The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การนำเสนอผลงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2021-10-30 09:19:08

การนำเสนอผลงาน

การนำเสนอผลงาน

วชิ าเคมี6 ว 30226

สอนโดย นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์
ครชู ำนาญการพิเศษ

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ปีการศกึ ษา 2564

สำหรบั นกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม
ชือ่ -สกุล..................................................ชน้ั .........เลขที.่ .......



คำนำ

ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 3 การนำเสนอผลงาน ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
จัดทำเพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ความพึงพอใจทางการเรียนเคมี ส่งเสริม
ความสามารถทางการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1-3 โรงเรียน
สุวรรณารามวิทยาคม โดยในทุกกิจกรรมได้จัดลำดับขั้นตอนที่เน้นการเพิ่มพูนประสบการณ์ทาง
วทิ ยาศาสตร์ นักเรยี นจะได้รับการทดสอบก่อนเรียน และศึกษาเนือ้ หาความรู้ที่ส่งเสริมใหน้ ักเรียนศึกษาและ
สืบค้น โดยมคี วามรู้เพ่ิมเติมนอกเหนอื จากในบทเรยี น การตอบคำถาม การทำแบบฝึกหัด และทำกจิ กรรมการ
ทดลองตามขน้ั ตอนตลอดจนทำแบบทดสอบหลังเรยี น เพ่อื ประเมนิ ตนเองหลังจากการเรียนรู้ในแต่ละ
กิจกรรมการเรียนรู้

ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งวา่ ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 3 การนำเสนอผลงาน ตาม
แนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ จะทำให้ผเู้ รยี นมีความร้แู ละความสามารถในการสืบคน้ การจดั ระบบสิ่ง
ท่ีเรยี นรู้ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เพ่อื สรา้ งองคค์ วามรู้ ได้เป็นอยา่ งดีสามารถนำความรู้ท่ี
ได้จากการเรียนรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ และเป็นประโยชน์สำหรับผูท้ ี่สนใจใชเ้ ป็นแนวทาง ใน
การจัดกระบวนการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้ต่อไป

นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรตั น์

สารบัญ ข

เรอื่ ง หนา้
คำนำ ก
สารบญั ข
ข้อแนะนำการเรียนรู้ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ ค
โครงสร้างชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ ง
แบบทดสอบก่อนเรยี น 1
ขัน้ ที่ 1 การหาความรู้ 5
5
- ปฏิบัติการ ฝกึ อ่าน : ฝกึ คิด 5
- รายงาน 15
- การนำเสนอด้วยโปสเตอร์ 18
- การนำเสนอดว้ ยการบรรยาย 21
ข้นั ที่ 2 สร้างความรู้ 21
- ปฏบิ ัติการ ฝกึ ทำ : ฝกึ สรา้ ง 23
ข้นั ที่ 3 ซึมซบั ความรู้ 23
- ปฏิบัติการ คดิ ดี ผลงานดี มีความสขุ 26
แบบทดสอบหลงั เรียน 30
บรรณานกุ รม



ข้อแนะนำการเรียนรู้ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์วทิ ยาศาสตร์

สำหรับนกั เรยี น
จุดประสงค์ของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มุ่งหวังให้นักเรียนเป็นผู้มีความสามารถทางการ
จัดการความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ 3 ดา้ น ได้แก่

1. ด้านความรู้ ความคิด
2. ดา้ นทักษะการจดั การความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์
3. ด้านค่านิยมต่อตนเองเพือ่ สังคม
ซึ่งนักเรียนจะได้เสริมสร้างความสามารถดังกล่าวดังน้ี 1.การหาความรู้ (Operation) จาก
กิจกรรมการสืบเสาะ ค้นหา กิจกรรมร่วมกันคิด และกิจกรรมร่วมกันค้น 2.การสร้างความรู้
(Combination) เป็นขั้นฝึกการวิเคราะห์ประกอบด้วยการฝึกคิดแบบสืบสาวปัจจัยเหตุและแบบ
แยกแยะส่วนประกอบโดยใช้ ข้อความและสถานการณ์ เพื่อพัฒนาตนเอง 3. การซึมซับความรู้
(Assimilation) เป็นขั้นที่ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น หนังสือ
อินเตอร์เน็ต ฝึกคิดอย่างมีวิจารณญาณ ฝึกทักษะการเขียนเพื่อนำเสนอแก้ไขปัญหาที่พบ
ประกอบการตอบคำถามฝึกการวิเคราะห์จุดเด่น และจดุ ดอ้ ยของผลงาน ตรวจสอบและปรับปรุงเพ่ือ
สร้างชิ้นงานใหม่ต่อไปได้ และข้อเสนอแนะกับผู้อ่านได้ โดยในทุกกิจกรรมได้จัดลำดับขัน้ ตอนที่เน้น
การเพิ่มพูนประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อเป็นผู้มีความสามารถทางการจัดการความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ ดงั น้ี
1. อ่าน และทำความเข้าใจในทุกขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู้
2.รักและสนใจตนเอง สร้างความรู้สึกที่ดีให้กับตนเอง ว่าตัวเราเป็นผู้มีความสามารถมี
ศกั ยภาพอยู่ในตวั และพร้อมทจี่ ะเรียนรทู้ กุ สงิ่ ทีส่ ร้างสรรค์
3. ร้สู กึ อิสระและแสดงออกอยา่ งเต็มความสามารถ
4. ฟัง คิด ถาม เขียน ปฏิบัติ อย่างรอบคอบในทุกกิจกรรม ใช้เนื้อที่กระดาษที่จัดไว้สำหรบั
เขยี นใหเ้ ตม็ โดยไม่ปลอ่ ยให้เหลือเปล่า เพอื่ ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ กับตนเอง
5. ใชเ้ วลาในการเรียนรู้อยา่ งคุม้ คา่ ใช้ทุกๆ นาทีทำให้ตนเองมีความสามารถเพม่ิ มากขึ้น
6. ตระหนกั ตนเองอยเู่ สมอว่าจะเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์เพอื่ นำมาพฒั นาตนเองและพฒั นาสงั คม

จุดเด่นของการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ คือ การสร้างคุณค่าที่ดีให้กับสงั คม
จงึ ขอเชญิ ชวนนกั เรยี น มาร่วมกันเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
ด้วยใจรกั และ พัฒนาตนให้เต็มขดี ความสามารถ

ขอสง่ ความปรารถนาดใี หแ้ ก่นกั เรียนทุกคนได้เรียนรู้วทิ ยาศาสตร์อย่างมคี วามสุขพ่ึงตนเองได้
และเป็นผมู้ ีความสามารถทางการจัดการความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์เพ่อื สังคม ยิง่ ๆ ข้ึน สบื ไป



โครงสร้างชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์
หน่วยท่ี 3 การนำเสนอผลงาน

สาระสำคัญ
การนำเสนอผลงานเปน็ การสื่อสาร เพือ่ สรุปให้บุคคลอืน่ ไดร้ ับทราบถึงผลการดำเนินการที่

ผู้นำเสนอไดศ้ ึกษามา การนำเสนอสาระสำคญั ของผลงานควรทำใหอ้ ยู่ในรูปแบบท่เี ข้าใจง่ายและใช้สอ่ื
ประกอบอย่างเหมาะสมและมคี ณุ ภาพ

โดยทัว่ ไปการนำเสนอผลงานทางวิทยาศาสตรอ์ าจอยใู่ นรูปของ รายงาน โปสเตอร์
การบรรยาย บทความ หรอื การแสดงชิ้นงาน ซ่ึงการเขา้ ใจหลักการในการเตรยี มการนำเสนอในแต่
ละรปู แบบ เป็นการส่งเสริมให้การนำเสนอน้นั มปี ระสทิ ธภิ าพมากข้นึ ในทนี่ ้ีจะกล่าวถงึ หลกั การ
เบ้อื งต้นในการเขยี นรายงานการเตรียมโปสเตอร์และการเตรยี มการบรรยาย

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายจดั ทำรายงานการแกป้ ัญหาโดยการบูรณาการความรู้ (K)
2. นำเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (P)
3. เห็นคุณคา่ ทางวิทยาศาสตร์ ตงั้ ใจเรียนรแู้ ละแสวงหาความรู้ (A)

การจดั กระบวนการเรียนรใู้ ช้รปู แบบการจดั การความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ มี 3 ขน้ั คือ
1. การหาความรู้ (Operation)
2. การสรา้ งความรู้ (Combination)
3. การซึมซบั ความรู้ (Assimilation)

เวลาท่ีใช้ 12 ช่วั โมง

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้
นักเรียนประเมนิ ผลตนเองโดยใช้แบบประเมินผลตนเองกอ่ นเรยี น-หลังเรียน

หนว่ ยที่ 3 เรื่องการนำเสนอผลงาน แบบทดสอบก่อนเรยี น วชิ าเคมี
ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 เวลา 20 นาที
ภาคเรยี นท่ี 2

คำชแี้ จง
1. แบบทดสอบฉบับนี้เปน็ แบบปรนัยเลอื กตอบ 4 ตวั เลือก จำนวน 30 ขอ้ ใชเ้ วลาในการสอบ 20 นาที
2. ให้นกั เรียนเลือกคำตอบที่ถกู ตอ้ งที่สุดเพยี งคำตอบเดยี ว แล้วทำเครือ่ งหมาย × ลงในกระดาษคำตอบ

