ตรงมหาสมุทรแปซิฟิก แตส่ ำหรบั ประเทศไทยจะไดร้ ับอิทธิพลความชุ่มชื่นจากพายุ
ฝน ท่ีก่อตัวจากมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออกของหมู่เกาะฟิลิปปินส์ ซ่ึงจะเคล่ือนเข้าไทยเป็นประจำ
ประมาณ 3-4 ลูกต่อปี แต่เมื่อเกิดปรากฎการณ์เอลนีโญ พายุก็เปลี่ยนทิศทางข้ึนเหนือ เข้าสู่ทะเลจีนใต้หมด
ทำใหป้ ระเทศไทยและทีอ่ ยแู่ ทบแหลมอินโดยจนี เกดิ ภาวะแห้งแลง้ ในปี 2540 และตอนต้นปี 2541

ปรากฎการณเ์ อลนีโญและลานีญาสง่ ผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร

➢ การเปลยี่ นแปลงอุณหภูมอิ ากาศของโลก

ปัจจุบันโลกของเรามีอุณหภูมิสูงขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งสาเหตุท่ีทำให้อุณหภูมิของโลกเปลี่ยนไปน้ีมีหลาย
ประการไม่ว่าจะเป็นจากธรรมชาติหรือจากฝีมือมนุษย์ แต่สาเหตุท่ีทำให้เกิดการเปล่ียนแปลง อย่างเห็นได้ชัด
นา่ จะมาจากการกระทำของมนุษย์ท้ังอย่างตัง้ ใจและไม่ต้ังใจ

แสงอาทิตย์ เม่ือส่องผ่านบรรยากาศโลกจะเปล่ียนรูปเป็นพลังงานความร้อน ซ่ึงความร้อนจะไม่
สามารถออกไปจากโลกได้ง่าย ความร้อนจะถูกดูดไว้ท่ีผิวโลก ทำให้เกิดความร้อนเหมือนอยู่ในเรือนกระจก
นกั วทิ ยาศาสตร์ให้เหตุผลวา่ ปรากฏการณเ์ ช่น
นจี้ ะทำให้โลกรอ้ นขึ้น เปน็ ผลทำให้น้ำแขง็ ข้วั โลกเหนือ ขั้วโลกใตล้ ะลายระดับนำ้ ทะเล
จงึ สงู ข้ึน เกิดนำ้ ทว่ มไปทัว่ โลกได้

ภาวะโลกร้อน หมายถึง การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศท่ีเกิดจากการกระทำของมนุษย์ ที่ทำให้อุณหภูมิ
เฉลย่ี ของโลกเพิ่มสูงขึ้น เราจงึ เรียกว่า ภาวะโลกร้อน (Global Warming) กิจกรรมของมนุษย์ที่ทำให้เกิดภาวะ
โลกร้อน คือ กิจกรรมที่ทำให้ปริมาณก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศเพิ่มมากข้ึน ได้แก่ การเพิ่มปริมาณก๊าซ
เรือนกระจกโดยตรง เชน่ การเผาไหม้เชื้อเพลิง และ การเพ่ิมปริมาณกา๊ ซเรือนกระจกโดยทางอ้อม คือ การตัด
ไมท้ ำลายปา่ ปรากฏการณ์เรือนกระจก หมายถงึ การทีช่ ้นั บรรยากาศของโลกกระทำตัวเสมือนกระจกที่ยอมให้

12

รงั สคี ลื่นสนั้ จากดวงอาทิตยผ์ า่ นทะลลุ งมายงั ผวิ พื้นโลกได้ แตจ่ ะดูดกลนื รงั สคี ล่ืนยาวท่ีโลกคายออกไปไมใ่ หห้ ลุด
ออกนอกบรรยากาศ ทำให้โลกไม่เย็นจัดในเวลากลางคืน บรรยากาศเปรียบเสมือนผ้าห่มผืนใหญ่ท่ีคลุมโลกไว้
ก๊าซท่ียอมให้รังสีคล่ืนสั้นจากดวงอาทิตย์ผ่านทะลุลงมาได้แต่ไม่ยอมให้รังสีคลื่นยาวท่ีโลกคายอ อกไปหลุดออก
นอกบรรยากาศ เรยี กวา่ กา๊ ซเรอื นกระจก

