The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรรายวิชาวิทยาศาสตร์2_64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2021-10-29 10:59:21

หลักสูตรรายวิชาวิทยาศาสตร์2_64

หลักสูตรรายวิชาวิทยาศาสตร์2_64

1
a

หลกั สูตรรายวชิ า

(Course Development)

รหัสวิชา.... ว 21102...รายวิชา....วทิ ยาศาสตร.์ .2.......
จำนวน....1.5.... หน่วยกิต ....3..... คาบ/ สัปดาห์
ภาคเรียนท่ี ...2... ปกี ารศึกษา …2564…..

จัดทำโดย

.........นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รตั น์.........

ตำแหนง่ ....ครูชำนาญการพเิ ศษ...........

กลมุ่ สาระการเรียนรู้.....วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี......

โรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม แขวงศิริราช เขตบางกอกนอ้ ย กรงุ เทพมหานคร
สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

2

คำนำ

หลักสูตรรายวิชาฉบับน้ีจัดทำขึ้นเพ่ือเตรียมการในการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ 2 รหัสวิชา
ว 21102 โดยครูผู้สอนได้ทำการศึกษาและวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับ
ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ตามสาระและมาตรฐานการ
เรียนรู้ ตัวชว้ี ัด/ผลการเรียนรู้ และจัดทำคำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา กำหนดเวลาเรยี น น้ำหนักคะแนน
กำหนดทกั ษะกระบวนการในการเรียนการสอนตลอดจนการวัดและประเมินผลการเรียนการสอนของครู

ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างย่ิงว่าจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้และยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นของผู้เรยี นโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร
เขต 1 ต่อไป

นางสาวอโนชา อุทมุ สกลุ รัตน์
ชื่อผ้จู ดั ทำ

3

1. หลกั การและจุดมงุ่ หมายของหลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน 2551

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน มุง่ พฒั นาผ้เู รียนทกุ คน ซึ่งเปน็ กำลงั ของชาติให้เป็นมนษุ ย์ทม่ี คี วาม
สมดุลท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมน่ั ในการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข มีความร้แู ละทกั ษะพ้ืนฐาน รวมท้งั เจตคติ ที่จำเป็นต่อ
การศกึ ษาตอ่ การประกอบอาชพี และการศกึ ษาตลอดชวี ิต โดยมงุ่ เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญบนพนื้ ฐานความเช่ือว่า
ทุกคนสามารถเรยี นรู้และพฒั นาตนเองได้เตม็ ตามศกั ยภาพ

หลักการ
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน มหี ลกั การทส่ี ำคญั ดงั นี้
1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็น

เป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทย
ควบคกู่ บั ความเปน็ สากล

2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี
คณุ ภาพ

3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้
สอดคลอ้ งกบั สภาพและความต้องการของท้องถิ่น

4. เป็น หลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นท้ังด้ าน สาระการเรียนรู้ เวลาและการจัด
การเรยี นรู้

5. เป็นหลักสตู รการศกึ ษาท่ีเน้นผ้เู รยี นเป็นสำคญั
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กล่มุ เป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์

จดุ หมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒ นาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญ ญ า มีความสุข

มีศกั ยภาพในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชพี จึงกำหนดเป็นจดุ หมายเพ่อื ใหเ้ กิดกับผูเ้ รียน เมือ่ จบการศึกษาขั้น
พ้นื ฐาน ดงั น้ี

1. มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทตี่ นนับถอื ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2. มคี วามรู้ ความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแก้ปญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทกั ษะชวี ติ
3. มสี ุขภาพกายและสุขภาพจติ ท่ีดี มีสขุ นสิ ัย และรักการออกกำลังกาย
4. มีความรกั ชาติ มีจติ สำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่นั ในวิถชี ีวติ และการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ

4

5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิต
สาธารณะทม่ี ุ่งทำประโยชน์และสรา้ งสง่ิ ที่ดีงามในสังคม และอยรู่ ว่ มกนั ในสังคมอยา่ งมีความสขุ

2. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน มุ่งให้ผูเ้ รียนเกิดสมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดงั นี้
1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเองและสงั คม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา
ความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้
วิธกี ารสอื่ สาร ท่ีมีประสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบท่ีมีต่อตนเองและสงั คม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพอ่ื นำไปสู่การสรา้ งองคค์ วามรูห้ รือสารสนเทศเพ่ือ
การตดั สนิ ใจเก่ยี วกับตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เปน็ ความสามารถในการแกป้ ัญหาและอุปสรรคต่างๆ ทเ่ี ผชิญได้อยา่ ง
ถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
และมีการตัดสนิ ใจท่มี ีประสิทธิภาพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบท่เี กดิ ขึ้นตอ่ ตนเอง สังคมและส่ิงแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต เปน็ ความสามารถในการนำกระบวนการตา่ งๆ ไปใช้ในการดำเนิน
ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ
สร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหวา่ งบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรับตวั ให้
ทนั กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรจู้ ักหลีกเลี่ยงพฤตกิ รรมไม่พึงประสงค์ทส่ี ง่ ผลกระทบ
ต่อตนเองและผูอ้ ่นื
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การ
แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม

3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน มุ่งพฒั นาผูเ้ รียนให้มคี ณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เพ่อื ใหส้ ามารถ
อยูร่ ่วมกบั ผอู้ นื่ ในสังคมได้อย่างมีความสขุ ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้

1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2. ซ่ือสัตยส์ จุ ริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรยี นรู้
5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง

5

6. มุ่งมน่ั ในการทำงาน
7. รกั ความเปน็ ไทย
8. มจี ติ สาธารณะ

4. วสิ ยั ทัศน์ของโรงเรยี น

โรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม เปน็ โรงเรียนสง่ เสริมทักษะการคดิ เพอ่ื พัฒนาผู้เรียนใหม้ คี วามรู้
คูค่ ุณธรรม บนพื้นฐานความเปน็ ไทยและหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พนั ธกจิ

1) จัดการเรียนการสอนเพือ่ พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น
2) พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
3) การบริหารจัดการสถานศกึ ษา
4) พัฒนาชมุ ชน สงั คม ธำรงสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์

เปา้ ประสงค์
1) ผเู้ รียนมีคุณสมบัติตามมาตรฐานนักเรยี นโรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม 10 ข้อ ได้แก่ ทดแทนบุญคุณ

บิดามารดา มาโรงเรียนเช้า เข้าห้องเรียนเสมอ พบเจอครูเคารพ คบหาเพ่ือนดี สามัคคีหมู่คณะ ละเลิกส่ิงช่ัว
ประพฤตติ วั ดี มนี ำ้ ใจ ให้เกยี รติกัน และมีคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลกั สตู ร

2) ผูเ้ รียนมีสว่ นรว่ มในการสืบสาน อนุรักษ์ ประเพณี และวัฒนธรรมไทย
3) ผู้เรยี นนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ติ
4) ผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางวิชาการ ส่ือสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ผลิตผลงาน
สร้างสรรค์ และร่วมกนั รับผดิ ชอบสงั คม
5) ผู้เรียนมีสุขภาพพลานามัยแข็งแรง จิตใจร่าเรงิ แจ่มใส มีสุขภาพจติ ที่ดี ปลอดจากสิ่งเสพติด อบายมุข
และโรคเอดส์
6) ครูออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา
ตามศักยภาพ
7) ครูและบคุ ลากรมีความรู้และจรยิ ธรรม มีศักยภาพในหน้าทีข่ องตน
8) สถานศึกษามีสภาพแวดล้อมและการบรกิ ารทเี่ อ้ือต่อการเรียนรู้
9) สถานศึกษามกี ารบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ
10) มีการประสานงานกับคณะกรรมการสถานศึกษาฯ สมาคมศิษย์เก่า เครือข่ายผู้ปกครอง และ
หน่วยงานอื่นๆทเ่ี กย่ี วข้อง เน้นการมสี ่วนร่วมของผู้เกีย่ วขอ้ งทกุ ฝ่ายในการพฒั นาโรงเรียน

6

5. การกำหนดโครงการสอน/คำอธบิ ายรายวชิ า

โครงการสอนรายวชิ า
รหสั วิชา ว21102 รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ 2
จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ 3 คาบ/ สปั ดาห์ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

สาระ/มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั (แกนกลาง)
สาระท่ี 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ
สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร
การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี

มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวติ ประจำวนั ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะการ
เคลื่อนทแ่ี บบตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมท้ังนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งสสารและพลังงาน พลังงานในชวี ิตประจำวัน ธรรมชาติของคลืน่ ปรากฏการณ์ท่ีเก่ียวข้องกับ
เสยี ง แสง และคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้ารวมท้ังนำความร้ไู ปใช้ประโยชน์
สาระที่ 3 วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลง
ภายในโลกและบนผิวโลกธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลต่อ
ส่งิ มชี วี ติ และสิง่ แวดล้อม

