The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดที่ 2 สมบัติของสารและการจำแนกสาร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2022-04-23 08:13:08

ชุดที่ 2 สมบัติของสารและการจำแนกสาร

ชุดที่ 2 สมบัติของสารและการจำแนกสาร

ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคดิ โยนิโสมนสิการ

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง สมบัตขิ องสารและการจำแนกสาร

วชิ าวิทยาศาสตร์ 1 ว21101

สอนโดย
นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์

ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ

ปีการศกึ ษา 2565

สำหรับนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม
ชอื่ -สกลุ ..................................................ชน้ั .........เลขท.่ี .......

สารบัญ ก

บทนำ................................................................................................................................ 1
คำช้แี จงการใช้ชุดกิจกรรม................................................................................................ 1
1
แบบประเมนิ ตนเองกอ่ นเรยี น........................................................................................... 2
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง สมบตั ิของสารและการจำแนกสาร............................................... 3

ขัน้ พัฒนาปัญญา 7
-สมบัติของสารบรสิ ทุ ธ์ิ………………………………………….......................... 11
-กิจกรรม รว่ ม กนั คิด 1
11
-กิจกรรมที่ 1 จุดเดอื ดของสารบริสุทธิแ์ ละสารผสมเปน็ อยา่ งไร 14
-กิจกรรมที่ 2 จุดหลอมเหลวของสารบรสิ ุทธิ์และสารผสมเปน็ 16
17
อยา่ งไร (สาธติ /ดูวิดีทศั น์) …………………………………………...................... 18
-กจิ กรรม ร่วม กนั คิด 2 19
-กิจกรรมที่ 3 ความหนาแนน่ ของสารบริสทุ ธแิ์ ละสารผสมเป็น 24
27
อย่างไร....................................................................................... 29
-กิจกรรม ร่วม กนั คิด 3......................................................... 30
30
-กิจกรรม ร่วม กนั คิด 4......................................................... 31
-แบบฝกึ หัดท้ายบทเรยี นเร่อื งสมบตั ิของสารบริสุทธ์ิ.................. 31
-การจำแนกและองคป์ ระกอบของสารบรสิ ทุ ธ์ิ…………………….... 32
37
-กจิ กรรมท่ี 4 สารบรสิ ุทธม์ิ อี งคป์ ระกอบอะไรบ้าง………………..
-กจิ กรรมที่ 5 โครงสร้างอะตอมเป็นอยา่ งไร…………………………

-กจิ กรรมท่ี 6 เราจำแนกธาตุไดอ้ ย่างไร……...…………………………
-กจิ กรรม รว่ ม กนั คดิ 5...........................................................
ขัน้ นำปญั ญาพฒั นาความคิด

-กิจกรรม เขยี นผงั มโนทศั นส์ รุปองคค์ วามรใู้ นบทเรยี น
ข้ันนำปญั ญาพัฒนาตนเอง

-กจิ กรรม การนำธาตุไปใชม้ ผี ลอยา่ งไรบา้ ง …….…………………
แบบประเมินตนเองหลงั เรียน............................................................................................
เอกสารอา้ งองิ ...................................................................................................................

บทนำ
ชุดกิจกรรมที่ผู้เรียนจะได้ศึกษานี้เรียกว่าชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
หน่วยการเรยี นรู้เรอ่ื ง สมบัตขิ องสารและการจำแนกสาร เป็นสอื่ วิทยาศาสตร์ท่ีเน้นให้ผู้เรยี นมีความสามารถใน
การคิดแกป้ ัญหาอย่างมีระบบ พบคำตอบของปัญหาหรือสถานการณ์นั้นด้วยตนเอง ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการ
เรยี นรดู้ ้วยตนเอง ได้คิดและลงมอื ปฏิบตั กิ ิจกรรมตา่ ง ๆ และ เพอื่ ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สุดนักเรยี น
ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการเนื้อหาส่วนใหญ่เน้นการให้นักเรยี นสามารถ
นำไปประยุกต์ใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวันเพื่อให้นักเรยี นสามารถเรียนรู้เน้ือหาได้ด้วยตนเองจึงไดเ้ รียบเรียง
เนื้อหาใหก้ ระชับและน่าสนใจและนอกจากน้ียังไดแ้ ทรกรปู ภาพและคำถามชวนคิดไว้ตลอดทำให้ไม่เบ่ือในการ
อ่านและทำกจิ กรรม
ผจู้ ัดทำชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารชุดน้ีจะมี
ประโยชน์ในการเรียนรเู้ นื้อหาตามหลักสูตร ผเู้ รียนมีความรู้และความสามารถในการสืบคน้ การจัดระบบสิ่งท่ี
เรียนรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือสรา้ งองค์ความรู้ ได้เป็นอยา่ งดีสามารถนำความรู้ที่ได้จากการ
เรียนรไู้ ปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ และเป็นประโยชน์สำหรบั ผทู้ ่ีสนใจใช้เปน็ แนวทาง ในการจัดกระบวนการ
เรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีไดต้ ่อไป

...........................................
( นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์ )
ผ้จู ัดทำชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์



คำชแี้ จงการใชช้ ุดกจิ กรรมวิทยาศาสตรต์ ามแนวคดิ แบบโยนโิ สมนสิการ
เร่อื ง สมบตั ิของสารและการจำแนกสาร

1. สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพันธร์ ะหว่างสมบัตขิ อง

สสารกบั โครงสรา้ งและแรงยึดเหนย่ี วระหว่างอนุภาค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปลยี่ นแปลงสถานะของสสาร
การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี
2. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวชว้ี ดั เร่ืองสมบตั ิของสารและการจำแนกสาร

มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวช้วี ัด ว2.1ม.1/1,1/2,1/3 ,1/4, 1/5,1/6,1/7,1/8
3. วิธเี รียนรู้จากชดุ กจิ กรรมน้ีเพื่อให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุดนักเรียนควรปฏิบตั ติ ามคำชี้แจง ตอ่ ไปน้ี
ตามลำดับ

1. ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตรส์ องภาษาตามแนวคดิ แบบโยนโิ สมนสิการ เรือ่ ง สมบตั ิของสารและการ
จำแนกสาร ชุดน้ี ใชเ้ วลาในการศกึ ษา 18 ชวั่ โมง
2. ใหน้ กั เรยี นจดั กลมุ่ ๆ ละประมาณ 6 คน
3. ให้นกั เรยี นศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชวี้ ดั ของชดุ การเรียน
4. ใหน้ ักเรียนปฏบิ ตั ิกจิ กรรมในชุดกิจกรรมวิทยาศาสตรต์ ามแนวคดิ แบบโยนิโสมนสิการ โดยใช้

รปู แบบการเรียนรแู้ บบโยนโิ สมนสกิ ารตามข้ันตอนดังน้ี
1. ขั้นพัฒนาปัญญา
2. ขน้ั นำปัญญาพฒั นาความคดิ
3. ขน้ั นำปัญญาพัฒนาตนเอง

4. สาระสำคัญ
สารบรสิ ทุ ธิ์ประกอบดว้ ยสารเพยี งชนิดเดียว สว่ นสารผสมประกอบด้วยสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป สาร

บริสทุ ธแิ์ ต่ละชนิดมีสมบตั ิบางประการทีเ่ ป็นคา่ เฉพาะตัว มคี า่ คงท่ี เช่น จุดเดอื ด จดุ หลอมเหลว และความ
หนาแนน่ แตส่ ารผสมมจี ุดเดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแน่นไมค่ งท่ี ข้ึนอยกู่ ับชนดิ และสดั สว่ นของสารที่
ผสมอยดู่ ้วยกัน