กา๊ ซเรอื นกระจกท่สี ำคัญ ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทนและกา๊ ซไนตรัสออกไซด์
1. ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ เกดิ จาก การเผาไหมเ้ ช้ือเพลงิ โรงงานอุตสาหกรรม และการตัดไมท้ ำลายป่า
2. กา๊ ซมีเทน เกิดจาก การยอ่ ยสลายซากสิง่ มชี วี ิตในพื้นท่ีทีม่ ีนำ้ ขงั เชน่ นาข้าว
3. ก๊าซไนตรสั ออกไซด์ เกิดจาก อตุ สาหกรรมท่ีใชก้ รดไนตรกิ ในกระบวนการผลิตและการใชป้ ๋ ยุ ไนโตรเจนใน
การเกษตรกรรม

สำหรับ บรรยากาศของโลกประกอบด้วยก๊าซไนโตรเจน 78% ก๊าซออกซิเจน 21% ก๊าซอาร์กอน 0.9%
นอกนั้นเป็นไอน้ำ และกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซดจ์ ำนวนเล็กนอ้ ย แม้วา่ ไนโตรเจน ออกซิเจน และอาร์กอนจะเป็น
องค์ประกอบหลักของบรรยากาศแต่ก็มิได้มีอิทธิพลต่ออุณหภูมิของโลก ในทางตรงกันข้ามก๊าซโมเลกุลใหญ่
เช่น ไอน้ำ คาร์บอนไดออกไซด์ และมีเทน แม้จะมีอยู่ในบรรยากาศเพียงเล็กน้อยกลับมีความสามารถในการ
ดดู กลืนรังสีอินฟราเรด และมีอิทธพิ ลทำให้อณุ หภมู ิของโลกอบอุ่น เราเรียกกา๊ ซพวกนี้ว่า "ก๊าซเรือนกระจก"
(Greenhouse gas) เนอ่ื งจากคุณสมบัตใิ นการเกบ็ กักความร้อน หากปราศจากกา๊ ซเรือนกระจกแล้วพน้ื ผิวโลก
จะมอี ุณหภูมเิ พียง -18 องศาเซลเซยี ส ซึ่งนนั่ ก็หมายความวา่ นำ้ ทั้งหมดบนโลกนี้จะกลายเป็นนำ้ แข็ง

ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นกา๊ ซเรือนกระจกทสี่ ำคญั เนื่องจากถูกปลดปล่อยออกมามากถึงสามในส่ี
ของปริมาณการปลดปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกท้งั หมดกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ไมใ่ ช่ก๊าซพิษ พบได้ในชีวิตประจำ
วันทัว่ ไปโดยมีการหมุนเวียนอยู่ในวฏั จักรคาร์บอน

13

พืชดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศไปใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง และสร้างเป็น
สารประกอบท่ีมีคาร์บอนไดออกไซดเ์ ปน็ องค์ประกอบ เช่น น้ำตาล แป้ง และนำไปเก็บไวต้ ามส่วนตา่ งๆของพืช
เมื่อสงิ่ มีชีวิตอ่ืน เช่นมนุษย์และสัตว์ มากินพืช คาร์บอนจะถูกถ่ายทอดไปยังสิ่งมีชวี ิตดังกล่าว เมอื่ ส่ิงมีชวี ิตตาย
ลงและถูกย่อยสลาย คาร์บอนบางส่วนจะถูกปล่อยเข้าสู่บรรยากาศในรูปก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ บางส่วนจะ
ถกู ทับถมในรูปกลายเป็นเช้ือเพลงิ ฟอสซิล ซึ่งเมื่อถูกนำมาใช้ก็สามารถสลายกลายเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ในบรรยากาศต่อไป การหายใจของส่ิงมีชีวิตทุกชนิดจะปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่บรรยากาศ
เช่นกันนอกจากน้ันก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศถูกดูดซับสะสมในมหาสมุทรและถูกปลดปล่อยสู่
บรรยากาศอีกดว้ ย ในธรรมชาตคิ าร์บอนมีการหมุนเวียนถา่ ยทอดในส่งิ แวดล้อมเปน็ วัฎจักรอยา่ งสมดุล