คำอธบิ ายรายวชิ า (ดรู ายละเอยี ดจากหลักสูตร)
ศกึ ษาวิเคราะห์ความร้อนกับการเปล่ยี นแปลงของสสาร การถา่ ยโอนความรอ้ น ลมฟ้าอากาศรอบตวั

มนุษย์กับการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศ ทั้งน้ีโดยใช้ โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภิปรายและ
วเิ คราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อ ปัญหาหรือความต้องการ รวบรวม วเิ คราะห์ข้อมูลและแนวคิดท่ีเก่ียวข้อง
กับปัญหา ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำเป็นนำเสนอแนว
ทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่อง ท่ี
เกิดขึ้น พร้อมทั้งหำแนวทางการปรับปรุงแก้ไข เพ่ือแก้ปัญหา และใช้เทคโนโลยีได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และ
ปลอดภัย

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสง่ิ ทเ่ี รียนรู้ มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจ
การแก้ปัญหา การนำความรไู้ ปใช้ในชีวติ ประจำวัน มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มที่เหมาะสม

7

มาตรฐานการเรียนรู้ (ดรู ายละเอยี ดจากหลกั สตู ร)
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ

สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร
การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี

มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชวี ิตประจำวัน ผลของแรงท่ีกระทำต่อวัตถุ ลักษณะการ
เคล่ือนทีแ่ บบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมท้ังนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน
ปฏิสัมพันธร์ ะหวา่ งสสารและพลังงาน พลังงานในชวี ิตประจำวัน ธรรมชาติของคลืน่ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ
เสียง แสง และคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้ารวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลง
ภายในโลกและบนผิวโลกธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลต่อ
สงิ่ มีชวี ิตและสงิ่ แวดลอ้ ม

ตัวชี้วัด หรอื ผลการเรียนรู้
ว 2.1 ม.1/9 ม.1/10
ว 2.2 ม.1/1
ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7
ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7
รวมตัวชวี้ ัด 17 ตวั ชี้วัด

6. ตารางโครงสร้างรายวชิ า

ลำดับ ชอ่ื หนว่ ยการ ตัวชี้วัดหรอื สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั
(ชั่วโมง) คะแนน
ท่ี เรียน ผลการเรียนรู้

1 พลังงานความ ว 2.1 ม.1/9 ม.1/10 พลงั งานความรอ้ นกับการเปลีย่ น 33 30

ร้อน ว 2.2 ม.1/1 สถานะของสสารความสมั พันธ์

ว 2.3 ม.1/1 ระหวา่ งความดันอากาศกับความ

ว 2.3 ม.1/2 สูงจากพ้ืนโลก

ว 2.3 ม.1/3 คำนวณปรมิ าณความร้อนทท่ี ำให้

ว 2.3 ม.1/4 สสารเปลี่ยนอณุ หภมู แิ ละ

ว 2.3 ม.1/5 เปล่ียนสถานะ โดยใช้สมการQ

ว 2.3 ม.1/6 = mcΔt และ Q = mL

ว 2.3 ม.1/7 การขยายตวั หรอื หดตัวของสสาร

การนำความร้อน การพาความ

8

รอ้ น การแผ่รงั สีความร้อน

สอบกลางภาค 1 20
30
2 กระบวนการ ว 3.2 ม.1/1 การแบ่งชั้นบรรยากาศ และ 27
20
เปลีย่ นแปลง ว 3.2 ม.1/2 เปรยี บเทยี บประโยชน์ของ -
100
ลมฟา้ อากาศ ว 3.2 ม.1/3 บรรยากาศแต่ละชนั้

ว 3.2 ม.1/4 ปจั จยั ท่มี ีผลต่อการเปล่ยี นแปลง

ว 3.2 ม.1/5 องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ

ว 3.2 ม.1/6 เปรยี บเทียบกระบวนการเกดิ พายุ

ว 3.2 ม.1/7 ฝนฟ้าคะนองและพายุหมนุ เขต

รอ้ น

การพยากรณอ์ ากาศ

สอบปลายภาค 1

จิตพิสยั -
รวม 60

อตั ราส่วนคะแนน

คะแนนเก็บระหวา่ งภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20

K : P : A = 40 : 60 : …-..