สารบรสิ ทุ ธ์ิสามารถแบ่งออกเปน็ ธาตุและสารประกอบ ธาตุมีองค์ประกอบเพียงชนิดเดยี วและไม่
สามารถแยกสลายเป็นสารอ่ืนได้ดว้ ยวธิ ีทางเคมี ส่วนสารประกอบธาตุองค์ประกอบตงั้ แต่ 2 ชนิดขึ้นไปรวมตัว
กนั ทางเคมใี นอตั ราสว่ นคงทม่ี สี มบตั ิแตกต่างจากธาตุท่เี ปน็ องคป์ ระกอบ สามารถแยกองค์ประกอบของ
สารประกอบออกจากกันไดด้ ้วยวธิ ีทางเคมีโดยธาตุแตล่ ะชนดิ ประกอบดว้ ยอนภุ าคที่เลก็ ท่ีสดุ เรยี กว่าอะตอม
อะตอมประกอบดว้ ยโปรตอน นวิ ตรอน และอิเลก็ ตรอนซึ่งโปรตอนและนวิ ตรอนรวมกันตรงกลางอะตอม
เรียกว่า นิวเคลยี ส สว่ นอเิ ล็กตรอนเคลื่อนท่ีรอบนิวเคลียส อะตอมของแต่ละธาตแุ ตกตา่ งกันทีจ่ ำนวนโปรตอน
ธาตุแต่ละชนิดมีสมบัติเฉพาะตัว นักวิทยาศาสตร์ใช้สมบตั ทิ างกายภาพของธาตุเพอ่ื จำแนกธาตุเปน็ โลหะ
อโลหะและก่ึงโลหะ ธาตบุ างชนิดเปน็ ธาตุกัมมนั ตรงั สี ซงึ่ ธาตโุ ลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะและธาตกุ ัมมนั ตรงั สใี ช้
ประโยชน์ได้แตกตา่ งกันการนำธาตมุ าใชอ้ าจมผี ลกระทบตอ่ สิ่งมีชวี ิต สิง่ แวดลอ้ ม เศรษฐกิจ และสงั คม

*** ขอใหน้ กั เรยี นทุกคนได้เรยี นรู้วิทยาศาสตรอ์ ยา่ งมีความสขุ ***


แบบประเมินตนเองก่อนเรียน
คำช้แี จง : ใหน้ ักเรยี นเลือกคำตอบทถี่ กู ต้องทีส่ ุดเพียงคำตอบเดยี ว ใชเ้ วลา 20 นาที
1. พบขวดสารเคมีท่ีไม่ติดฉลากบรรจุสารท่มี ีสถานะของแข็ง สขี าว ไม่มกี ลิน่ เมื่อนำไปทดสอบ โดยหาจดุ
หลอมเหลวพบว่าสารเริม่ หลอมเหลวท่อี ณุ หภูมิ 156 oC และหลอมเหลวหมดที่อุณหภูมิ 156.5 oC ข้อสรุปใด
ถูกต้อง
ก. สารนเี้ ป็นสารผสมเพราะมีจดุ หลอมเหลวไมค่ งท่ี
ข. สารน้ีเป็นสารผสมเพราะจุดหลอมเหลวสงู กว่า 100 oC
ค. สารนี้เปน็ สารบริสทุ ธเ์ิ พราะเปน็ ของแข็ง สีขาว ไมม่ กี ลนิ่
ง. สารนเ้ี ป็นสารบริสุทธิเ์ พราะมีช่วงอณุ หภมู ิท่ีหลอมเหลวแคบ
2. นำของเหลว 3 ชนดิ ไปใหค้ วามรอ้ นและบนั ทึกผลอณุ หภมู ิทกุ ๆ 3 นาที จากนน้ั นำข้อมูลมาเขียนกราฟ
ความสัมพันธร์ ะหวา่ งการเปลย่ี นแปลงอุณหภูมขิ องสารกับเวลา ไดด้ งั นี้

ข้อสรุปใดถกู ต้อง
ก. สาร A เป็นสารผสม ส่วนสาร B และ C เปน็ สารบรสิ ุทธ์ิ
ข. สาร C เป็นสารบรสิ ุทธ์ิ ส่วนสาร A และ B เปน็ สารผสม
ค. สารทั้ง 3 ชนิด เปน็ สารบริสุทธิ์
ง. สารทงั้ 3 ชนิด เป็นสารผสม

3. สาร D มจี ดุ เดือดและจุดหลอมเหลวกี่องศาเซลเซียส *

ก. จุดเดือด 0 oC และจุดหลอมเหลว 40 oC ข. จดุ เดอื ด 40 oC และจุดหลอมเหลว 0 oC
ค. จุดเดอื ด 60 oC และจุดหลอมเหลว 80 oC ง. จดุ เดอื ด 80 oC และจุดหลอมเหลว 60 oC

4. ขอ้ ใดต่อไปน้ถี ูกตอ้ ง **
ก. สาร A มีจุดหลอมเหลวสงู กวา่ สาร C และสาร D
ข. สาร A มจี ุดเดอื ดต่ำกวา่ สาร B สาร C และสาร D
ค. สาร C มีจดุ เดือดตำ่ กวา่ สาร B และสูงกว่าสาร D
ง. สาร C มีจุดหลอมเหลวสูงกว่าสาร B และต่ำกว่าสาร D

5. พิจารณาข้อมูลจากกราฟแลว้ ตอบคำถาม

ถ้านำวัตถทุ ง้ั 3 ชนิดหยอ่ นลงในนำ้ มนั พืชที่มคี วามหนาแนน่ 0.90 g/cm3 วตั ถชุ นดิ ใดลอยในนำ้ มนั พืชได้

ก. A และ B ข. A และ C ค. B และ C ง. A B และ C

6. ตารางมวลและปรมิ าตรของวัตถุ 4 ชิ้น

เม่ือหาความหนาแน่นของวตั ถทุ ้ัง 4 ช้นิ แผนภมู แิ ท่งขอ้ ใดสอดคลอ้ งกับขอ้ มูลในตาราง

7. แก๊ส A มีความหนาแน่น 0.80 g/cm3 แก๊ส B มคี วามหนาแน่น 1.14 g/cm3 และ แกส๊ C มีความหนาแนน่

0.07 g/cm3หากบรรจุแก๊สแต่ละชนดิ มวล 50 กรมั ในลูกโปง่ ท่อี ุณหภมู หิ อ้ งและความดนั บรรยากาศ ให้

เรียงลำดบั ขนาดลกู โป่งทบี่ รรจุแกส๊ จากเล็กไปใหญ่ **

ก. B A C ข. C A B ค. C B A ง. B C A

8. ตารางมวลและปริมาตรของวตั ถทุ ่ีเป็นสารบรสิ ุทธิ์ 4 ชน้ิ

จากตาราง วัตถุชิ้นใดเป็นวัตถุชนดิ เดยี วกนั

ก. วตั ถุ A และ C ข. วัตถุ A และ D ค. วัตถุ B และ C ง. วัตถุ B และ D

9. ตอ้ งการหาค่าความหนาแน่นของวตั ถุชิ้นหนง่ึ ท่ีมีรูปทรงไมเ่ ป็นรูปทรงเรขาคณติ โดยส่วนที่กวา้ งท่สี ดุ ของ