1. ข้อใดคือความหมายของการนำเสนอข้อมูล

ก. การสื่อสารเพ่ือเสนอข้อมูล

ข. การแสดงความคดิ เหน็

ค. การตัดสินใจในการดำเนินงาน

ง. การแลกเปล่ยี นข้อมลู

2. ข้อใดไมใ่ ช่วตั ถุประสงค์ในการนำเสนอข้อมลู

ก. เพ่อื ให้ผรู้ ับการนำเสนอขอ้ มลู รับทราบความคิดเห็น

ข. เพือ่ ใหผ้ รู้ ับการนำเสนอข้อมลู ได้รบั ความรจู้ ากขอ้ มูลท่นี ำเสนอ

ค. เพอื่ บรรยายขอ้ มูลทางด้านวชิ าการ

ง. เพือ่ เผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์

3. การจดั เรียงลำดับข้อใดจัดเป็นลำดับแรก

ก. แสดงชื่อเรื่อง พรอ้ มชื่อของผนู้ ำเสนอ ข. แสดงวตั ถุประสงค์

ค. แสดงหัวขอ้ ในการนำเสนอ ง. แสดงเน้ือหาในการนำเสนอ

4. นิยาม หมายถงึ อะไร

ก. การกำหนด หรอื การจำกดั ความหมายท่ีแนน่ อน ข. ศพั ทเ์ ฉพาะ

ค. ศัพท์ปกติ

ง. ความหมายของคำที่กำหนดตามพจนานกุ รม

5. ขอ้ ใดกล่าวถึงประโยชน์ของการ นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ ได้ถกู ตอ้ งทีส่ ดุ

ก. ชว่ ยให้นิยามศัพทไ์ ดถ้ ูกตอ้ งตามแบบพจนานุกรม

ข. ช่วยให้ผ้อู า่ นเขา้ ใจความหมายของศพั ทไ์ ดต้ รงกับผู้ศกึ ษาค้นควา้ กำหนด

ค. ชว่ ยให้ผอู้ า่ นเข้าใจความหมายของศพั ทไ์ ด้ตรงกบั ท่ีสารานุกรมกำหนด

ง. ชว่ ยให้ผลการศกึ ษาค้นคว้าถูกตอ้ ง ชดั เจนตามจุดมุ่งหมาย

6. ข้อใด หมายถงึ ประชากรในการศกึ ษาคน้ ควา้

ก. คน ข. คน สัตว์

ค. คน สัตว์ สง่ิ ของ ง. คน สัตว์ สง่ิ ของ และลักษณะทางจิตวิทยา

7. การศกึ ษาค้นควา้ ตามขอ้ ใดควรใชก้ ลมุ่ ตวั อยา่ งนอ้ ย

ก. การใช้แบบสอบถาม ข. การใช้แบบทดสอบ

ค. การทดลอง และการสมั ภาษณ์ ง. การสมั ภาษณ์

1

8. ขอ้ ใดเป็นการเลอื กกลุ่มตวั อยา่ ง โดยการสุม่

ก. มงคล เลอื กแบบบงั เอญิ ข. ดนภัทร เจาะจงตามความสะดวก

ค. ปรชั ญา ใชว้ ิธจี บั ฉลาก ง. มารี ไมอ่ าศัยความนา่ จะเปน็

9. ข้อใดเปน็ ความหมายของแบบสอบถาม

ก. เคร่อื งมือทีผ่ ู้ศึกษาค้นควา้ ใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู

ข. คำถามทีก่ ำหนดใหก้ ลุ่มตวั อย่างตอบโดยกาเครอื่ งหมาย

ค. การเขยี นอธิบายตอบคำถามตามทีผ่ ู้ถามกำหนด

ง. ข้อเทจ็ จริง หรอื ความคิดเห็นของบคุ คล

10. ขอ้ ใดเป็นคำช้แี จงในการตอบแบบสอบถาม

ก. เพศ ระดบั การศึกษา อายุ อาชพี

ข. แจง้ จดุ มุ่งหมาย อธบิ ายลกั ษณะ ตวั อย่างการตอบแบบสอบถาม

ค. ตั้งคำถามแบบปลายปดิ

ง. ตงั้ คำถามแบบปลายเปิด

11. ขอ้ ใดกล่าวถงึ ขอ้ คำถาม ไดถ้ กู ตอ้ ง

ก. แบบปลายปิด ผูเ้ ขยี นอธบิ ายตอบดว้ ยตนเอง

ข. แบบปลายเปดิ จะมีคำตอบให้เลอื กตอบ

ค. ไม่สามารถสรา้ งคำถามแบบปลายเปิด กบั ปลายปิดใหอ้ ยใู่ นแบบสอบถามชุดเดยี วกนั ได้

ง. เปน็ ส่วนสำคญั ท่ีสุดท่จี ะชว่ ยให้ไดข้ ้อมลู เกีย่ วกับเรือ่ งทศ่ี กึ ษาคน้ ควา้

12. การต้ังคำถามในแบบสอบถาม ควรให้สอดคลอ้ งกบั เรือ่ งใดมากทส่ี ดุ

ก. นยิ ามศพั ท์เฉพาะ ข. บรรณานกุ รม

ค. สมมตุ ิฐาน ง. จุดมุ่งหมาย

13. ลกั ษณะของแบบสอบถาม ข้อใดถูกต้อง

ก. ใช้คำอธบิ าย ขยายความใหม้ ากท่ีสุด

ข. ควรเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลด้วยตนเอง

ค. คำถามครอบคลมุ ประเด็นทัง้ หมดของการศึกษาค้นคว้า

ง. เลอื กถามเฉพาะประเดน็ ที่มีความสำคัญ

14. แหลง่ ท่มี าของข้อมูลท่ีได้จากการศกึ ษาค้นคว้า จะมคี วามน่าเชือ่ ถือได้มากหรอื น้อย ขน้ึ อยู่กบั อะไร

ก. ขอ้ มูล ข. ทฤษฏี

ค. ผู้ศึกษาค้นคว้า ง. การตรวจสอบ

15. การตรวจสอบสถานที่เดยี วกัน ผลออกมาเหมือนกัน ควรปฏบิ ัตอิ ย่างไร

ก. ผศู้ กึ ษาควรตรวจสอบในแหลง่ สถานท่ีอืน่ ดว้ ย ข. ผูศ้ กึ ษาไมต่ อ้ งตรวจสอบแหล่งสถานทอี่ ่ืน

ค. ถกู ทง้ั ข้อ ก และขอ้ ข ง. ผศู้ กึ ษาควรตรวจสอบในชว่ งเวลาทีต่ ่างกนั ดว้ ย

16. เพราะเหตุใดจึงตอ้ งมกี ารตรวจสอบผ้ศู กึ ษา

ก. เป็นหลักการท่ีตอ้ งปฏบิ ัตใิ นการศึกษาคน้ คว้า

ข. สรา้ งความนา่ เชอ่ื ถอื ไดม้ ากขึ้น

2

ค. เพอื่ ให้สอดคลอ้ งกับหลักการตรวจสอบข้อมูล

ง. การตรวจสอบทฤษฏีตอ้ งตรวจสอบผู้ศกึ ษาก่อน

17. ขอ้ ใดเปน็ การตรวจสอบทฤษฏี

ก. การพิสูจนว์ ่าข้อมูลที่ผู้ศึกษาคน้ คว้ามา ถกู ต้องหรอื ไม่

ข. การตรวจสอบในสถานท่เี ดยี วกนั หรือต่างกัน มผี ลเหมือนกนั หรอื ไม่

ค. การตรวจสอบว่าผ้ศู ึกษาใช้แนวคิดตคี วามขอ้ มูลต่างกันมากนอ้ ยเพยี งใด

ง. การตรวจสอบจากบุคคลหลายคน

18. เพราะเหตใุ ด จึงต้องมีการรวบรวมขอ้ มูลเร่อื งเดียวกนั ประกอบกบั การซักถาม และศกึ ษาขอ้ มูล เพ่มิ เติมจาก

แหล่งเอกสาร

ก. ใชต้ รวจสอบว่าผู้ศึกษาใช้แนวคิด ทฤษฏีใดในการศึกษาค้นควา้

ข. เพ่อื ตรวจสอบผลการศึกษาเรื่องลกั ษณะเดียวกัน จากผูศ้ ึกษาหลายคน

ค. ใช้ประกอบการตรวจสอบความนา่ เชื่อถือของแหล่งทม่ี าของขอ้ มูล

ง. เพื่อพิสูจน์ว่าขอ้ มูลท่ีผูศ้ ึกษาคน้ คว้าไดม้ าน้นั ถูกต้อง หรอื ไม่

19. ภาพประกอบ และตาราง จำเป็นต้องมีในรายงาน หรือไม่

ก. มี ข. ไมม่ ี

ค. มี หรือไม่มีก็ได้ ง. ยงั ไมส่ รปุ

20. เมอ่ื มีภาพประกอบ และตารางในรายงาน ควรมีรายการใดประกอบ

ก. ช่ือภาพ ข. ช่ือตาราง

ค. การอ้างองิ แหลง่ ทีม่ าของข้อมูล ง. ชือ่ ภาพ ชอ่ื ตาราง และการอ้างอิง

21. ขอ้ ใดเป็น “สว่ นนำ” ของรายงาน

ก. บทนำ ข. สารบัญ

ค. บรรณานกุ รม ง. ประวตั ิย่อผูร้ ายงาน

22. ข้อใดถกู ต้อง

ก. บทที่ 5 วรรณกรรมท่ีเก่ียวขอ้ ง ข. บทท่ี 4 ผลการศึกษาคน้ คว้า

ค. บทที่ 3 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ง. บทท่ี 2 วิธกี ารศกึ ษาค้นคว้า