รวม 100 คะแนน

คะแนนเก็บก่อนสอบกลางภาค = 30 คะแนน

สอบกลางภาค = 20 คะแนน

คะแนนเกบ็ ก่อนสอบปลายภาค = 30 คะแนน

คณุ ลกั ษณะ / จิตพิสยั = - คะแนน

สอบปลายภาค = 20. คะแนน

รวม 100 คะแนน

7. การกำหนดโครงการสอนและกจิ กรรมตลอดภาคเรยี น

สปั ดาห/์ หนว่ ยการเรยี นร/ู้ เนือ้ หา ตัวชี้วัด/ กจิ กรรม / เวลา
แผนการ ผลการเรียนรู้ กระบวนการเรยี นรู้ (ช่วั โมง)
เรยี นรู้ท่ี
19
1-4 หนว่ ยพลังงานความรอ้ น ว 2.1 ม.1/9 ม.1/10 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ความร้อน -แบบจำลองอนุภาคของ ว 2.3 ม.1/1 , 1/2 -การสร้างแบบจำลอง
กับการ สสาร ,1/3 ,1/4 ,1/5 -การทดลอง

9

เปลย่ี นแปลง -ความรอ้ นกบั การ ว 2.3 ม.1/5 ,1/6 -การคดิ คำนวณ 14
ของสสาร เปลยี่ นแปลงอณุ หภูมขิ อง 1/7 -การจำแนกประเภท 20

สสาร กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 7
-การสรา้ งแบบจำลอง
-ความร้อนกับการขยายตัว -การทดลอง
หรือหดตัวของสสาร -การคดิ คำนวณ
-การจำแนกประเภท
ความรอ้ นกบั การเปลีย่ น กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
สถานะของสสาร -การสรา้ งแบบจำลอง
-การทดลอง
5-7 หนว่ ยพลังงานความรอ้ น -การหาความสมั พนั ธ์
การถ่ายโอน -การถา่ ยโอนความรอ้ นใน -การจำแนกประเภท
ความรอ้ น ชีวิตประจำวัน -การคิดคำนวณ

-สมดุลความร้อน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
-การสร้างแบบจำลอง
8-14 หนว่ ย กระบวนการ ว 3.2 ม.1/1 ,1/2, -การทดลอง
ลมฟา้ เปล่ียนแปลงลมฟา้ อากาศ 1/3,1/4 , 1/5 -การหาความสัมพันธ์
อากาศ -บรรยากาศ -การจำแนกประเภท
รอบตัว -อุณหภมู อิ ากาศ ว 3.2 ม.1/3,1/6 , -การคดิ คำนวณ
1/7
-ความกดอากาศและลม
-ความชน้ื
-เมฆและฝน
-การพยากรณอ์ ากาศ

15-16 หน่วย กระบวนการ
มนษุ ย์และ เปลีย่ นแปลงลมฟ้าอากาศ

การ -พายุ
เปลี่ยนแปลง -การเปลย่ี นแปลงภมู ิอากาศ

ลมฟา้ โลก
อากาศ

8. แผนการวดั ผลและภาระงาน

แนวการวัดผล อัตราสว่ น คะแนนระหวา่ งภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20

อัตราสว่ น คะแนน K : P : A = 40 : 60 : .....-.......

10

แผนการวดั ผล คะแนน วิธีวดั ชนดิ ของเครื่องมอื ตวั ชวี้ ัด/ผลการ เวลาทใี่ ช้
การประเมนิ เรยี นรขู้ อ้ ที่ (นาท/ี ครั้ง)
30 สืบค้นขอ้ มลู
ก่อนกลางภาค อภปิ รายกลุ่ม ชุดกิจกรรม ว 2.1 ม.1/10 50 นาท/ี ครง้ั

พลงั งานความรอ้ น ว 2.3 ม.1/1 ,

1/2 ,1/3 ,1/4

,1/5 , 1/6 1,7

กลางภาค 20 สอบ แบบวัดผลสมั ฤทธิ์ ว 2.1 ม.1/10 60 นาที/ครั้ง

ว 2.2 ม.1/1

ว 2.3 ม.1/1 ,

1/2 ,1/3 ,1/4

,1/5 ,1/5 1/6

1,7

หลังกลางภาค 30 สืบค้นข้อมลู ชดุ กจิ กรรม ว 3.2 ม.1/1 50 นาที/ครง้ั
อภปิ รายกลมุ่
กระบวนการ ,1/2, 1/3 1/4 ,