วตั ถุยาว3.5 cm และส่วนทย่ี าวของวตั ถยุ าว 8.0 cm ควรเลือกใช้อปุ กรณ์ในขอ้ ใดในการหามวลและปริมาตร

ของวัตถุ

ใช้ข้อมลู ในตาราง ตอบคำถาม ขอ้ 10 - 11

10. ขอ้ ใดเป็นสารประกอบทั้งหมด ข. ฮเี ลียม เงิน
ก. กรดน้ำส้ม โอโซน ง. กรดน้ำสม้ ปูนขาว

ค. แกส๊ คลอรีน แมกนีเซียมคลอไรด์ ข. ฮีเลยี ม เงิน
11. ข้อใดเปน็ ธาตุท้ังหมด ง. กรดนำ้ ส้ม ปนู ขาว

ก. กรดน้ำสม้ โอโซน ข. ดึงเป็นเสน้ ได้
ค. แกส๊ คลอรนี แมกนเี ซยี มคลอไรด์ ง. มคี วามมันวาว
12. ขอ้ ใดไม่ใช่สมบัติของธาตุโลหะ

ก. เปราะ
ค. นำไฟฟ้าและนำความรอ้ นได้ดี

13. จากภาพดา้ นบนแสดงอะตอม ข้อใดถกู ตอ้ ง ข. 1, 2, 4 เปน็ ธาตุ
ก. 1, 2, 3 เป็นธาตุ ง. 3, 4, 5 เปน็ สารประกอบ
ค. 2, 3, 5 เปน็ สารประกอบ

14. อะตอมของธาตุลเิ ทียมมี 3 โปรตอน 4 นวิ ตรอน และ 3 อิเล็กตรอน แบบจำลองอะตอมในขอ้ ใด แสดง
อะตอมของธาตลุ ิเทยี มไดเ้ หมาะสมเม่อื

ก ข คง
15. ขอ้ ใดไม่ถูกตอ้ งเกย่ี วกบั การนำธาตุไปใช้ *

ก. ทองแดง เป็นโลหะทีใ่ ช้ทำสายไฟฟา้ เพราะนำไฟฟ้าไดด้ ี
ข. ซิลคิ อน เปน็ โลหะท่ีใช้ในอุปกรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ เพราะมสี มบตั ิเปน็ สารก่งึ ตัวนำ
ค. เหลก็ เป็นโลหะท่ีใช้ทำเครอื่ งจกั ร เพราะรบั นำ้ หนกั ไดแ้ ละคงทนตอ่ การสึกหรอ
ง. ไนโตรเจน เป็นอโลหะทใี่ ชใ้ นปุ๋ยเร่งผลผลิตทางการเกษตร เพราะเปน็ สว่ นประกอบที่สำคญั ของพืช

คะแนนเต็ม 15 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

หนว่ ยท่ี 2 เรื่องสมบัติของสารและการจำแนกสาร

เวลา 18 ช่ัวโมง

ขัน้ พัฒนาปญั ญา กิจกรรม ฝึ กอ่าน : ฝึ กคิด

1. สมบตั ขิ องสารบริสทุ ธ์ิ

สารบริสทุ ธิป์ ระกอบด้วยสารเพียงชนิดเดียว สว่ นสารผสมประกอบด้วยสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึน้ ไป สารบรสิ ทุ ธิแ์ ต่ละ
ชนิดมีสมบัติบางประการที่เป็นค่าเฉพาะตัว มีค่าคงท่ี เช่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแน่น แต่สาร
ผสมมีจุดเดือดจดุ หลอมเหลว และความหนาแนน่ ไมค่ งที่ ข้นึ อยกู่ ับชนิดและสัดส่วนของสารท่ผี สมอยู่ดว้ ยกัน

สง่ิ ทเ่ี ห็นในภาพมีลกั ษณะ
เหมือนและแตกต่างกัน
อยา่ งไร

ภาพทองคำแทง่ และทองรูปพรรณ

...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
.......................................................

ถา้ นกั เรียนต้องการทราบวา่ ส่ิงที่
เหน็ ในภาพเป็นสารผสมหรือ
สารบรสิ ุทธ์ิจะตอ้ งทำอยา่ งไร

..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

1

ทองคำใช้ทำเคร่ืองประดับหรือทองรูปพรรณ ไม่ได้เป็นสารบริสุทธิ์ท่ีประกอบด้วยทองคำเพียงอย่างเดียว
เนื่องจากทองคำบริสุทธิ์ 100% แม้จะมีความเหนยี ว สามารถยืดขยาย ตีหรือรีดในทุกทิศทางได้แต่มีความอ่อนตัว
มากกว่าโลหะชนิดอนื่ ๆ ทำใหไ้ ม่สามารถทำเปน็ รูปทรงตา่ ง ๆ ตามท่ีต้องการได้ จึงนยิ มนำมาทำเป็นทองคำแท่ง

ส่วนทองรูปพรรณเป็นสารผสมระหว่างทองคำกับโลหะชนิดอื่น ๆ เช่น เงิน ทองแดง ในอัตราส่วนที่
เหมาะสม ซ่ึงจะทำให้สมบัติต่าง ๆ ของทองคำ เช่น สี จุดหลอมเหลว จุดเดือด ความหนำแน่นเปลี่ยนไป
นอกจากน้นั ยังทำใหท้ องคำแขง็ และคงรปู ดขี นึ้ สามารถทำเคร่อื งประดับไดง้ ่ายขน้ึ

ร่วม กนั คดิ 1

1. เพราะเหตใุ ด ทองคำแท่งจึงเป็นสารบริสุทธิแ์ ละทองรปู พรรณจึงเปน็ สารผสม
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ทองคำแทง่ และทองรูปพรรณมีสมบัตติ ่างกนั อยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. นักเรยี นคดิ วา่ ทองรูปพรรณมจี ุดเดือดจุดหลอมเหลว และความหนาแนน่ เหมือนหรือตา่ งจากทองคำแท่งอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

สารผสม เป็นสารที่มีองค์ประกอบของสารต้ังแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกัน เช่น

ทองรปู พรรณ เปน็ สารผสมระหวา่ งทองคำ และโลหะอ่ืน นำ้ เกลอื เป็นสารผสมระหว่าง
นำ้ และเกลือ ส่วนสารท่ีมอี งค์ประกอบเพียงชนิดเดียวจัด เป็นสารบริสุทธิ์ เช่น ทองคำ
แท่ง น้ำกลั่น กลูโคส ออกซิเจน สมบัติของสารผสมและสารบริสุทธิ์เช่น จุดเดือด จุด
หลอมเหลว ความหนาแน่น เหมอื นหรือต่างกันอย่างไร

ทบทวนความรู้ก่อนเรยี น 1

คำส่งั เขียนเคร่อื งหมาย  หนา้ ขอ้ ทีถ่ ูกต้อง และ  หนา้ ขอ้ ที่ผดิ และบอกเหตุผล
____ 1. การเดือดเกดิ ขนึ้ เม่อื ของเหลวได้รับความร้อนแล้วเปล่ยี นสถานะเปน็ แก๊ส
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………
____ 2. การหลอมเหลวเกิดขน้ึ เม่ือสารเปล่ยี นสถานะจากของแข็งเปน็ ของเหลว
…………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………
…………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………

2

ภาพ เคร่ืองยนต์ชำรุดเนอื่ งจากความร้อน

รถยนต์ท่ีเราใช้กันอยูท่ ุกวันน้ีมีความร้อนเกดิ ข้ึนขณะท่ีเครือ่ งยนต์กำลังทำ จงึ ต้องมีระบบระบายความร้อน