23. รายการใดทตี่ อ้ งสอดคลอ้ งกับการอา้ งอิงแทรกในเนื้อหา

ก. บรรณานุกรม ข. ภาคผนวก

ค. อภิธานศัพท์ ง. ประวัติย่อผทู้ ำรายงาน

24. เพราะเหตุใดจึงต้องเลือกใช้เคร่อื งมือการเก็บรวบรวมข้อมูลทเี่ หมาะสม

ก. เปน็ เทคนิคสำคัญในการใช้เครือ่ งมือการเกบ็ รวบรวมข้อมลู

ข. เพือ่ ให้ได้ขอ้ มลู ทีถ่ กู ต้อง และสรุปผลได้ตรงกบั จุดประสงค์ของการศกึ ษาคน้ ควา้

ค. เป็นหลักการสำคัญของการศึกษาค้นคว้าที่ตอ้ งใช้เครื่องมือการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล

ง. เพื่อช่วยใหส้ ามารถวิเคราะห์ พิจารณาเปรยี บเทียบขอ้ มลู ได้โดยสะดวกรวดเร็ว

25. แบบทดสอบใชใ้ ห้กลมุ่ ตัวอย่างตอบไดใ้ นรปู แบบใด

3

ก. เขียนตอบ การคิด และการพดู ข. การพดู การปฏิบตั ิ และการคิด

ค. เขียนตอบ การพูด และการปฏบิ ัติ ง. เขียนตอบ การคิด และการปฏิบัติ

26. เคร่ืองมอื ที่มขี ้อคำถามใหก้ ลมุ่ ตวั อยา่ งตอบ โดยกาเครื่องหมาย เขียนตอบ หรือสมั ภาษณ์ นยิ มถาม เกย่ี วกบั

ขอ้ เท็จจริง และความคิดเหน็ เปน็ ความหมายของอะไร

ก. การสมั ภาษณ์ ข. การสังเกต

ค. แบบทดสอบ ง. แบบสอบถาม

27. การสังเกตการณ์ เป็นเครื่องมือการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ที่เหมาะสมกบั ขอ้ ใด

ก. ขอ้ มูลสว่ นตัว บุคลกิ ภาพ เจตคติ และความคิดเห็น

ข. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ท่ีสามารถสงั เกต หรอื วดั ใหเ้ ป็นปริมาณได้

ค. การศึกษาขอ้ มูลเกยี่ วกบั ขอ้ เทจ็ จริง และความคดิ เห็นของบคุ คล

ง. การศกึ ษาเหตุการณ์เพ่ือใหเ้ ข้าใจลักษณะธรรมชาติ

28. การเรม่ิ ตน้ สัมภาษณ์ เพราะเหตใุ ดจึงควรสนทนาเร่อื งทคี่ าดวา่ ผ้ใู ห้สัมภาษณ์สนใจ

ก. สร้างความคุ้นเคย ข. มารยาทในการสัมภาษณ์

ค. มนุษยสัมพันธ์ ง. หลักการสัมภาษณ์

29. วธิ ีดำเนนิ การศึกษาค้นคว้า ข้อใดถกู ตอ้ งท่ีสดุ

ก. กล่มุ ตวั อยา่ งจะมเี ทา่ กับ หรือมากกว่าประชากรก็ได้

ข. กลุม่ ตัวอย่างจะมเี ท่ากับ หรอื น้อยกว่าประชากรก็ได้

ค. ประชากรจะมีนอ้ ยกว่ากล่มุ ตัวอยา่ ง

ง. ประชากรจะมีมากกว่ากลมุ่ ตวั อย่าง

30. สิ่งทคี่ วรกลา่ วถงึ เคร่ืองมือในการศึกษาคน้ คว้า คืออะไร

ก. ลกั ษณะ เนื้อหา สว่ นประกอบ วิธใี ช้ ข. เนอ้ื หา สว่ นประกอบ ประชากร

ค. สว่ นประกอบ วธิ ีใช้ กลุม่ ตัวอยา่ ง ง. กระบวนการสร้าง ประชากร กล่มุ ตัวอยา่ ง

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

4

หน่วยท่ี 3 การนำเสนอผลงาน

ข้ันท่ี 1 การหาความรู้ เวลา 12 ชว่ั โมง
Operation
ปฏิบตั ิการ ฝกึ อ่าน : ฝกึ คดิ

การนำเสนอผลงานเป็นการสื่อสาร เพื่อสรุปให้บุคคลอื่นได้รับทราบถึงผลการดำเนินการที่ผู้นำเสนอได้
ศกึ ษามา การนำเสนอสาระสำคญั ของผลงานควรทำใหอ้ ยู่ในรปู แบบท่ีเข้าใจง่ายและใช้สื่อประกอบอย่างเหมาะสม
และมคี ณุ ภาพ

โดยทัว่ ไปการนำเสนอผลงานทางวิทยาศาสตร์อาจอยู่ในรูปของ รายงาน โปสเตอรก์ ารบรรยาย บทความ
หรือการแสดงชิ้นงาน ซึ่งการเข้าใจหลักการในการเตรียมการนำเสนอในแต่ละรูปแบบ เป็นการส่งเสริมให้การ
นำเสนอนั้นมปี ระสทิ ธิภาพมากขนึ้

ในที่นีจ้ ะกลา่ วถึงหลกั การเบือ้ งตน้ ใน
การเขยี นรายงานการเตรียม

โปสเตอรแ์ ละการเตรียมการบรรยาย

รายงาน

รายงานอาจประกอบดว้ ยส่วนสำคัญ 3 สว่ นคือสว่ นนำส่วนเนอื้ หา และส่วนทา้ ยซง่ึ มีรายละเอียดดงั น้ี
1) สว่ นนำ

ปก ประกอบด้วยช่ือเรอื่ ง ผจู้ ดั ทำ โรงเรียน ช่วงเวลาหรือปีที่จัดทำ
บทคดั ยอ่ แสดงภาพรวมของงานและเป็นสว่ นทีช่ ว่ ยใหผ้ ู้อ่านสนใจทจี่ ะศึกษาเนื้อหาบทคดั ยอ่ ระกอบดว้ ย
ช่อื เรื่อง สรุปยอ่ ความสำคัญของปญั หา วตั ถุประสงคส์ มมติฐานวธิ กี ารดำเนินการและผลการดำเนินการรวมท้งั อาจ
มขี ้อเสนอแนะ ตัวอยา่ งดังรูป 1

5

บทคัดยอ่

รปู 1 ตัวอย่างบทคัดยอ่

ตรวจสอบความเข้าใจ 1

จากบทคัดยอ่ ท่ีกำหนดให้จงระบุ ชอ่ื เร่ือง ความสำคัญของปัญหา วตั ถปุ ระสงค์ สมมตฐิ าน วธิ ีดำเนนิ การ
ผลการดำเนินการ

การศกึ ษาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นสงั คมศึกษาและความสามารถในการคดิ อยางมเี หตผุ ลของนกั เรยี นช้ัน
มัธยมศึกษาปที ่ี 4 ท่ีเรยี นดวยกจิ กรรมการเรยี นรูโดยใชเทคนคิ 4 MAT

การวิจัยครั้งน้มี คี วามมุงหมาย เพื่อการศกึ ษาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนสังคมศึกษา และความสามารถ
ในการคิดอยางมีเหตุผล ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 4 ทเ่ี รียนดวยกจิ กรรมการเรียนรโู ดยใชเทคนิค 4
MATกลุมตวั อยางท่ใี ชในการศึกษาคนควาเปนนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปการศึกษา 2552
โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร จาํ นวน 40 คน ไดมาจากการเลือกตัวอยา
งแบบแบงกลุม (Cluster Random Sampling) ใชเวลาในการทดลอง 12 ช่วั โมง ดาํ เนินการวจิ ยั โดยใชแบบ
แผนการทดลองแบบ One Group Pretest – Posttest Design การวิเคราะหขอมูลโดยใชสถติ ิ t-test
dependent sample

6

ผลของการวิจยั ปรากฏวา
1. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสังคมศึกษา ของนกั เรยี นทเ่ี รียนดว้ ยกจิ กรรมการเรียนรูโดยใช้

เทคนิค 4 MAT หลงั เรียนสูงกวา กอนเรยี นอยางมีนยั สาํ คัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01
2. ความสามารถในการคดิ อยางมีเหตุผล ของนักเรยี นทีเ่ รยี นดวยกิจกรรมการเรียนรโู ดยใช

เทคนคิ 4 MAT หลงั เรียนสงู กวา กอนเรยี นอยางมีนัยสาํ คัญทางสถิติท่ีระดับ .01

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

บทคดั ย่อสว่ นใหญ่มีความยาว
ประมาณ 1 หน้า

กิตติกรรมประกาศ แสดงข้อความขอบคณุ บคุ คลหน่วยงานทมี่ สี ่วนเกย่ี วขอ้ ง ที่ทำให้การดำเนนิ การสำเร็จ
ลลุ ว่ งและแหล่งทนุ (ถา้ ม)ี

สารบญั ประกอบดว้ ยสารบัญเนือ้ เรือ่ งซึง่ แสดงชอื่ หัวขอ้ หลกั ๆของเนื้อหาและเลขหนา้ และอาจมีสารบัญ
ตารางหรือสารบัญภาพประกอบดว้ ย

7

ร่วมกนั คน้ 1

ให้นักเรยี นศึกษาบทคดั ยอ่ งานวิจยั ทสี่ นใจมา 1 เร่อื ง พร้อมระบุแหล่งท่ีมา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