ร่วม กนั คดิ 2

1. พื้นทท่ี ี่นกั เรียนอาศัยอยู่พบการเปล่ียนแปลงภมู ิอากาศหรอื ไม่อยา่ งไร
พบว่าอุณหภูมิอากาศมีแนวโน้มสงู ข้ึน ระยะเวลาในฤดหู นาวสั้นลงและอณุ หภูมิในฤดูหนาวทส่ี งู ขน้ึ ฤดู

รอ้ นยาวนานข้นึ และมีอุณหภูมิสูงสดุ เพ่ิมขน้ึ
2. เหตใุ ดพชื บางชนิดออกดอกได้ลดลง

พชื บางชนิดออกดอกในชว่ งท่ีอากาศค่อนข้างเยน็ แต่ถา้ ภูมิอากาศเปลีย่ นแปลงไปทำ ใหค้ วามหนาว
เยน็ มาชา้ ไป หรอื อากาศไม่เย็นก็อาจทำให้พืชออกดอกไม่ได้หรือออกดอกได้ลดลงพืชบางชนิด ออกดอกในช่วง
ทีอ่ ากาศค่อนข้างเยน็ แต่ถา้ ภูมอิ ากาศเปล่ียนแปลงไปทำ ให้ความหนาวเย็นมาชา้ ไป หรืออากาศไม่เยน็ กอ็ าจทำ
ให้พืชออกดอกไม่ไดห้ รอื ออกดอกไดล้ ดลง
3. การเปล่ยี นแปลงภูมิอากาศส่งผลต่อการระบาดของไข้เวสต์ไนลอ์ ย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. คารบ์ อนมเี สน้ ทางการหมุนเวียนในสิง่ มชี ีวิตและสงิ่ แวดล้อมอยา่ งไรบา้ ง

คารบ์ อนถกู ปลดปล่อยสบู่ รรยากาศจากการหายใจของสิ่งมีชีวติ การปลอ่ ยแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์
จากโรงงานออกสบู่ รรยากาศ ต้นไม้ใชแ้ กส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ในการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง คาร์บอนสว่ นหนึง่
ละลายอย่ใู นนำ้ ทะเล สิ่งมชี วี ิตเมอื่ ตายลงคาร์บอนกจ็ ะถูกฝังอย่เู มื่อเวลาผา่ นไปจะเกดิ เป็นนำ้ มนั ถ่านหิน และ
แกส๊ ธรรมชาติ ซ่งึ มนุษยน์ ำมาใช้เป็นพลงั งานในการทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ เชน่ เป็นเชอื้ เพลงิ ในยานพาหนะ
เช้อื เพลิงในโรงไฟฟ้าหรือโรงงานอุตสาหกรรมได้
5. กิจกรรมใดบา้ งทีท่ ำให้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ถูกปลดปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
6. กจิ กรรมใดบ้างทที่ ำให้แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ถูกดึงออกจากช้นั บรรยากาศ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ขนั้ นาปัญญาพฒั นาความคิด 14

คดิ แบบนักวทิ ย์

กิจกรรม ฝึ กทา : ฝึ กสร้าง

ให้นกั เรียนนำเสนอผังมโนทัศน์สรปุ องคค์ วามรใู้ นบทเรยี น
มนุษย์และการเปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศ

พายุฝนฟา้ คะนอง ได้แก่
ไดแ้ ก่

พายุ

ไดแ้ ก่

ได้แก่
การเปลยี่ นแปลงภมู ิอากาศโลก

มี มี
สถาสนถกาานรกณาท์ รณ่เี ก์ทิดเ่ี กดิ ผลกระทบในด้านตา่ งๆ

เชน่ เชน่ เชน่

ภมู ิอากาศโลก
สูงขน้ึ

15

กิจกรรม คิดดี ผลงานดี มีความสขุ

ขน้ั นาปัญญาพฒั นาตนเอง

จากสถานการณ์ “ปฏบิ ัติตนอยา่ งไรเพ่ือรับมือกับการเปล่ยี นแปลงภูมอิ ากาศในโลกอนาคต” (10 คะแนน)