เพื่อไม่ใหช้ นิ้ ส่วนต่าง ๆ ของเครอ่ื งยนต์ชำรดุ เสียหาย หม้อนำ้ เป็นอปุ กรณห์ น่งึ ทชี่ ่วยระบายความร้อนดว้ ยของ
เหลวขณะทีเ่ คร่ืองยนตท์ ำงานความรอ้ นที่เกิดขึ้นอาจมีอณุ หภมู สิ ูงพอที่จะทำให้น้ำในหม้อนำ้ เดือด จึงมีการเติม
สารบางชนิดลงในหม้อน้ำ เรียกวา่ สารหล่อเย็น สารน้ีจะส่งผลให้จุดเดือดของน้ำเปลี่ยนไป นักเรียนคิดว่าจุด

เดือดของน้ำบรสิ ทุ ธ์แิ ละน้ำท่ีผสมสารอ่ืนตา่ งกนั อย่างไร เพราะเหตใุ ด

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

…………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………

…………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

…………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………
…………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

กิจกรรมท่ี 1 จุดเดือดของสารบรสิ ุทธิแ์ ละสารผสมเปน็ อยา่ งไร
จดุ ประสงค์ :

1. วดั อุณหภมู ิและเขยี นกราฟแสดงการเปล่ียนแปลงอุณหภมู ขิ องน้ำกล่ัน และ สารละลายโซเดียมคลอไรด์เมื่อ

ไดร้ บั ความรอ้ น

2. ตคี วามหมายข้อมูลจากกราฟ เพ่อื เปรียบเทยี บจุดเดือดของน้ำกลนั่ และสารละลายโซเดียมคลอไรด์

วสั ดแุ ละอุปกรณ์

รายการ ปรมิ าณ/กลมุ่

สารละลายโซเดยี มคลอไรด์เขม้ ข้น 10 % (w/v) 50 cm3

นำ้ กลั่น 50 cm3

เทอรม์ อมิเตอรส์ เกล 0 - 200 °C 1 อัน

บีกเกอร์ ขนาด 100 cm3 2 ใบ

ชดุ ตะเกียงแอลกอฮอล์ 1 ชุด

ขาตงั้ พร้อมทจ่ี ับหลอดทดลอง 1 ชุด

แทง่ แกว้ คน 1 อัน

นาฬิกาจบั เวลา 1 เรือน

3

ระวงั ไมน่ ำภาชนะท่บี รรจุแอลกอฮอลไ์ ปใกล้กบั ตะเกยี งแอลกอฮอล์

ท่ตี ิดไฟ

วธิ กี ารทดลอง
1. ต้มน้ำกล่ัน 50 cm3 ในบีกเกอร์ ขนาด 100 cm3 นำเทอร์โมมิเตอร์จุ่มลงไปในน้ำกลั่นให้กระเปาะ
เทอร์โม มิเตอร์อยู่ระหว่างน้ำกล่ัน แล้วยึดเทอร์โมมิเตอร์กับขาต้ังดังภาพ ระวังอย่าให้กระเปาะแตะ

ขา้ งหรอื กน้ บีกเกอร์ อ่านและบนั ทึกอณุ หภูมิไวท้ ุกๆ 1 นาที จนถึงนาทีที่ 10 บันทกึ ชว่ งเวลาท่นี ำ้ เดือด
2. ทำการทดลองดังข้อ 1 เปลย่ี นจากนำ้ กลน่ั เป็น สารละลายโซเดียมคลอไรด์

3. นำผลท่ีได้ไปเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิกับเวลาโดยให้แกนนอนแสดงเวลา และ
แกนต้ังแสดงอณุ หภูมิ

ตารางบนั ทึกเวลา อุณหภูมิ และการเปล่ียนแปลงของน้ำกล่ันและสารละลายโซเดียมคลอไรด์

อณุ หภูมิ (°C) การเปลีย่ นแปลง

เวลา นำ้ สารละลาย นำ้ กล่ัน สารละลายโซเดียมคลอไรด์
(วนิ าที) กล่นั โซเดียม
คลอไรด์
0
30 24 25 - -
60
90 28 30 - -

120 37 39 เร่ิมมีฟองแกส๊ ขนาดเลก็ อยกู่ น้ บีกเกอร์ สารละลายมีการเคล่ือนท่ี
2-3 ฟอง

45 49 ฟองแกส๊ เกิดขน้ึ เร่ือย ๆ เรม่ิ มฟี องแกส๊ ขนาดเล็ก ๆ

จำนวนมากเกาะทีก่ น้ บกี เกอร์

150

180

210

240

270

300

4

330
360
390
420
450
480
510
540
570
600
630
660
กราฟความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งอุณหภมู ขิ องสารกบั เวลาเม่อื ใหค้ วามรอ้ นกบั สารละลายโซเดยี มคลอไรด์

5

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภมู ขิ องสารกับเวลาเม่อื ให้ความรอ้ นกับน้ำ

กราฟความสัมพันธร์ ะหวา่ งอุณหภูมขิ องสารกบั เวลาเมือ่ ให้ความรอ้ นกบั นำ้ และสารละลายโซเดยี มคลอไรด์

คำถามท้ายกิจกรรม
1. น้ำกลน่ั และสารละลายโซเดยี มคลอไรด์ เมอ่ื ได้รับความรอ้ นมกี ารเปลีย่ นแปลงอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
2. ทราบได้อย่างไรว่า น้ำกลน่ั และสารละลายโซเดียมคลอไรดก์ ำลังเดือด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
3. จากกราฟ การเปลีย่ นแปลงอณุ หภมู ิของน้ำกล่ันและสารละลายโซเดยี มคลอไรด์เม่ือให้ความรอ้ นเป็นอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
4. การเปลย่ี นแปลงอณุ หภมู ขิ องนำ้ กลน่ั และสารละลายโซเดียมคลอไรด์เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
5. อณุ หภูมขิ ณะเดอื ดของนำ้ กลัน่ และสารละลายโซเดียมคลอไรดเ์ ปน็ อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
6. จากกิจกรรม สรุปไดว้ า่ อยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

6

กจิ กรรมท่ี 2 จุดหลอมเหลวของสารบริสทุ ธิ์และสารผสมเปน็ อย่างไร (สาธติ /ดูวิดที ศั น์)
จดุ ประสงค์ : วเิ คราะหข์ ้อมูลสารสนเทศเพอ่ื เปรียบเทียบชว่ งอุณหภูมทิ ี่หลอมเหลวและจุดหลอมเหลวของแนฟ
ทาลีนและกรดเบนโซอกิ ในแนฟทาลีน
วสั ดุและอปุ กรณ์

-

คำถามท้ายกิจกรรม
1.ช่วงอุณหภมู ิที่หลอมเหลวของแนฟทาลนี ในแต่ละครง้ั เป็นอยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
2. จดุ หลอมเหลวของแนฟทาลีนท้งั สามคร้ังเปน็ อยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
3. ช่วงอุณหภูมิที่หลอมเหลวของสารผสมระหว่างกรดเบนโซอิกในแนฟทาลีนทีม่ ีอตั ราสว่ นของสารต่างกนั เปน็
อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
4. จดุ หลอมเหลวของสารผสมระหวา่ งกรดเบนโซอกิ ในแนฟทาลนี ท่ีมอี ัตราสว่ นของสารต่างกันเป็นอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
5. จากกิจกรรม สรปุ ไดว้ า่ อยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