8

2) สว่ นเนอื้ หา โดยทัว่ ไปแบ่งออกเป็นบทซึ่งแตล่ ะบทมีรายละเอยี ดดังนี้

บทที่ 1 บทนำ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ สมมติฐาน(ถ้ามี)
ขอบเขตของการดำเนินการ นิยามเชิงปฏิบัติการ โดยความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาควรระบุถึง
ปัญหาและผลกระทบ รวมทั้งข้อจำกัดของแนวทางการแก้ไขปัญหาที่มีการศึกษาไวก้ อ่ นแล้ว หรือประเด็นท่ี
ยงั ไมไ่ ดม้ กี ารศึกษา

บทท่ี 2 ทฤษฎแี ละงานวจิ ัยทีเ่ ก่ียวขอ้ ง ให้ข้อมลู เกีย่ วกับทฤษฎี หลกั การ หรอื งานวจิ ยั ทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั ปญั หา
ซ่งึ ขยายความจากบทที่ 1 โดยมขี อ้ มูลและการอา้ งองิ สนับสนนุ พรอ้ มท้งั วิเคราะห์เปรียบเทียบผลงานวิจัยที่
ผา่ นมา และแสดงความเห็นของผจู้ ัดทำ ในการนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ โดยผู้จดั ทำควรเขียนเรียบเรียงด้วย
ขอ้ ความของตนเองไม่ให้คัดลอกจากแหลง่ อ้างอิงซึง่ อาจเขียนแบง่ เป็นหวั ขอ้ ตามความเหมาะสมของปริมาณ
และหมวดหมขู่ องขอ้ มลู ทจ่ี ะนำเสนอ

บทที่ 3 วิธีดำเนินการ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับวัสดุและอุปกรณ์ วิธีการทดลองหรือวิธีการแก้ปัญหา และวิธีการ
วเิ คราะห์ข้อมลู รว่ มด้วย ซึง่ ผ้อู า่ นสามารถทำความเขา้ ใจและดำเนินการตามได้

บทที่ 4 ผลการดำเนินการและการอภิปรายข้อมูล แสดงผลการทดลองหรือผลการแก้ปัญหาโดยอาจ
นำเสนอในรูปแบบที่เหมาะสมเช่นตารางแผนภาพกราฟรวมทั้งวิเคราะห์และอภิปรายความ ความสัมพันธ์
ของข้อมลู แตล่ ะชุดให้เหน็ ว่าเปน็ ไปตามวัตถุประสงค์หรอื ไม่สอดคลอ้ งหรือแตกต่างกับทฤษฎีหรืองานวิจัยที่
เกีย่ วข้องอย่างไร

บทที่ 5 สรุปผลการดำเนินการและข้อเสนอแนะ เป็นการนำผลการดำเนินการทั้งหมดมาสรุปย่อเป็น
ประเด็นตามวัตถุประสงค์ของการดำเนินการ รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการนำผลการศึกษาไปใช้
ประโยชน์ หรอื ประเดน็ ท่คี วรศึกษาเพ่ิมเติมในอนาคต

9

ในส่วนเนื้อหา จำนวนบทในรายงานอาจมมี ากกวา่ หรือนอ้ ยกวา่
5 บท ก็ได้ ขึน้ อย่กู ับรายละเอียดของเนื้อหา เชน่ อาจรวม

ทฤษฎีและงานวจิ ัยทเ่ี กีย่ วข้องไวใ้ นบทนำเป็น 1 บท ได้ ในส่วน
ของผลการดำเนนิ การและการอภปิ รายข้อมูล ถ้ามขี อ้ มลู จาก
การดำเนินการที่มปี ระเดน็ แตกตา่ งกันอาจเขียนแยกบทได้

3) สว่ นท้าย ประกอบดว้ ย
บรรณานุกรม แสดงรายการเอกสารที่ใชเ้ ป็นแหลง่ ข้อมูลประกอบ เช่น หนังสือเรียน ตำราบทความวิจัย
เว็บไซต์ บรรณานุกรมมรี ปู แบบการเขียนเฉพาะซง่ึ อาจแตกตา่ งกันขึน้ อยู่กับข้อกำหนดของแต่ละสถาบันการศึกษา
หรือหน่วยงาน อย่างไรก็ตามการเขียนบรรณานุกรมต้องใช้รูปแบบของแต่ละสถาบันการศึกษาหรือหน่วยงาน
อย่างไรก็ตามการเขียนบรรณานุกรมต้องใช้รูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเล่ม และเรียงลำดับตามตัวอักษร โดยเขียน
แยกระหวา่ งบรรณานุกรมภาษาไทยและภาษาองั กฤษตัวอยา่ งของการเขียนบรรณานกุ รมของ สสวท. ดังแสดง

กจิ กรรมท่ี 1 เรอื่ ง สบื ค้นขอ้ มลู รูปแบบการเขยี นบรรณานกุ รม
จุดประสงค์ของกจิ กรรม

นำเสนอรูปแบบการเขยี นบรรณานุกรม

ให้นักเรียนสบื คน้ ขอ้ มูลล่วงหนา้ แล้วนำส่ิงทีไ่ ดจ้ าก
การสบื คน้ มาเสนอและร่วมกันอภปิ รายในหอ้ งเรยี น

10

วิธที ำกิจกรรม
1. สืบคน้ ข้อมูลรูปแบบการเขยี นบรรณานกุ รมท่เี ป็นสากลหรอื ทน่ี ยิ มใชท้ ว่ั ไป
2. นำเสนอและอภิปรายรว่ มกัน

11

12

ขอ้ มลู ท่ีได้จากการสบื คน้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

13

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

14

การนำเสนอด้วยโปสเตอร์

การนำเสนอด้วยโปสเตอร์ การนำเสนอด้วยโปสเตอร์เป็นการนำเสนอผลงานในรูปแบบที่ใช้ภาพและ
ข้อความเพื่อดึงความสนใจของผู้ชมซึ่งการนำเสนอโปสเตอร์ในการประชมุ วชิ าการนยิ มเปดิ โอกาสให้ผูช้ มไดม้ กี าร
ซักถามด้วยรปู แบบของโปสเตอร์อาจแตกต่างกนั ขึ้นอยู่กับข้อกำหนดของแต่ละเวทกี ารนำเสนอการจัดทำและการ
นำเสนอโปสเตอรค์ วรคำนึงถงึ สิ่งต่อไปนี้

1) ศึกษารายละเอยี ดขอ้ กำหนดของแตล่ ะเวทีการนำเสนอ เช่นขนาดโปสเตอร์ รปู แบบระยะเวลาในการ
นำเสนอ

2) แบ่งสดั ส่วนส่วนเน้อื หาสาระให้ได้หัวข้อครบถ้วนและเหมาะสมกบั พนื้ ทีข่ องโปสเตอร์เชน่ การนำเสนอ
ผลงานวจิ ยั อาจประกอบดว้ ยช่ือเรอื่ งงานวิจยั ชื่อผู้วิจัยหน่วยงานทีส่ ังกัดบทคดั ยอ่ วัตถุประสงค์
วิธดี ำเนินการค้นการวิจยั สรุปผลและบรรณานุกรม

3) จัดเรยี งเน้อื หาสาระให้มีลักษณะเป็นการเล่าเรอ่ื งตามลำดับเพอื่ ให้ผูช้ ม poster สามารถติดตามอา่ นได้
ง่าย

4) ใช้ภาพแผนภูมิ แผนภาพหรือตาราง ท่ีสอื่ ความหมายได้ถูกตอ้ งชดั เจนและน่าสนใจ มีขนาดท่ีเหมาะสมไม่
ใหญห่ รือเลก็ จนเกินไป

5) ใชต้ ัวอกั ษรท่เี หมาะสมทีส่ ามารถมองเห็นไดช้ ดั เจนและอ่านไดง้ ่าย ไม่ควรใชร้ ูปแบบของตัวอักษรมากเกนิ
กว่า 2 รูปแบบ และหลีกเลีย่ งการใช้ตัวพิมพใ์ หญ่ภาษาองั กฤษทัง้ หมดเพราะทำใหอ้ ่านยาก

6) ใช้โทนสีของพนื้ หลังทีเ่ สรมิ ให้ตัวอักษรและภาพเด่นชัด
7) ตรวจสอบการสะกดคำการใช้เครือ่ งหมายรวมทั้งการเวน้ วรรคให้ถกู ตอ้ ง
8) เตรียมตวั ในการพดู นำเสนอ โปสเตอร์ โดยเตรยี มคำอธิบายและตอบคำถามรวมทงั้ ซกั ซอ้ มการพดู
9) นำเสนอด้วยท่ายืนทีส่ ภุ าพและไมบ่ ังโปสเตอรพ์ ดู ให้กระชับและพูดเฉพาะประเดน็ หลักรวมทั้งสบตาและ

แสดงความสนใจผู้ฟังตลอดเวลาทีน่ ำเสนอ

กิจกรรม สบื เสาะ คน้ หา 2

กิจกรรมท่ี 2 เรือ่ ง การจดั ทำและนำเสนอข้อมูลในโปสเตอร์
จุดประสงค์ของกิจกรรม

จัดทำและนำเสนอขอ้ มูลในรูปแบบท่ีเหมาะสม
วธิ ที ำกจิ กรรม
1. พิจารณาข้อมูลทั้ง 3 ชุดต่อไปนี้ และจัดทำข้อมูลแต่ละชุดในรปู แบบทีส่ อ่ื ความหมายไดช้ ัดเจนและ
น่าสนใจ