จุดประสงค์ 1. ออกแบบนวตั กรรมทใ่ี ชภ้ ายใตส้ ถานการณ์การเปลยี่ นแปลงภมู ิอากาศโลก
2. เสนอแนวทางการปฏิบัติตนภายใต้สถานการณ์การเปล่ียนแปลงภมู ิอากาศโลก

วัสดุและอุปกรณ์
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ผลการทำกิจกรรม
เลอื กออกแบบนวตั กรรมเพื่อรับมือกบั ผลกระทบทเ่ี กิดจากการเปล่ียนแปลงภมู ิอากาศโลก
ชอ่ื นวตั กรรม...............................................................................
รูปชน้ิ งาน

16

1. นวัตกรรมท่ชี ่วยลดปจั จยั ท่ีส่งผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงภมู ิอากาศนั้นลดปัจจัยดา้ นใด และลดปัจจัยได้อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................... .........................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. นวัตกรรมท่ีใชภ้ ายใตส้ ถานการณ์การเปลี่ยนแปลงภูมอิ ากาศโลกนน้ั ออกแบบเพอ่ื รบั มือกับผลกระทบใด
และใชป้ ระโยชน์ได้อยา่ งไร
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................. ................................................................
..................................................................................................................................................................... .........
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................. .............................................................................
........................................................................................................................................................ ......................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................... ..........................................................................................

3. จากกจิ กรรมสรุปแนวทางการปฏบิ ตั ติ นภายใตส้ ถานการณก์ ารเปล่ยี นแปลงภูมิอากาศโลกได้ว่าอยา่ งไร

..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................. ............................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................... .........................................................
............................................................................................................................................................................ ..
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................ ......................................................................
............................................................................................................................................................... ...............
..............................................................................................................................................................................

17

เกณฑ์การประเมนิ ดมี าก (5 คะแนน) ดี (3 คะแนน) พอใช้ (1 คะแนน)
รายการประเมนิ
นำเสนอแนวทางใน นำเสนอแนวทางในการ นำเสนอแนวทางในการ
การนำเสนอแบบร่าง
การออกแบบนวตั กรรม ออกแบบนวัตกรรมเพ่ือ ออกแบบนวัตกรรมเพ่ือ
ประสทิ ธภิ าพ
นวตั กรรมเพ่ือรับมือ เพอ่ื รบั มือกบั ผลกระทบ รับมอื กบั ผลกระทบทเี่ กิด รับมอื กบั ผลกระทบที่เกิด
กบั ผลกระทบทีเ่ กิด
จากการเปลี่ยน ท่ีเกิดจากการเปลยี่ น จากการเปล่ียนแปลง จากการเปล่ียนแปลง
แปลงภมู อิ ากาศโลก
การปรับปรงุ ช้นิ งาน แปลงภูมิอากาศโลก ภูมอิ ากาศโลกได้ถูกต้องแต่ ภมู ิอากาศโลกได้ถูกต้อง

อาจจะไมค่ รบถว้ น บางส่วนและอาจมีแนวคิด

คลาดเคลือ่ น

อปุ กรณ์ในการสร้าง อุปกรณ์ในการสรา้ ง อปุ กรณ์ในการสร้าง

นวตั กรรมเพ่ือรบั มือกบั นวตั กรรมเพ่ือรับมือกับ นวตั กรรมเพื่อรบั มือกับ

ผลกระทบทเี่ กิดจากการ ผลกระทบท่เี กิดจากการ ผลกระทบที่เกดิ จากการ

เปลยี่ นแปลงภูมอิ ากาศ เปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศโลก เปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศ

โลก ไดเ้ ปน็ สว่ นใหญ่ โลกไดบ้ ้าง

วิเคราะหข์ ้อบกพร่องใน วิเคราะห์ข้อบกพร่องใน วิเคราะหข์ ้อบกพรอ่ งใน

ชน้ิ งานได้ พร้อมเสนอวิธี ชนิ้ งานได้ พร้อมเสนอ ชนิ้ งานได้ แต่ไม่นำเสนอ

แกไ้ ขชิ้นงานโดยใชค้ วาม วธิ แี ก้ไขช้ินงานโดยใชค้ วามรู้ วธิ ีแก้ไขชิน้ งาน

ร้เู กี่ยวกบั การเปลยี่ น เก่ยี วกบั การเปลีย่ นแปลง

แปลงภูมอิ ากาศโลกหรอื ภูมิอากาศโลกหรือความรู้

ความรู้วทิ ยาศาสตร์อน่ื ๆ วทิ ยาศาสตร์อื่น ๆ ได้โดย

ไดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ลได้ดว้ ย การชี้แนะของครู

ตนเอง

18

แบบประเมินตนเองหลังเรียน

คำชี้แจง : ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามต่อไปน้ี ใช้เวลา 10 นาที

1. เราใช้เกณฑ์ในข้อใดจำแนกชนิดของพายุหมนุ เขตร้อน

ก. บริเวณทอ้ งถนิ่ ทเ่ี กิด ข. ความเร็วลมสงู สุดใกลศ้ ูนย์กลาง

ค. ความเร็วในการเคลื่อนที่ของพายุ ง. ความกว้างของรัศมกี ารพัดรอบศนู ย์กลาง

2. จากภาพ ข้อความใดแสดงกระบวนการในวัฏจักรคารบ์ อนได้ถูกตอ้ ง

ก. A คือกระบวนการหายใจ ข. B คอื การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง

ค. C คอื กระบวนการหายใจ ง. D คอื การสงั เคราะห์ด้วยแสง

3. พจิ ารณาข้อความตอ่ ไปนี้

A. อณุ หภูมิอากาศสง่ ผลต่อการเกิดเมฆ

B. ปรมิ าณเมฆปกคลุมส่งผลต่ออุณหภมู ิอากาศ

C. ไอน้ำในอากาศทรี่ วมตวั กนั อยา่ งหนาแนน่ เกดิ เปน็ เมฆ

ขอ้ ความใดถูกต้อง

ก. A และB ข. A และC ค. B และ C ง. A B และC

4. จากภาพ อตั ราเรว็ ลมในบริเวณใดมีค่าน้อยทีส่ ดุ

ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4

5. เหตกุ ารณใ์ ดไม่ไดเ้ ปน็ ผลมาจากการเปล่ียนแปลงภมู อิ ากาศโลก

ก. การกดั เซาะชายฝงั่ เพม่ิ มากข้นึ ข. จำนวนวนั ท่ีฝนตกหนกั มเี พ่ิมขน้ึ

ค. กลางวันมคี วามยาวนานขึ้น ง. ดอกไม้บางพนื้ ทบ่ี านเรว็ ขึ้น

ใช้ขอ้ มูลต่อไปน้ี ตอบคำถามขอ้ 6-7

19

ชว่ งเวลาการหลอมเหลวของน้ำแขง็ ในทะเลอารก์ ติก ทะเลอารก์ ติกบางสว่ นปกคลุมด้วยน้ำแขง็ ตลอด
ทงั้ ปี อยา่ งไรก็ตามนำ้ แขง็ ดังกลา่ วจะมกี ารหลอมเหลวและแข็งตวั ขึน้ อยู่กบั ฤดูกาล ศูนย์ข้อมูลหมิ ะและนำ้ แข็ง
แหง่ ชาติสหรัฐเก็บขอ้ มูลการหลอมเหลวของน้ำแขง็ ในทะเลอาร์กติก โดยวนั ท่ีน้ำแขง็ เริ่มต้นการหลอมเหลวและ
ส้ินสุดการหลอมเหลวในแต่ละปี แสดงไดด้ งั กราฟ

6. จากข้อมลู ในสถานการณ์ที่กำหนดให้ สามารถลงข้อสรปุ ตอ่ ไปนี้ ไดห้ รือไม่ได้ จงเขียนวงกลมล้อมรอบคำว่า