ปจั จุบนั มีการนำเทคโนโลยีมาสรา้ งเรอื ดำน้ำเพ่ือศกึ ษาสง่ิ มชี ีวิตหรือลักษณะทางธรณีวทิ ยาใตท้ ้องทะเล การ

ท่ีเรือดำน้ำดำลงสู่ทะเลลึกได้นั้นต้องทำให้เรือท้ังลำมีความหนาแน่นมากกว่าความหนาแน่นของน้ำ ในทาง
กลบั กันถ้าต้องการให้เรอื ลอยข้ึนมาไดน้ ัน้ เรือท้ังลำจะตอ้ งมคี วามหนาแน่นนอ้ ยกว่าน้ำ

นกั เรยี นคดิ ว่าความหนาแน่นคอื อะไร และสามารถหาคา่ ความหนาแนน่ ของวตั ถุไดอ้ ยา่ งไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

7

ความหนาแน่นมี
ความเกี่ยวข้อง
กับเรอื ดำน้ำ
อย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

ทบทวนความรู้ก่อนเรยี น 2

คำสัง่ เขียนเคร่ืองหมาย  หน้าขอ้ ทถี่ ูกตอ้ ง และ  หน้าข้อท่ีผดิ และบอกเหตุผล
____ 1. มวลมีหน่วยเป็นนวิ ตนั
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
____ 2. วัตถชุ นดิ หน่งึ เม่อื ทำให้รปู ร่างเปลี่ยน มวลจะเปลย่ี นดว้ ย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
____ 3. ปริมาตรคอื ความจุของวัตถุ มีหน่วยเป็นลกู บาศกเ์ ซนติเมตร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
____ 4.ปริมาตรของของแข็งจะเท่ากับปรมิ าตรของนำ้ ทขี่ องแข็งแทนท่ี
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

มวลคืออะไร และหนว่ ยของมวลคอื อะไร
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
ปริมาตรคืออะไร และหนว่ ยของปริมาตรคืออะไร
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………

8

ใหน้ กั เรียนอา่ นทำความเขา้ ใจเกย่ี วกบั เรือ่ ง ทะเลสาปเดดซี (Dead Sea) และรว่ มกันอภิปรายถงึ
ความหมายของความหนาแนน่ หนว่ ยความหนาแน่น วิธกี ารคำนวณความหนาแนน่ ของสาร จากเรือ่ ง
ดังกล่าว

ทะเลสาบเดดซี มีชื่อปรากฏอยู่ในหลายภาษา เช่น Dead Sea ในภาษาอังกฤษ ส่วนช่ือในภาษา
อาหรับ เรียกว่า อัลบะฮฺรุ อัลมัยยิต ซ่ึงมีความหมายเช่นเดียวกับคำในภาษาอังกฤษ คือ ทะเลแห่งความตาย
ส่วนในภาษาฮิบรูเรียกทะเลสาบแห่งน้ีว่า ยัม ฮาเมลาห์ มีความหมายว่า ทะเลเกลือ ในประเทศไทย ช่ือของ
ทะเลสาบเดดซี ปรากฏขน้ึ ในความรบั รู้ของคนไทยในนามทะเลมรณะ

ใช้ปากกา
ขดี จดุ เน้น
ท่สี าคัญ
ให้เด่นชัด

ด้วย

ภาพจาก http://www.atlastours.net
ทะเลสาบเดดซีเป็นทะเลสาบน้ำเค็มขนาดใหญ่ที่ตั้งอยู่ระหว่างเขตแดนของจอร์แดนและอิสราเอล
ทะเลสาบเดดซมี ีความยาวสูงสุดประมาณ 67 กิโลเมตร กว้างสูงสุดประมาณ 18 กิโลเมตร ครอบคลุมพ้ืนที่ราว
810 ตารางกิโลเมตรโดยมีความลึกเฉลี่ยที่ 120 เมตร และมีจุดท่ีลึกที่สดุ อยู่ที่ 330 เมตร ในขณะท่ีพืน้ ทตี่ ั้งของ
ทะเลสาบเดดซตี ำ่ กวา่ ระดับนำ้ ทะเลถึง 408 เมตร ดังนน้ั หากวดั จากพื้นท่ลี ึกทสี่ ุดของทะเลสาบแหง่ นี้ก็จะอย่ตู ่ำ
กว่า ระดับน้ำทะเลราว 800 เมตร เลยทีเดียว และถือเป็นจุดที่ต่ำสุดของโลกเราเลยก็ว่าได้ ความเค็มของ
ทะเลสาบเดดซีในส่วนที่อยู่ลึกที่สุดมีมากถึง 30 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่ความเค็มของทะเลท่ัวๆ ไปอย่างเช่น
ทะเลอ่าวไทยมคี วามเค็มเพยี ง 3 เปอร์เซน็ ตเ์ ทา่ นัน้
ทะเลสาบเดดซี ตั้งอยู่ในพ้ืนท่ีทะเลทราย สภาพภูมิอากาศในบรเิ วณน้ันจะมีลักษณะหนาวจัดในตอน
กลางคืนและรอ้ นจดั ในตอนกลางวัน โดยในบางปีทะเลสาบเดดซจี ะมีอุณหภูมิสูงถึง 51 องศาเซลเซียส บริเวณ
ดังกล่าวมีปริมาณน้ำฝนตกลงในพ้ืนท่ีเพียงเล็กน้อยในแต่ละปีโดยวัดได้เพียงแค่ราวๆ 65 มิลลิเมตรต่อปี จาก
อากาศท่ีร้อนจัดและมีฝนน้อยน้ีเองที่ทำให้ระดับน้ำจากทะเลสาบเดดซีค่อยๆระเหิดระเหยแห้งขอดลงทุกปี
ส่งผลให้ความเข้มข้นในทะเลสาบดังกล่าวเพิ่มสูงข้ึนตามลำดับเพราะนอกจากการระเหยจะทำให้ทะเลสาบ
เดดซีเข้มข้นมากขึ้นแล้ว น้ำที่ไหลมาจากแม่น้ำจอร์แดนก็ยังคงอุดมไปด้วยแร่ธาตุต่างๆ เช่น โซเดียมและ
แมกนีเซยี มเมอื่ ไหลลงมาทำปฏกิ ริ ิยากบั น้ำพุร้อนในทะเลสาบเดดซีจึงเปน็ ปัจจยั เก้ือหนุนตอ่ ความเคม็ ของทะเล
แหง่ นี้
นำ้ ในทะเลสาบเดดซีมคี วามเคม็ มากกวา่ น้ำในแหลง่ น้ำปกติหลายเท่าโดยปกติความเค็มของน้ำทะเลจะ
เกิดข้ึน เพราะมีการละลายของเกลือหลายชนิดโดยเฉพาะโซเดียมคลอไรด์ที่มีสูตรทางเคมีว่า NaCl อยู่ในน้ำ
ทะเลโดยเฉล่ียแล้วมีเกลือร้อยละ 3.5 หรือน้ำทะเล 1 ลิตร จะมีเกลือละลายอยู่ประมาณ 35 กรัม แต่ในพื้นที่