15

ชุดที่ 1 ข้อมูลการทดลองวัดความเข้มขน้ ของไอออนจากการแตกตัวของกรด

กรดไฮโดรคลอริกและกรดไฮโดรฟลูออริกความเข้มข้นเริ่มต้น 1 mol/l กรดไฮโดรคลอริกแตกตัวให้
ไฮโดรเจนไอออนและคลอไรด์ไอออนความเข้มข้นอย่างละ 1 mol/l ส่วนกรดไฮโดรฟลูออริกแตกตัวให้

ไฮโดรเจนไอออนและคลอไรด์ไอออนความเข้มขน้ อย่างละ 0.04 mol/l

ชดุ ท่ี 2 ข้อมูลการทดลองหาปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจนจำนวน 0.002 โมล ที่อุณหภมู ติ ่างๆ ณ ความดัน
1 บรรยากาศ

อณุ หภมู ิ (๐c) ปริมาตร (ml)
-100 30
-50 36
0 45
50 55
100 61

ชดุ ที่ 3 ขอ้ มูลวธิ ีการทดลองเพอ่ื ศึกษาผลของความเข้มข้นของสารตอ่ ภาวะสมดุล

วิธีทดลอง
1. ใส่น้ำดอกอัญชันในหลอดทดลอง 3 หลอด หลอดละ 1.0 ml จากนั้นเติมไฮโดรคลอริก 0.02

mol/l หลอดละ 5 หยด
2. เติมสารละลายลงในหลอดทดลองในขอ้ หนึง่ ดงั น้ี

หลอดท่ี 1 เตมิ น้ำกลัน่ 5 หยดผสมใหเ้ ขา้ กนั แล้วบนั ทึกสี
หลอดที่ 2 เตมิ HCl 0.02 mol/L 5 หยด ผสมใหเ้ ข้ากนั แล้วบันทึกสี
หลอดท่ี 3 เติม NaOH 0.02 mol/L 5 หยด ผสมใหเ้ ขา้ กัน แลว้ บนั ทึกสี

เปรยี บเทยี บสีของสารละลายหลอดที่ 2 และ 3 กบั หลอดที่ 1
3. สังเกตสีของสารละลายท้ัง 3 หลอดอีกครง้ั เมือ่ เวลาผา่ นไป 1 นาที

2. นำเสนอข้อมลู ท่ีจดั ทำขน้ึ และอภปิ รายรว่ มกนั

16

ติดภาพช้นิ งาน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
คำถามท้ายกจิ กรรม

1. รูปแบบทีน่ ำเสนอของนักเรยี นแตกตา่ งกนั หรอื ไม่ อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. รปู แบบใดทีเ่ หมาะสม เพราะเหตใุ ด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

17

การนำเสนอดว้ ยการบรรยาย

การนำเสนอดว้ ยการบรรยายเปน็ การนำเสนอผลงานในรปู แบบท่ีผ้นู ำเสนอใชว้ าจาและสือ่ ประกอบในการ
ถ่ายทอดข้อมูลหากนำเสนอไดด้ ีจะสามารถดึงดดู ความสนใจและสร้างความจดจำได้ซึ่งในการประชุมวชิ าการจะมี
การเปดิ โอกาสใหม้ กี ารซักถามหลังการบรรยายดว้ ยเนื้อหาการบรรยายควรปรับให้เหมาะสมกับกลุ่มผ้ฟู งั และอยู่ใน
ระยะเวลาท่กี ำหนดโดยมขี ้อควรคำนงึ ถึงดงั ต่อไปน้ี

การจดั เตรยี มเน้อื หาและส่อื ประกอบ

1. ศึกษารายละเอยี ดและขอ้ กำหนดของแต่ละเวทีการนำเสนอ เชน่ กลมุ่ ผูฟ้ ังระยะเวลาในการนำเสนอ
2. เตรียมข้อมูลและเนื้อหาซึ่งประกอบด้วย ความเป็นมาและความสำคัญ ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

วัตถุประสงค์ กระบวนการหรือวิธีดำเนินการ ผลการดำเนินการ การวิเคราะห์และการอภิปรายผล และการ
สรปุ ผล
3. เตรยี มสไลด์โดยจัดสรรจำนวนสไลด์หรือเวลาทีน่ ำเสนอให้เหมาะสมกับความสำคัญของแต่ละเนื้อหา เช่น ควร
มีเนื้อหาในส่วนของผลการดำเนินการ การวิเคราะห์และการอภิปรายผล มากกว่าเนื้อหาในส่วนของความ
เปน็ มาและความสำคัญ ทฤษฎีและงานวิจยั ท่ีเกย่ี วขอ้ ง และวตั ถุประสงค์ นอกจากนี้ควรเตรียมสไลดน์ ำทแี่ สดง
ชอ่ื เรือ่ ง ผ้นู ำเสนอ รวมทั้งสไลดป์ ิดทก่ี ลา่ วขอบคุณหรือกิตติกรรมประกาศด้วย
4. ควรนำเสนอความคิดหลักเพียงประเดน็ เดียวในแต่ละสไลด์ ไม่ควรมขี ้อความหรอื ภาพแนน่ เกินไป และควรมี
เลขระบลุ ำดบั สไลด์
5. ใช้แผนภมู ิ แผนภาพ ตาราง หรือรูปภาพ ที่สือ่ ความหมายได้ถกู ตอ้ ง ชดั เจน และนา่ สนใจ มขี นาดที่เหมาะสม
ไมใ่ หญห่ รือเลก็ จนเกินไป ส่วนขอ้ ความให้แสดงเฉพาะข้อความสำคัญ
6. ใช้ตัวอักษรที่เหมาะสมที่ผูฟ้ ังทุกคนสามารถมองเห็นได้ชัดเจนและอ่านได้ง่าย ไม่ควรใช้รูปแบบของตัวอักษร
มากเกินกว่า 2 รปู แบบสำหรบั ขอ้ ความภาษาอังกฤษ หลกี เลยี่ งการใช้ตัวพิมพ์ใหญท่ ัง้ หมด ควรใช้ตัวพิมพ์ใหญ่
เฉพาะพยญั ชนะแรกของคำ
7. ใชโ้ ทนสขี องพ้ืนหลังที่ช่วยให้ผู้ฟงั มองเห็นตัวอักษรและภาพไดอ้ ย่างชัดเจนและสบายตาและไม่ควรใช้พ้ืนหลัง
หลายรปู แบบ
8. กำหนดจำนวนสไลด์ทั้งหมดให้เหมาะสมกับเวลา ไม่ควรมีมากเกินไป เช่น การนำเสนอ 10 นาที ควรมีไซส์
ประมาณ 10-15 สไลด์ เนื่องจากผู้ฟังส่วนใหญ่มีความ สนใจและสามารถทำความเข้าใจกับเนื้อหาในแต่ละ
สไลด์ในชว่ งเวลาประมาณ 40 - 60 วนิ าที
9. หลกี เลย่ี งการใช้ภาพเคลือ่ นไหวทีไ่ ม่เกี่ยวข้องกับเนอ้ื หาทีอ่ าจทำให้ผู้ฟงั ขาดความสนใจ หรือเสียสมาธิ แต่ควร
ใชภ้ าพเคล่อื นไหวทสี่ ่งเสริมการนำเสนอให้เขา้ ใจงา่ ยขึน้
10. ตรวจสอบการสะกดคำ การใชเ้ คร่อื งหมายรวมทง้ั การเวน้ วรรคใหถ้ ูกต้อง

ตวั อย่างสไลด์ทไี่ มเ่ หมาะสมและท่ปี รบั ปรงุ ให้เหมาะสม ดังรปู

18

ก) สไลดด์ ้านขวาสรุปเปน็ แผนภาพที่เหน็ ลำดับขนั้ ไดช้ ัดเจนกว่าสไลด์ด้านซา้ ยซงึ่ เปน็ ขอ้ ความบรรยาย

ข) สไลด์ด้านขวาเลือกสตี วั อักษรท่แี ตกตา่ งจากสีพื้นหลังทำให้มองเห็นอกั ษรชัดเจนกว่าสไลด์ดา้ นซ้าย

ค) สไลดด์ า้ นขวาแสดงเนือ้ หาที่สำคัญทำใหข้ อ้ ความนอ้ ยลงจงึ ใช้ตัวอกั ษรใหญ่ขึน้ ได้และเหน็ ชดั เจนกว่า
สไลด์ด้านซา้ ย

19

ง) สไลดด์ ้านขวาแสดงเฉพาะข้อมลู ทีส่ ำคัญซึง่ เปน็ ค่าของตวั แปรต้นและตัวแปรตามไวใ้ นตารางและแสดง
ข้อมลู เกีย่ วกบั ตัวแปรที่ต้องควบคมุ ใหค้ งทีไ่ ว้นอกตารางทำให้ผู้ฟงั พจิ ารณาข้อมูลไดง้ ่ายกวา่ สไลด์ดา้ นซ้าย

ง) สไลด์ด้านขวาแสดงเฉพาะข้อมูลที่สำคัญซง่ึ เป็นค่าของตัวแปรตน้ และตวั แปรตามไว้ในตารางและแสดง
ข้อมลู เกย่ี วกับตวั แปรที่ตอ้ งควบคมุ ให้คงทไ่ี วน้ อกตารางทำให้ผฟู้ ังพิจารณาข้อมูลไดง้ า่ ยกว่าสไลดด์ า้ นซ้าย

รปู 1 ตัวอย่างสไลดท์ ่ีไมเ่ หมาะสมและท่ปี รบั ปรงุ ให้เหมาะสม
ทมี่ า หนงั สือเรียนรายวิชาเพิม่ เตมิ วิทยาศาสตรเ์ คมี เล่ม 2 สสวท