เปลยี่ นแปลงลมฟ้า 1/5 1/6 , 1/7

อากาศ

คุณลักษณะ / -- -- ตลอด
จิตพสิ ยั 20 สอบ
ปลายภาค ภาคเรียน

แบบวดั ผลสมั ฤทธิ์ ว 3.2 ม.1/1 60 นาที/คร้ัง

,1/2, 1/3 1/4 ,

1/5 1/6 , 1/7

รวม 100 คะแนน

การกำหนดภาระงานนักเรียน

ในการเรียนรายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ 2 ได้กำหนดให้นกั เรยี นทำกจิ กรรม/ ปฏบิ ตั ิงาน(ช้นิ งาน) 5 ช้นิ ดังน้ี

ท่ี ชือ่ งาน ตวั ชี้วัด/ผลการเรยี นรูข้ ้อที่ ประเภทงาน กำหนดส่ง
กลุ่ม เดี่ยว วนั /เดอื น/ปี

1 รายงานกจิ กรรม แบบจำลอง ว 2.1 ม.1/9, ม.1/10 √ ธ.ค 64

อนุภาคของสสารในแต่ละ

สถานะเปน็ อย่างไร

2 รายงานกิจกรรม ปัจจยั ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 √ 11
ใดบา้ งทม่ี ีผลต่อการ ธ.ค 64
เปล่ยี นแปลงอุณหภูมิ √
ของสสาร √ ธ.ค 64
√ ธ.ค 64
3 รายงานกจิ กรรม ความรอ้ น ว 2.3 ม.1/3 ม.1/4 √ ม.ค 65
ส่งผลตอ่ สารแต่ละสถานะ √ ม.ค 65
อยา่ งไร √ ม.ค 65
√ ก.พ 65
4 รายงานกจิ กรรม ความร้อน ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 √ ก.พ 65
ทำให้สสารเปลีย่ นสถานะได้ √ ก.พ 65
อยา่ งไร √ ก.พ 65
√ ก.พ 65
5 รายงานกิจกรรม ความรอ้ น ว 2.3 ม.1/6 ก.พ 65
ถา่ ยโอนผา่ นของแข็งได้
อยา่ งไร

6 รายงานกจิ กรรม การถ่าย ว 2.3 ม.1/6
โอนความร้อนของของเหลว
และแก๊สเปน็ อย่างไร

7 รายงานกจิ กรรม การถา่ ย ว 2.3 ม.1/6 ม.1/7
โอนความร้อน

8 รายงานกจิ กรรม บรรยากาศ ว 3.2 ม.1/1
ของโลกเปน็ อยา่ งไร

9 รายงานกจิ กรรมที่ 6.2 ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2
อณุ หภูมิอากาศเปล่ียนแปลง
อยา่ งไร

10 รายงานกจิ กรรม อากาศมี ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2
แรงกระทำตอ่ วัตถุอย่างไร

11 รายงานกจิ กรรม เหตุใดลม ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2
จึงเคลอ่ื นทเ่ี ร็วต่างกนั

12 รายงานกจิ กรรม ปัจจยั ที่มี ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2
ผลตอ่ ความชน้ื สมั พทั ธ์มี
อะไรบา้ ง

13 รายงานกิจกรรม การ ว 3.2 ม.1/4 ม.1/5
พยากรณ์อากาศทำได้
อย่างไร

14 รายงานกจิ กรรม คำ ว 3.2 ม.1/4 ม.1/5 √ 12
ก.พ 65
พยากรณอ์ ากาศมปี ระโยชน์
ม.ี ค 65
อยา่ งไร ม.ี ค 65

15 รายงานกจิ กรรม พายุฝนฟ้า ว 3.2 ม.1/3 √
คะนองและพายุหมุน ว 3.2 ม.1/6 ม.1/7 √
เขตร้อนเกิดขนึ้ ไดอ้ ย่างไร

16 รายงานกิจกรรม ภมู ิอากาศ
เปล่ียนแปลงไดห้ รอื ไม่

หากนักเรียนขาดส่งงาน 4 ช้นิ จะได้รับผลการเรียน “ร” ในรายวิชาน้ี

ลงชอ่ื ........................................ครูผู้สอน ลงชอื่ ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
( นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์ ) (นางกณกิ าร์ พัฒรากุล)

ลงช่ือ........................................... ลงช่อื ...........................................
( นางกณกิ าร์ พฒั รากุล ) ( นางรพีพร คำบุญมา )
หวั หน้างานนเิ ทศ
รองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บริหารวชิ าการ

ลงชอื่ ........................................................

( นายสรุ ยิ ันต์ เหล่ามะลกึ )
ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม


Click to View FlipBook Version