9

ของทะเลสาบเดดซีมีปริมาณเกลือมากถึง 10,523,000,000 ตัน และด้วยความหนาแน่นของน้ำในทะเลสาบ
เดดซีนี้เองท่ีเป็นเหตุผลว่า ทำไมเราถึงสามารถลอยตัวอยู่ในทะเลสาบดังกล่าวได้ ซึ่งเป็นไปตามหลัก
วทิ ยาศาสตร์ที่ว่า สิ่งซ่ึงมีความหนาแน่นน้อยกว่าก็จะสามารถลอยได้บนน้ำท่ีมีความหนาแน่นมากกว่า ไม่ว่า
ส่งิ ที่ลอยอยู่นั้นจะมคี วามใหญ่โตมโหฬารสักเพียงใด ความหนาแนน่ ที่แตกต่างกันของทะเลสาบเดดซนี ้ีหากเรา
นำน้ำ 1 ลิตร มาช่ังจะได้น้ำหนักเพียง 1 กิโลกรัม แต่น้ำหนักจากการช่ังน้ำจากทะเลสาบเดดซี 1 ลิตร จะมี
น้ำหนักมากกว่าหลายเท่านัก และด้วยความเข้มข้นของเกลือจำนวนมากน้ีเองจึงทำให้ไม่มีส่ิงมีชีวิตสามารถ
ดำรงอย่ไู ด้เลย จนกลายเปน็ จดุ เด่นของทะเลสาบแห่งนี้ทีท่ ง้ั เค็มและไม่มสี ่งิ มชี ีวติ อาศยั อยู่
ทีม่ า : คัดลอกและเรยี บเรียงใหม่จาก http://www.vcharkarn.com/varticle/38292 สืบคน้ เมอ่ื วันท่ี

20 พฤษภาคม 2552

เพราะเหตุใดทะเลสาบเดดซี จงึ มคี วามหนาแน่นมากกวา่
ทะเลปกติ

ความหนาแน่น (Density) ของสารใด ๆ หมายถึง อัตราส่วนระหว่างมวล (Mass) ต่อปริมาตร
(Volume) ของสารนัน้

มวล ( Mass ) แทนสัญลักษณ์ด้วย m เป็นปริมาณเน้ือสารที่มีอยู่จรงิ และมวลของวตั ถุจะมีค่าคงที่เสมอ
มวลมีหนว่ ยไดห้ ลายหนว่ ย เช่น กรมั ( g. ) , หรอื กโิ ลกรัม ( Kg. ) การหามวลทำไดโ้ ดยการชั่ง
ปรมิ าตร ( Volume ) แทนด้วย V ปริมาตรของวัตถุใดๆ สามารถวดั ได้โดยใช้กระบอกตวง (กรณีที่เป็น

ของเหลว) และใช้การแทนทน่ี ้ำ (กรณที ี่เป็นของแข็ง)
ความหนาแน่นของสารใดๆ ( Density ) คือ มวล ( Mass : m ) ของสารนั้นต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร

( Volume : V ) ดงั นั้น หน่วยของความหนาแน่นจึงมหี น่วยเป็นหนว่ ยของมวลตอ่ ปริมาตร คือ เป็นกโิ ลกรัม
ตอ่ ลูกบาศก์เมตร ( Kg. / m.3 ) ในระบบเอสไอ หรือเป็นกรมั ตอ่ ลูกบาศก์เซนติเมตร ( g. / cm.3 ) ก็ได้

เขยี นเปน็ สตู รไดว้ า่ D= m

v

D ( Density ) = ความหนาแนน่ ของสาร หนว่ ยเป็น กรัมตอ่ ลูกบาศก์เซนติเมตร
(g./cm.3) หรอื กโิ ลกรัมตอ่ ลูกบาศก์เมตร (kg. / m.3)

m ( mass ) = มวลสาร หนว่ ยเป็นกรัม ( g. ) หรือ กิโลกรัม (kg.)

V (Volume) = ปรมิ าตร หน่วยเปน็ ลูกบาศก์เซนตเิ มตร (g. / cm.3)

หรือลูกบาศกเ์ มตร (kg. / m.3)

10

ร่วม กนั คดิ 2

1. วตั ถุ 2 ช้นิ มลี ักษณะภายนอกคล้ายกนั ชนิ้ ท่ี 1 เป็นแท่งส่ีเหล่ียมผืนผ้า มีความกว้าง 3 cm ยาว 8 cm สูง 2

cm และมีมวล 480 g ชิ้นที่ 2 เป็นก้อนขรุขระไม่เป็นรูปทรงเรขาคณิต มีปริมาตร 50 cm3 และมีมวล 450 g

วัตถุชิ้นใดมีความหนาแนน่ มากกว่ากนั

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
2. วัตถุชนดิ หนึง่ มคี วามหนาแนน่ 0.75 g/cm3 ถ้าวตั ถุน้ปี ริมาตร 250 cm3 จะมมี วลเท่าใด

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

กจิ กรรมท่ี 3 ความหนาแน่นของสารบริสุทธ์ิและสารผสมเป็นอยา่ งไร

จดุ ประสงค์ :

1. วัดมวลและปรมิ าตรเพื่อคำนวณหาความหนาแน่นของสารบรสิ ุทธิ์และสารผสม

2. วิเคราะห์และเปรยี บเทียบความหนาแน่นของสารบรสิ ุทธ์ิและสารผสม

วัสดุและอปุ กรณ์

รายการ ปริมาณ/กลุ่ม

สารละลายโซเดียมคลอไรดค์ วามเข้มข้นต่างกัน 2 ชดุ 50 cm3

สารละลายนำ้ ตาลทรายความเข้มข้นต่างกัน 2 ชุด 50 cm3

ก้อนเหลก็ 2 กอ้ นท่มี มี วลตา่ งกนั 2 กอ้ น

กอ้ นทองแดง 2 ก้อนทมี่ ีมวลต่างกัน 2 กอ้ น

กระบอกตวงขนาด 10 cm3 2 ใบ

เชือกหรอื ดา้ ย 1 หลอด

บกี เกอร์ขนาด 250 cm3 1 ใบ

แกว้ นำ้ 1 ใบ

ถงั ใส่น้ำ 1 ถงั

ถว้ ยยรู ีกา 1 ใบ

เคร่ืองชง่ั 2-3 เคร่ือง

11

วิธกี ารทดลอง ตอนท่ี 1

1. ชง่ั มวลของเหล็ก กอ้ นท่ี 1 และ 2 บันทกึ ผล

2. ชง่ั มวลของทองแดง กอ้ นท่ี 1 และ 2 บันทกึ ผล

3. หาปรมิ าตรของกอ้ นเหล็ก กอ้ นที่ 1 และ 2 โดยใช้ถว้ ยยูรีกา ศกึ ษาวธิ กี าหาปรมิ าตรของสารโดยใช้ถ้วยยูเรกา

4. คำนวณหาความหนาแนน่ ของเหล็ก ทง้ั 2 กอ้ น และทองแดงทั้ง 2 ก้อน บนั ทกึ ผล

ตารางผลการทดลอง ตอนท่ี 1

กลมุ่ ที่ ความหนาแนน่ เฉล่ยี (g/cm3)

เหลก็ ทองแดง

กอ้ นที่ 1 กอ้ นท่ี 2 กอ้ นที่ 1 ก้อนที่ 2

1 7.53 7.54 8.74 8.45

2 7.50 7.54 8.73 8.43

3 7.52 7.53 8.72 8.45

4 7.53 7.54 8.73 8.44

5 7.53 7.54 8.74 8.45

6 7.53 7.54 8.74 8.45

หมายเหตุ : ความหนาแนน่ ของเหลก็ บริสทุ ธ์มิ คี ่า 7.874 g/cm3 ส่วนความหนาแนน่ ของทองแดงบริสทุ ธมิ์ ี
ค่า 8.96 g/cm3