การพดู นำเสนอ
1. ควรมีการซกั ซอ้ มก่อนการนำเสนอจนมนั่ ใจว่าสามารถบรรยายเนื้อหาได้อยา่ งถกู ตอ้ งครบถ้วนภายใน

ระยะเวลาทก่ี ำหนด
2. พูดออกเสียงใหช้ ดั ไม่ช้าหรอื เรว็ เกินไปเวน้ วรรคตอนและจังหวะใหฟ้ ังงา่ ยเพื่อให้ผ้ฟู ังสามารถรับข้อมูล

ที่ต้องการสื่อสารได้อย่างถูกต้องไม่ควรพูดโทนเสียงที่ราบเรี ยบแต่ควรเน้นเสียงหนักในส่วนที่เป็น
สาระสำคัญหรอื จุดสำคญั เพ่ือใหน้ า่ สนใจ
3. สบตาผพู้ ดู อย่างทั่วถงึ ระหว่างการนำเสนอไมอ่ ่านสไลด์หรอื บทพูด
4. วางท่าทางด้วยบุคลิกที่แสดงความมั่นใจเป็นมิตรมีการชี้สไลด์ด้วยอุปกรณ์และอาจใช้ท่าทาง
ประกอบการบรรยายเช่นการบอกทิศทางขนาดรูปรา่ งจำนวน
5. แตง่ กายให้เรียบรอ้ ยและเหมาะสมกับกาละเทศะ

20

กจิ กรรม สืบเสาะ คน้ หา 3

กิจกรรมท่ี 3 เรือ่ ง การนำ เสนอผลงานจากกจิ กรรมการแกป้ ัญหาโดยการบรู ณาการความรู้

จดุ ประสงค์ของกจิ กรรม

1. จัดทำรายงาน
2. จัดทำส่อื ประกอบการนำเสนอผลงานหรอื ชิน้ งานในรปู แบบโปสเตอรห์ รอื สไลด์ประกอบการบรรยาย
3. นำเสนอผลงานในรูปแบบของโปสเตอรห์ รือการบรรยาย
วิธีทำกิจกรรม
1. จดั ทำรายงานของกิจกรรม การแก้ปญั หาโดยการบูรณาการความรู้ และสง่ รายงาน
2. จดั ทำโปสเตอร์หรอื สไลด์ประกอบการบรรยายของกิจกรรม การแก้ปญั หาโดยการบูรณาการความรู้
3. นำเสนอผลงานในรูปแบบของโปสเตอร์หรือการบรรยายและเปิดโอกาสใหม้ ีการซกั ถามเพ่อื แลกเปล่ียน
ความรู้

เกณฑก์ ารให้คะแนนโปสเตอร์นำเสนอผลงานจากกิจกรรมการแกป้ ญั หาโดยการบรู ณาการความรู้
(โปสเตอร์นำเสนอผลงานจากกิจกรรมเป็นกิจกรรมทดี่ ำเนนิ การในกิจกรรมท่ี 3)

สิง่ ทต่ี อ้ งการประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ ระดับ
คุณภาพ
ขนาดและองค์ประกอบ ขนาดโปสเตอรเ์ ป็นไปตามทีก่ ำหนดและมีข้อมลู ครบตาม
ของโปสเตอร์ หัวขอ้ ทก่ี ำหนด ดี
ขนาดโปสเตอร์เป็นไปตามทก่ี ำหนด แต่มีข้อมูลไมค่ รบตาม
หวั ขอ้ ทก่ี ำหนดหรือมีขอ้ มลู ครบตามหวั ข้อทกี่ ำหนด แต่ พอใช้
ขนาดโปสเตอร์ไมเ่ ปน็ ไปตามที่กำหนด
ขนาดโปสเตอร์ไมเ่ ป็นไปตามทกี่ ำหนดและมขี อ้ มูลไม่ครบ ตอ้ งปรบั ปรงุ
ตามหัวขอ้ ทีก่ ำหนด

21

เนอื้ หาในโปสเตอร์ เนอื้ หาส่วนใหญม่ คี วามถูกตอ้ งและสมบรู ณ์ ดี
การใช้ภาษา เนอ้ื หาส่วนใหญไ่ มถ่ ูกต้องและไมส่ มบูรณ์ พอใช้
การสง่ โปสเตอร์ เน้ือหาส่วนใหญ่มคี วามถกู ต้องแตไ่ มส่ มบรู ณ์ ต้องปรบั ปรงุ
ใช้ภาษาที่เข้าใจงา่ ยและส่วนใหญส่ ะกดคำได้ถกู ต้อง
ใช้ภาษาที่เข้าใจง่ายแต่ส่วนใหญ่สะกดคำไม่ถูกต้อง ดี
ใช้ภาษาทีเ่ ข้าใจยาก วกวน และสว่ นใหญ่สะกดคำ ไมถ่ ูกต้อง พอใช้
สง่ ทนั ตามกำหนดเวลา ต้องปรบั ปรงุ
ส่งไมท่ นั ตามกำหนดเวลา
ดี
ต้องปรับปรงุ

22

นักวทิ ยฯ์ คิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ

ขนั้ ท่ี 3 ซึมซับความรู้ ปฏบิ ตั ิการ คิดดี ผลงานดี มคี วามสขุ
Assimlation

คำชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่ม อ่านข่าวทก่ี ำหนดให้และเตมิ ข้อความลงในช่องวา่ งให้ถูกต้องและสมบรู ณ์

พม่าประทว้ งรฐั ประหารวนั ที่ 9 ชาวเมอื งจับกลุ่มลาดตระเวนหลังทหารปลอ่ ยตัวนักโทษ
คาดจงใจสรา้ งความรุนแรง

: ทม่ี า ผูจ้ ัดการออนไลน์ วันที่ 14 กมุ ภาพันธ์ 2564 15:21

รอยเตอร์ - ผู้ชุมนุมประท้วงชาวพมา่ หลายหมืน่ คนตบเท้าลงถนนตามเมืองใหญ่ของประเทศเป็นวันที่ 9
เพื่อต่อต้านการรัฐประหารในวนั น้ี (14) หลังค่ำคืนทีน่ ่าหวาดกลัวที่ผู้อยูอ่ าศัยตอ้ งรวมกลุ่มออกลาดตระเวน และ
กองทพั ไดย้ กเลกิ กฎหมายที่คมุ้ ครองเสรภี าพ

นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ร่วมเดนิ ขบวนในเมืองย่างกุ้งถือป้ายเรยี กร้องการปล่อยตัวอองซานซจู ี ท่ี
ถกู ควบคมุ ตัวนับต้ังแตท่ หารโค่นล้มรฐั บาลทีม่ าจากการเลอื กต้งั ของเธอเมือ่ วนั ที่ 1 ก.พ.

ส่วนหนึ่งของการชุมนุมประท้วงบนท้องถนนครั้งใหญ่ที่สุดในรอบกว่าทศวรรษ ยังมีขบวนรถโดยสาร
เคลอ่ื นตัวช้าๆ ไปพรอ้ มกับผชู้ ุมนุม และบบี แตรรถเพอ่ื แสดงการประท้วง

ที่กรุงเนปีดอ มีทั้งขบวนรถจักรยานยนต์และรถยนตร์ ว่ มการประท้วง ส่วนที่เมืองทวาย เมืองชายฝั่งทาง
ตะวันออกเฉียงใต้ วงดนตรีรวมทีมตีกลองส่งเสียงขณะผู้ชุมนุมประท้วงเดินขบวนภายใต้แสงแดดรอ้ นระอุ และที่
เมอื งวายหมอ่ ทางเหนือสดุ ของรฐั กะฉนิ่ บริเวณรมิ ฝง่ั แม่น้ำอริ วดี ฝูงชนถือธงเดนิ ขบวนและร้องเพลงปฏวิ ัติ

ผชู้ ุมนมุ ประท้วงทวั่ ประเทศต่างชูภาพใบหน้าของอองซานซูจี โดยการควบคุมตัวซูจีจากข้อหานำเข้าวิทยุ
ส่อื สารผดิ กฎหมาย มีกำหนดสิน้ สดุ ลงในวนั จนั ทร์น้ี (15)

ด้านสมาคมช่วยเหลือนักโทษการเมืองระบวุ ่า นับต้งั แต่เกดิ รฐั ประหารมีคนถูกจบั กมุ ตวั มากกวา่ 384 คน
โดยสว่ นใหญ่เป็นการจับกมุ ในเวลากลางคนื

“ขณะที่ประชาคมโลกกำลังประณามรัฐประหาร แต่มิน อ่อง หล่าย กำลังใช้เครื่องมือทุกอย่างที่มีสร้าง
ความหวาดกลัวและการไร้ซึ่งเสถียรภาพ” นักเคลื่อนไหวจากกลุ่มสิทธิมนุษยชน Burma Campaign กล่าวทาง
ทวติ เตอร์ ถึงผบู้ ัญชาการทหารสูงสดุ ของกองทพั พมา่

ผูช้ ุมนุมประท้วงจำนวนมากในนครยา่ งกุ้งถือป้ายเรียกรอ้ งใหท้ างการหยดุ ลกั พาตวั ผู้คนในเวลากลางคนื

23

ชาวเมืองได้รวมตัวกันในช่วงดึกของวันเสาร์ (13) ออกลาดตระเวนตามถนนสายต่างๆ ในนครย่างกุ้ง และเมือง
มัณฑะเลย์ ด้วยหวาดกลัวว่าจะมีการบุกจบั กมุ ตัว รวมถึงเหตุอาชญากรรม หลังรัฐบาลทหารสัง่ ปล่อยตัวผู้ต้องขงั