“ได”้ หรือ “ไมไ่ ด้” ในแตล่ ะข้อสรุป

ข้อสรุป ได้หรอื ไมไ่ ด้

6.1 ระยะเวลาการหลอมเหลวของนำ้ แข็งในแตล่ ะปยี าวนานขนึ้ ได/้ ไมไ่ ด้

6.2 ปรมิ าณน้ำแขง็ ในทะเลอารก์ ตกิ ลดลง ได/้ ไมไ่ ด้

7. ปริมาณนำ้ แข็งปกคลุมบริเวณทะเลอาร์กติก ในเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2522 และ 2558 ควรเปน็ อย่างไร
เมอื่ เทยี บกับเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2522 และ 2558 ตามลำดับ เพราะเหตุใด
…ป…ร…ิมา…ณ…น…้ำ…แข…็ง…ป…ก…คล…มุ …บ…ร…เิ ว…ณ…ท…ะเ…ล…อ…าร…์ก…ติก……ใน…เ…ดอื…น…พ…ฤ…ษ…ภ…าค…ม…ป…ี …พ….ศ…. …25…2…2…ค…ว…รม…ปี …ร…ิมา…ณ…ม…า…ก…กว…่า…ใน…เ…ดือ…น…
…ก…ัน…ยา…ย…น…ป…ี …พ.…ศ…. 2…5…2…2…แ…ละ…ป…ร…มิ …าณ…น…ำ้…แ…ข…็ง…ปก…ค…ล…ุม…บ…ริเ…วณ……ทะ…เ…ลอ…า…ร…ก์…ต…ิก…ใน…เ…ด…ือน…พ…ฤ…ษ…ภ…าค…ม……ปี…พ….ศ….…2…55…8…
…ค…วร…ม…ี ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ปรมิ าณมากกวา่ ในเดอื นกนั ยายน ปี พ.ศ. 2558 เน่ืองจากเป็นช่วงเร่ิมต้นของการหลอมเหลวของน ำ้ แขง็
8อ.ยก่าางรไเรกบ็ ข้อมลู เก่ียวกบั การหลอมเหลวของน้ำ แขง็ ขั้วโลก มีหลากหลายวิธี เชน่ การใชด้ าวเทียม การเกบ็
ขกอ้ ต็ มาูลมจาปกรสมิ ถาาณนนท ีจ่ รำ้ ิงแกขาง็ ปรตกิดคตลงั้มุ สเถดาือนีตพรฤวษจภวดัาคขม้อปสรี พุป.ใศด.ถ2ูก5ต2้อ2งควรมปี ริมาณมากกว่า ปี พ.ศ. 2558

20

ก. การเก็บข้อมลู เพอ่ื ศึกษาการหลอมเหลวของนำ้ แขง็ ขวั้ โลก ควรเกบ็ ข้อมลู จากบรเิ วณขั้วโลกก็
เพียงพอ
ข. การเกบ็ ข้อมูลไมจ่ ำเปน็ ต้องใชน้ กั วิทยาศาสตร์เท่านน้ั บุคลากรในท้องถ่ินสามารถเก็บข้อมลู ได้
ค. การเก็บข้อมูลจากดาวเทยี มกใ็ หข้ ้อมูลที่ครบถว้ นเพยี งพอ ไมจ่ ำเป็นตอ้ งเก็บข้อมลู ดว้ ยวิธกี ารอ่ืน
ง. ปจั จยั ทสี่ ่งผลใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงของน้ำแขง็ ขั้วโลกแตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะฤดู จงึ ควรเปล่ียน
วธิ กี ารตรวจวัดองค์ประกอบลมฟา้ อากาศทุกฤดู

คะแนนเต็ม 8 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

เอกสารอ้างอิง
ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ และ คณะ . (2551). ส่ือการเรยี นร้แู ละเสริมสรา้ งทกั ษะตามมาตรฐานและ

ตัวช้วี ัดชนั้ ปกี ลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ เลม่ 1. กรงุ เทพฯ.นิยมวิทยา.
สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ,สถาบัน. คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 1 ชั้น

มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 เล่ม 1. (2553). กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พค์ รุ ุสภาลาดพรา้ ว.
สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี , (2553). สถาบนั .หนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ 1 ชน้ั

มัธยมศึกษา ปีท่ี 1 เล่ม 1 .กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรสุ ภาลาดพร้าว.
ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี , (2561). สถาบัน.หนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ เล่ม2 ช้ัน

มัธยมศึกษา ปที ี่ 1 เล่ม 2 .กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พค์ ุรสุ ภาลาดพรา้ ว.


Click to View FlipBook Version