คำถามทา้ ยการทดลอง ตอนที่ 1

1. ความหนามแน่นคอื อะไร หาได้อย่างไร

ความหนาแน่นของสาร = มวล

ปริมาตร

2. ความหนามแน่น ของเหล็ก กอ้ นท่ี 1 และ 2 เป็นอยา่ งไร

ความหนาแน่นเฉล่ยี ของเหล็กกอ้ นท่ี 1 และ 2 มคี ่าเทา่ กันหรอื ใกล้เคยี งกัน

3. ความหนามแนน่ ของทองแดง ก้อนท่ี 1 และ 2 เปน็ อยา่ งไร
ความหนาแน่นเฉลยี่ ของทองแดงกอ้ นท่ี 1 และ 2 มคี า่ เท่ากันหรอื ใกลเ้ คียงกนั
4. จากกจิ กรรมสรุปได้ว่าอยา่ งไร

12

ความหนาแนน่ ของเหลก็ ทง้ั 2 กอ้ น มีคา่ คงท่ีเท่ากันหรอื ใกลเ้ คียงกัน ความหนาแน่นของทองแดงทง้ั 2 ก้อน มี
คา่ คงที่เท่ากันหรอื ใกล้เคียงกัน ส่วนความหนาแน่นของเหล็กกับทองแดงมคี า่ ไม่เท่ากนั

วิธกี ารทดลอง ตอนท่ี 2
1. ชงั่ มวลของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ ชดุ ที่ 1 และ 2 บนั ทกึ ผล

2. ชั่งมวลของสารละลายน้ำตาล ชุดที่ 1 และ 2 บันทกึ ผล
3. วัดปริมาตรของสารละลายโซเดยี มคลอไรด์ ชดุ ท่ี 1 และ 2 สารละลายนำ้ ตาลชดุ ที่ 1 และ 2 โดยใช้กระบอก

ตวงบนั ทกึ ผล

4. คำนวณหาความหนาแน่นของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ ทัง้ 2 ชดุ และ สารละลายนำ้ ตาล ทัง้ 2 ชดุ บันทึก
ผล

ตารางผลการทดลอง ตอนท่ี 2

ความหนาแน่นเฉล่ีย (g/cm3)

กลมุ่ ที่ สารละลายโซเดยี มคลอไรด์ สารละลายนำ้ ตาล

ชุดท่ี 1 ชุดท่ี 2 ชุดท่ี 1 ชุดท่ี 2

1 1.05 1.01 1.00 0.93

2 1.06 1.01 1.00 0.93

3 1.06 1.01 1.00 0.92

4 1.06 1.02 1.01 0.94

5 1.05 1.01 1.00 0.93

6 1.05 1.01 1.01 0.93

คำถามท้ายการทดลอง ตอนที่ 1

1. ความหนามแน่นของสารละลายโซเดยี มคลอไรด์ ชดุ ที่ 1 และ 2 เปน็ อย่างไร
ความหนาแนน่ เฉล่ียของสารละลายโซเดยี มคลอไรด์ ชดุ ท่ี 1 และชดุ ที่ 2 มีค่าไม่เทา่ กัน โดยมีความหนาแน่นเฉลีย่
เทา่ กับ 1.06 g/cm3 และ 1.01 g/cm3 ตามลำดับ

2. ความหนามแนน่ ของสารละลายน้ำตาล ชดุ ที่ 1 และ 2 เป็นอยา่ งไร
ความหนาแนน่ เฉล่ยี ของสารละลายนำ้ ตาลทราย ชุดท่ี 1 และชุดที่ 2 มีค่าไมเ่ ท่ากัน โดยมีความหนาแน่นเฉลี่ย
เทา่ กับ 1.00 g/cm3 และ 0.93 g/cm3 ตามลำดับ
3. ความหนามแน่นของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ และสารละลายน้ำตาล เหมือนหรอื ตา่ งกนั อย่างไร
ความหนาแน่นของสารละลายโซเดียมคลอไรด์และสารละลายนำ้ ตาลทรายเหมอื นกัน คอื ความหนาแนน่ เฉล่ยี

ของสารละลายแต่ละชุดมีคา่ ไมเ่ ท่ากนั
4. จากกิจกรรมตอนที่ 2 สรปุ ได้ว่าอย่างไร

สารละลายท้งั 2 ชดุ มคี วามหนาแนน่ ไมค่ งท่ี และสารละลายชนิดเดยี วกนั แต่อตั ราสว่ นของสารทนี่ ำมาผสมกัน
ต่างกันมีความหนาแนน่ ไมค่ งทเ่ี ช่นกนั ซึ่งขน้ึ อย่กู บั อัตราส่วนของสารท่นี ำมาผสมกัน
5. จากกิจกรรมทั้ง 2 ตอนสรปุ ได้วา่ อยา่ งไร

ความหนาแนน่ ของสารบริสุทธิแ์ ต่ละชนิดมคี า่ เท่ากนั สารบริสทุ ธ์ิต่างชนดิ มคี วามหนาแนน่ ต่างกนั สารผสมชนดิ
เดยี วกัน แต่มีอัตราส่วนผสมตา่ งกนั มีความหนาแนน่ ตา่ งกนั

13

ตา่ งกนั

ภาพรถบรรทกุ แทง่ ซีเมนต์ และรถบรรทุกท่อนไม้

รถบรรทุก 2 คัน บรรทุกวัตถุตา่ งชนิดกนั แต่มวลของวัตถุทีบ่ รรทุกไวเ้ ทา่ กนั
นกั เรียนคดิ ว่าสิ่งทีบ่ รรทุกบนรถคนั ใดมคี วามหนาแน่นมากกว่าเพราะเหตุใด
สิ่งที่บรรทุกบนรถคันใดมคี วามหนาแนน่ มากกว่า เพราะเหตใุ ด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

ร่วม กนั คดิ 3

ให้นักเรยี นสรปุ องคค์ วามรู้และตัวอยา่ งผงั มโนทัศน์ในบทเรียนเรอื่ งสมบัตขิ องสารบรสิ ทุ ธิ์

14

กิจกรรมน่ารู้ ทราบประเภทของพลาสติกไดอ้ ยา่ งไร

การทดสอบประเภทของพลาสตกิ

พลาสติก เป็นวัสดุที่นำมาทำผลิตภัณฑ์ต่างๆที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ซ่ึงโดยมากจะอยู่ในรูปของบรรจุ

ภณั ฑ์ทใ่ี ช้แล้วท้ิงทำให้เกิดขยะพลาสติกจำนวนมากซึ่งเป็นปัญหาต่อสิ่งแวดล้อมดังนั้นวธิ ีการที่ดีที่สุดที่จะช่วย

ลดปญั หาดงั กล่าวคือการนำขยะพลาสตกิ กลับมาใช้ใหม่หรือการรีไซเคิลขยะพลาสติกตามประเภทของพลาสติก

ในอตุ สาหกรรมพลาสตกิ จะระบหุ มายเลขทแ่ี สดงถงึ ประเภทของพลาสตกิ ไว้ 6 ประเภทดงั ตาราง