นบั หม่ืนความวิตกกังวลเกีย่ วกับการก่ออาชญากรรมเพม่ิ สงู ข้นึ นับตั้งแต่วันศุกร์ (12) เมือ่ รัฐบาลทหารประกาศว่า
จะปล่อยตัวผู้ต้องขังมากกว่า 23,000 คน โดยระบุว่า ความเคลื่อนไหวดังกล่าวสอดคล้องกับการสร้างรัฐ

ประชาธิปไตยใหม่ท่ีมสี นั ติภาพ การพัฒนา และระเบยี บวินยั
ภาพถา่ ยทปี่ รากฏบนสื่อสังคมออนไลนย์ ง่ิ ทำใหเ้ กดิ กระแสขา่ วลอื หนกั ข้นึ ไปอีกวา่ อาชญากรกำลังพยายาม

ก่อความไมส่ งบด้วยการวางเพลิงหรือวางยาพิษในนำ้

ติน มี้น ผู้อยู่อาศัยในย่านซานชวงของนครย่างกุ้ง เป็นหนึ่งในฝูงชนท่ีเข้าควบคุมตวั กลุ่มคน 4 คนที่ต้อง
สงสยั วา่ ก่อเหตุโจมตีในละแวกใกลเ้ คยี ง

“เราคิดว่าทหารจงใจก่อความรุนแรง โดยให้อาชญากรเหล่านีแ้ ทรกตัวเข้าไปในการชุมนุมประท้วงอย่าง
สันต”ิ ติน มน้ี กล่าว

ติน มี้น อ้างถึงการชุมนุมประทว้ งสนบั สนุนประชาธิปไตยในปี 2531 ที่ทหารถูกกล่าวหาอยา่ งกว้างขวาง

ว่าปล่อยตัวอาชญากรเข้ามาในหมู่ประชาชนเพื่อกอ่ เหตุโจมตี และอ้างเรื่องความไมส่ งบในเวลาต่อมา เพื่อสร้าง
ความชอบธรรมในการขยายอำนาจของตน

นอกจากน้ี ยังมีรายงานว่ามีคนเหน็ โดรนลอยอยู่เหนือกลุ่มคน โดยหนึ่งในผู้เห็นเหตกุ ารณ์กล่าวว่า โดรน
บนิ ขนึ้ ๆ ลงๆ และถ่ายภาพฝงู ชนที่กำลงั ไล่จับโจร

ท้ังนี้ รอยเตอร์ไม่สามารถติดต่อรฐั บาลหรือกองทพั เพื่อขอความคิดเหน็ ได้

ในคืนวันเสาร์ (13) กองทัพได้ฟื้นกฎหมายที่กำหนดให้ประชาชนต้องรายงานผู้ที่มาเยี่ยมบ้านในตอน
กลางคนื และอนุญาตให้กองกำลงั ความม่นั คงเข้าควบคุมตวั ผู้ต้องสงสัยและค้นทรัพยส์ ินสว่ นตวั ได้โดยไม่ต้องได้รับ

อนุมัตจิ ากศาล และสงั่ ให้จบั กุมตัวผู้สนับสนนุ การชุมนมุ ประทว้ ง
การรัฐประหารทเ่ี กิดขึน้ เรียกเสียงประณามจากชาติตะวันตก โดยสหรัฐฯ ไดป้ ระกาศมาตรการคว่ำบาตร

บางสว่ นกับนายพลทป่ี กครองประเทศ ขณะท่ีประเทศตา่ งๆ กำลงั พิจารณามาตรการอยู่เช่นกนั .

ประเภทของขา่ ว …………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………….

.

พาดหวั ขา่ ว …………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………….

.

24

เหตกุ ารณท์ ่ี …………………………………………………………………………………………
เกิดขนึ้ ในข่าว ……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

คะแนนท่ีได้…………….คะแนน

25

หน่วยท่ี 3 เรือ่ งการนำเสนอผลงาน แบบทดสอบหลังเรยี น วิชาเคมี
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 เวลา 20 นาที
ภาคเรยี นที่ 2

คำชีแ้ จง
1. แบบทดสอบฉบับนี้เปน็ แบบปรนยั เลือกตอบ 4 ตวั เลือก จำนวน 30 ข้อใชเ้ วลาในการสอบ 20 นาที
2. ให้นักเรยี นเลอื กคำตอบทถ่ี กู ตอ้ งที่สุดเพียงคำตอบเดยี ว แล้วทำเคร่อื งหมาย × ลงในกระดาษคำตอบ

1. ข้อใดคอื ความหมายของการนำเสนอขอ้ มูล

ก. การสอ่ื สารเพอื่ เสนอข้อมูล

ข. การแสดงความคิดเห็น

ค. การตัดสินใจในการดำเนินงาน

ง. การแลกเปลีย่ นขอ้ มูล

2. ข้อใดไมใ่ ช่วตั ถุประสงค์ในการนำเสนอข้อมลู

ก. เพือ่ ใหผ้ ู้รับการนำเสนอข้อมลู รับทราบความคิดเหน็

ข. เพอ่ื ให้ผรู้ ับการนำเสนอข้อมลู ไดร้ ับความรู้จากข้อมูลที่นำเสนอ

ค. เพื่อบรรยายขอ้ มูลทางดา้ นวชิ าการ

ง. เพอื่ เผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์

3. การจัดเรียงลำดับข้อใดจัดเปน็ ลำดบั แรก

ก. แสดงชอื่ เร่อื ง พร้อมชือ่ ของผ้นู ำเสนอ ข. แสดงวตั ถุประสงค์

ค. แสดงหัวขอ้ ในการนำเสนอ ง. แสดงเน้อื หาในการนำเสนอ

4. นิยาม หมายถงึ อะไร

ก. การกำหนด หรอื การจำกดั ความหมายท่ีแนน่ อน

ข. ศพั ทเ์ ฉพาะ

ค. ศัพท์ปกติ

ง. ความหมายของคำทกี่ ำหนดตามพจนานกุ รม

5. ขอ้ ใดกล่าวถงึ ประโยชนข์ องการ นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ ไดถ้ ูกตอ้ งทส่ี ดุ

ก. ชว่ ยให้นยิ ามศพั ทไ์ ด้ถูกต้องตามแบบพจนานกุ รม

ข. ชว่ ยให้ผอู้ ่านเขา้ ใจความหมายของศพั ท์ได้ตรงกบั ผู้ศึกษาค้นควา้ กำหนด

ค. ช่วยให้ผอู้ ่านเขา้ ใจความหมายของศัพทไ์ ด้ตรงกบั ท่สี ารานกุ รมกำหนด

ง. ช่วยให้ผลการศึกษาคน้ คว้าถูกต้อง ชัดเจนตามจดุ ม่งุ หมาย

6. ขอ้ ใด หมายถึงประชากรในการศกึ ษาค้นควา้

ก. คน ข. คน สัตว์

ค. คน สัตว์ ส่ิงของ ง. คน สตั ว์ ส่งิ ของ และลักษณะทางจติ วิทยา

26

7. การศกึ ษาคน้ คว้าตามข้อใดควรใช้กลุ่มตัวอย่างนอ้ ย

ก. การใชแ้ บบสอบถาม ข. การใช้แบบทดสอบ

ค. การทดลอง และการสัมภาษณ์ ง. การสัมภาษณ์

8. ข้อใดเป็นการเลือกกลุม่ ตัวอยา่ ง โดยการสุ่ม

ก. มงคล เลือกแบบบังเอญิ ข. ดนภัทร เจาะจงตามความสะดวก

ค. ปรชั ญา ใช้วธิ ีจบั ฉลาก ง. มารี ไมอ่ าศยั ความน่าจะเปน็

9. ขอ้ ใดเปน็ ความหมายของแบบสอบถาม

ก. เครือ่ งมอื ทผ่ี ศู้ กึ ษาค้นควา้ ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู

ข. คำถามทก่ี ำหนดให้กล่มุ ตวั อย่างตอบโดยกาเครื่องหมาย

ค. การเขียนอธิบายตอบคำถามตามทีผ่ ู้ถามกำหนด

ง. ขอ้ เท็จจริง หรือความคดิ เหน็ ของบคุ คล

10. ข้อใดเป็นคำชีแ้ จงในการตอบแบบสอบถาม

ก. เพศ ระดบั การศึกษา อายุ อาชพี

ข. แจง้ จดุ มุ่งหมาย อธิบายลกั ษณะ ตัวอยา่ งการตอบแบบสอบถาม

ค. ตัง้ คำถามแบบปลายปดิ

ง. ตงั้ คำถามแบบปลายเปิด

11. ขอ้ ใดกล่าวถงึ ข้อคำถาม ไดถ้ กู ตอ้ ง

ก. แบบปลายปดิ ผเู้ ขียนอธิบายตอบดว้ ยตนเอง

ข. แบบปลายเปดิ จะมคี ำตอบใหเ้ ลอื กตอบ

ค. ไม่สามารถสรา้ งคำถามแบบปลายเปิด กบั ปลายปดิ ให้อยู่ในแบบสอบถามชดุ เดยี วกนั ได้

ง. เปน็ สว่ นสำคญั ท่สี ุดทีจ่ ะช่วยให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับเร่ืองทศ่ี กึ ษาค้นคว้า

12. การต้ังคำถามในแบบสอบถาม ควรให้สอดคล้องกับเร่อื งใดมากท่ีสดุ

ก. นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ ข. บรรณานุกรม

ค. สมมุติฐาน ง. จดุ มงุ่ หมาย

13. ลักษณะของแบบสอบถาม ข้อใดถกู ต้อง

ก. ใช้คำอธบิ าย ขยายความให้มากท่ีสุด

ข. ควรเก็บรวบรวมข้อมลู ด้วยตนเอง

ค. คำถามครอบคลุมประเด็นท้งั หมดของการศกึ ษาคน้ ควา้

ง. เลอื กถามเฉพาะประเด็นท่มี ีความสำคัญ

14. แหล่งท่ีมาของขอ้ มูลที่ได้จากการศกึ ษาค้นคว้า จะมคี วามนา่ เช่ือถือไดม้ ากหรอื น้อย ขน้ึ อยกู่ บั อะไร

ก. ข้อมูล ข. ทฤษฏี

ค. ผู้ศกึ ษาคน้ คว้า ง. การตรวจสอบ

15. การตรวจสอบสถานท่ีเดียวกนั ผลออกมาเหมือนกนั ควรปฏบิ ัติอย่างไร

ก. ผศู้ กึ ษาควรตรวจสอบในแหลง่ สถานที่อื่นด้วย ข. ผู้ศกึ ษาไม่ตอ้ งตรวจสอบแหลง่ สถานทอี่ ืน่

ค. ถูกท้ังข้อ ก และข้อ ข ง. ผู้ศกึ ษาควรตรวจสอบในช่วงเวลาทต่ี ่างกนั ด้วย

27

16. เพราะเหตุใดจึงต้องมกี ารตรวจสอบผู้ศกึ ษา

ก. เป็นหลกั การที่ต้องปฏิบัติในการศกึ ษาค้นควา้ ข. สรา้ งความน่าเช่อื ถอื ได้มากข้ึน

ค. เพ่ือให้สอดคล้องกับหลักการตรวจสอบขอ้ มูล

ง. การตรวจสอบทฤษฏีต้องตรวจสอบผู้ศึกษากอ่ น

17. ข้อใดเปน็ การตรวจสอบทฤษฏี

ก. การพิสูจน์วา่ ขอ้ มูลท่ีผู้ศึกษาค้นควา้ มา ถูกตอ้ งหรอื ไม่

ข. การตรวจสอบในสถานทีเ่ ดียวกนั หรือตา่ งกนั มผี ลเหมอื นกัน หรือไม่

ค. การตรวจสอบว่าผู้ศึกษาใช้แนวคิดตีความข้อมูลตา่ งกนั มากนอ้ ยเพียงใด

ง. การตรวจสอบจากบุคคลหลายคน

18. เพราะเหตใุ ด จึงตอ้ งมกี ารรวบรวมข้อมลู เรอื่ งเดียวกัน ประกอบกบั การซักถาม และศกึ ษาขอ้ มูล เพม่ิ เติมจาก

แหล่งเอกสาร

ก. ใช้ตรวจสอบว่าผู้ศึกษาใช้แนวคดิ ทฤษฏใี ดในการศึกษาคน้ คว้า

ข. เพือ่ ตรวจสอบผลการศึกษาเรอื่ งลกั ษณะเดียวกัน จากผูศ้ ึกษาหลายคน

ค. ใช้ประกอบการตรวจสอบความนา่ เชอ่ื ถือของแหล่งทม่ี าของข้อมูล

ง. เพอ่ื พสิ ูจนว์ ่าขอ้ มลู ท่ีผศู้ ึกษาค้นคว้าได้มานัน้ ถกู ตอ้ ง หรอื ไม่

19. ภาพประกอบ และตาราง จำเป็นตอ้ งมใี นรายงาน หรือไม่

ก. มี ข. ไม่มี

ค. มี หรือไมม่ กี ็ได้ ง. ยงั ไม่สรุป

20. เมื่อมีภาพประกอบ และตารางในรายงาน ควรมรี ายการใดประกอบ

ก. ช่ือภาพ ข. ชอื่ ตาราง

ค. การอ้างอิงแหล่งท่ีมาของขอ้ มูล ง. ชือ่ ภาพ ชื่อตาราง และการอ้างองิ

21. ขอ้ ใดเปน็ “ส่วนนำ” ของรายงาน

ก. บทนำ ข. สารบญั

ค. บรรณานุกรม ง. ประวตั ยิ อ่ ผรู้ ายงาน

22. ขอ้ ใดถกู ตอ้ ง

ก. บทที่ 5 วรรณกรรมทเี่ ก่ยี วข้อง ข. บทท่ี 4 ผลการศึกษาค้นคว้า

ค. บทที่ 3 สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ง. บทที่ 2 วธิ ีการศกึ ษาคน้ คว้า

23. รายการใดทีต่ ้องสอดคล้องกับการอา้ งองิ แทรกในเนอ้ื หา

ก. บรรณานุกรม ข. ภาคผนวก

ค. อภิธานศพั ท์ ง. ประวตั ิยอ่ ผทู้ ำรายงาน

24. เพราะเหตใุ ดจึงตอ้ งเลือกใช้เครือ่ งมอื การเก็บรวบรวมขอ้ มูลทเี่ หมาะสม

ก. เป็นเทคนคิ สำคัญในการใชเ้ คร่ืองมือการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล

ข. เพอื่ ให้ไดข้ อ้ มูลท่ถี กู ต้อง และสรุปผลไดต้ รงกบั จดุ ประสงค์ของการศึกษาค้นควา้

ค. เปน็ หลักการสำคัญของการศึกษาคน้ ควา้ ทีต่ ้องใช้เครอื่ งมือการเก็บรวบรวมข้อมูล

ง. เพือ่ ชว่ ยใหส้ ามารถวิเคราะห์ พิจารณาเปรียบเทียบข้อมูลได้โดยสะดวกรวดเรว็

28

25. แบบทดสอบใช้ให้กลมุ่ ตวั อยา่ งตอบไดใ้ นรูปแบบใด

ก. เขียนตอบ การคิด และการพดู ข. การพดู การปฏิบัติ และการคิด

ค. เขยี นตอบ การพดู และการปฏิบัติ ง. เขียนตอบ การคิด และการปฏบิ ัติ

26. เครื่องมอื ที่มีข้อคำถามใหก้ ลุ่มตัวอย่างตอบ โดยกาเครื่องหมาย เขยี นตอบ หรอื สัมภาษณ์ นิยมถาม เกย่ี วกบั

ขอ้ เท็จจรงิ และความคิดเหน็ เปน็ ความหมายของอะไร

ก. การสัมภาษณ์ ข. การสังเกต

ค. แบบทดสอบ ง. แบบสอบถาม

27. การสังเกตการณ์ เป็นเครอื่ งมอื การเก็บรวบรวมข้อมลู ท่ีเหมาะสมกบั ข้อใด

ก. ข้อมลู สว่ นตวั บุคลิกภาพ เจตคติ และความคิดเห็น

ข. การเก็บรวบรวมข้อมลู ที่สามารถสังเกต หรอื วัดใหเ้ ปน็ ปรมิ าณได้

ค. การศกึ ษาข้อมูลเก่ียวกบั ขอ้ เท็จจริง และความคิดเห็นของบุคคล

ง. การศึกษาเหตุการณ์เพ่ือให้เข้าใจลักษณะธรรมชาติ

28. การเร่มิ ต้นสมั ภาษณ์ เพราะเหตุใดจึงควรสนทนาเร่ืองทคี่ าดว่าผูใ้ ห้สัมภาษณ์สนใจ

ก. สรา้ งความคนุ้ เคย ข. มารยาทในการสัมภาษณ์

ค. มนษุ ยสมั พนั ธ์ ง. หลักการสัมภาษณ์

29. วิธีดำเนนิ การศกึ ษาค้นควา้ ข้อใดถูกตอ้ งท่ีสดุ

ก. กลมุ่ ตัวอยา่ งจะมีเทา่ กบั หรือมากกว่าประชากรก็ได้

ข. กล่มุ ตัวอยา่ งจะมีเท่ากับ หรอื น้อยกว่าประชากรกไ็ ด้

ค. ประชากรจะมีนอ้ ยกวา่ กลุ่มตวั อย่าง

ง. ประชากรจะมีมากกว่ากล่มุ ตัวอยา่ ง

30. สิ่งท่คี วรกล่าวถงึ เครอ่ื งมอื ในการศึกษาค้นคว้า คืออะไร

ก. ลกั ษณะ เนือ้ หา ส่วนประกอบ วิธีใช้ ข. เน้ือหา สว่ นประกอบ ประชากร

ค. สว่ นประกอบ วิธีใช้ กลมุ่ ตัวอย่าง ง. กระบวนการสรา้ ง ประชากร กล่มุ ตวั อยา่ ง

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

29

บรรณานกุ รม
สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). คูม่ อื ครู รายวิชาเพิม่ เตมิ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 เลม่ 6.พิมพ์ครง้ั ที่ 1 ; กรุงเทพฯ : โรงพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.
สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2562). หนังสือเรยี นรายวชิ าเพม่ิ เติมวทิ ยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี เคมี เลม่ 1. พมิ พ์ครั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.
ผู้จัดการออนไลน์. (2564). พม่าประทว้ งรฐั ประหารวันที่ 9 ชาวเมืองจบั กลุ่มลาดตระเวนหลงั ทหารปลอ่ ยตัว

นักโทษ คาดจงใจสร้างความรุนแรง. สืบคน้ เม่ือ 15 กมุ ภาพนั ธ์ 2564, จาก
https://mgronline.com/indochina/detail/9640000014670

30


Click to View FlipBook Version