ตารางประเภทของพลาสตกิ

ประเภทพลาสตกิ สมบตั ิ ตัวอย่างการใช้งาน

คอ่ นขา้ งแข็งและเหนียวไมเ่ ปราะ ขวดบรรจนุ ้ำดมื่ นำ้ มนั พืชและ

แตกง่ายและส่วนใหญจ่ ะใส น้ำอดั ลม

(Polyethylene Terephthalate) คอ่ นข้างนม่ิ แต่เหนยี วไมแ่ ตกง่าย ขวดนมขวดแชมพูสระผมขวด
(High-density Polyethylene) สว่ นใหญ่ทำใหม้ ีสสี นั สวย งาน แปง้ เดก็ ขวดสบู่เหลวถงุ พลาสติก
ทนสารเคมี นอกจากนย้ี ังป้องกัน ทนความรอ้ นชนดิ ขนุ่ และถุงหู
(Polyvinyl Chloride) การแพร่ผ่านความช้ืนไดด้ ี ห้วิ
(Low-density Polyethylene) มสี มบัตหิ ลากหลายทงั้ แข็งนมิ่ ท่อนำ้ ประปาสายยางใสแบบน่ิม
สามารถทำใหม้ ีสสี ันสวยงามได้ แผน่ ฟลิ ม์ สำหรบั ห่ออาหาร แผน่
(Polypropylene) พลาสตกิ ปโู ตะ๊ อาหารขวดใส่
(Polystyrene) น่มิ กว่า HDPE สามารถยืดตวั ได้ แชมพสู ระผมชนิดใส
ในระดับหนึ่ง ใส ฟลิ ์มสำหรบั หอ่ อาหารและหอ่
ของถงุ ใส่ขนมปงั และถุงเยน็
แขง็ และเหนยี วทนต่อแรง สำหรบั บรรจุอาหาร
กระแทกได้ดที ำใหม้ สี ีสนั สวยงาม
ได้ กลอ่ งชามจานถงั ตะกร้า
กระบอกสำหรับใสน่ ้ำแช่เยน็ ถงุ
ใสแข็งแตเ่ ปราะและแตกง่าย ร้อนชนิดใส

ภาชนะสำหรับบรรจุของใช้เช่น
ซดี เี พลงถาดโฟมบรรจุอาหาร
โฟมกนั กระแทก

15

การระบุประเภทพลาสติกข้างต้นน้ีอาจไม่ปรากฏบนพลาสติกทุกประเภทจึงยากต่อการคัดแยก
พลาสติกก่อนนำไปรไี ซเคลิ ในเบื้องตน้ แต่มี วิธี ทดสอบ เพื่อคดั แยกประเภทของพลาสตกิ ดงั แผนผงั

ร่วม กนั คดิ 4

1. พลาสติกช้ินหนึ่งไม่มีหมายเลขระบุประเภทของพลาสติกไว้ นำไปทดสอบความหนาแน่น พบว่ามีความ
หนาแนน่ น้อยกวา่ นำ้ พลาสตกิ ชิ้นนอี้ าจเป็นพลาสตกิ ประเภทใดไดบ้ า้ ง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

16

2. พลาสติกชิ้นหน่ึงไม่มีหมายเลขระบุประเภทของพลาสติกไว้ นำไปทดสอบความหนาแน่นพบว่ามีความ
หนาแน่นมากกว่าน้ำเม่ือนำลวดทองแดงเผาไฟแตะกับพลาสติกจะเห็นเปลวไฟสีส้ม และถ้านำช้ินพลาสติกไป
แชส่ าร MEK พบว่าพลาสติกละลาย พลาสตกิ ช้นิ น้ีเปน็ พลาสตกิ ประเภทใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
3. การทดสอบพลาสติกวธิ ใี ดใช้ความรู้เรื่องความหนาแนน่ และแยกประเภทของพลาสตกิ ไดอ้ ยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
4. การทดสอบพลาสติกวิธีใดใช้ความรู้เร่ืองจุดเดอื ด จดุ หลอมเหลว และสามารถ
แยกประเภทของพลาสติกได้อยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

แบบฝึ กหดั ทา้ ยบทเรยี นเรอื่ งสมบตั ขิ องสารบรสิ ุทธิ์

1. ในการหาจุดเดือดของของเหลว 2 ชนิด ได้แก่ สาร A และ B โดยให้ความร้อนกับของเหลว แล้ววัดอณุ หภมู ิ
ของของเหลวเม่อื เวลาผา่ นไป ไดผ้ ลดงั ตาราง

จากตาราง สารใดเปน็ สารบริสุทธ์ิ สารใดเปน็ สารผสม เพราะเหตใุ ด
แนวคำตอบ จากตารางสาร A คอื ………………….. เน่ืองจากเม่ือพิจารณาขอ้ มูลในตารางแล้ว พบว่า เมื่อใหค้ วาม
ร้อนแก่สาร A ไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งเดือดและอุณหภูมิคงท่ีท่ี 100 °C ส่วนสาร B เป็น…………………….. เพราะ
อุณหภมู ขิ ณะเดือดจะไมค่ งท่ี
2. นกั สำรวจเดินทางด้วยบอลลูนบรรจุแก๊สฮเี ลียม ก่อนออกเดินทางไดบ้ รรจุแก๊สฮเี ลยี มปริมาตร 500 m3 และมี
มวล 60 Kg ในบอลลนู แก๊สฮีเลยี มในบอลลูนขณะนน้ั มคี วามหนาแนน่ เทา่ ใด

ความหนาแนน่ ของแกส๊ ฮีเลียมในบอลลูน = (kg)
(m3)

ดังนั้น แกส๊ ฮเี ลยี มในบอลลูนขณะนัน้ มีความหนาแน่น ……………. kg/m3

17

3. นำอกั ษรหน้าขอ้ ความทางขวามือมาเติมลงในช่องวา่ งหนา้ ข้อความทางซา้ ยมือทมี่ คี วามสมั พนั ธ์กัน

…….... 1. ความหนาแนน่ ของวัตถุ ก. ความหนาแน่นของวตั ถนุ ้อยกวา่ ความหนาแน่นของนำ้

…….... 2. วัตถุลอยในน้ำ ข. ความหนาแน่นของวตั ถุเทา่ กับความหนาแนน่ ของน้ำ

………. 3. วัตถจุ มในน้ำ ค. ความหนาแน่นของวัตถุมากกวา่ ความหนาแนน่ ของน้ำ

……….4. ความหนาแน่นของวตั ถุนอ้ ยลง ฉ. มวลของวัตถตุ อ่ ปริมาตรของวตั ถุ

………. 5. วัตถลุ อยปรมิ่ ในนำ้ ซ. เพม่ิ ปรมิ าตรของวัตถโุ ดยมวลเท่าเดมิ

…….… 6. วธิ ีการทำวตั ถทุ ่ีจมน้ำให้ลอยนำ้ ได้ ญ. เพิ่มปรมิ าตรของวัตถุจนมคี วามหนาแน่นน้อยกวา่
1 g/cm3

ตารางแสดงความหนาแนน่ ของสาร

สาร พลาสติก ปิโตรเลียมเหลว น้ำ นม
(โพลเี อทอลนี )

ความหนาแน่น 0.93 0.8 1 1.03
(g/cm3)

สถานะ ของแข็ง ของเหลว ของเหลว ของเหลว

4. จากข้อมูลในตารางให้เขียนเคร่ืองหมาย  ในกล่องสี่เหลี่ยมหน้าข้อความท่ีกล่าวถูกต้องและเขียนเครื่อง
หมาย  ในกลอ่ งสเ่ี หล่ยี มหนา้ ข้อความที่กล่าวผดิ
 แท่งพลาสติกลอยในนำ้ แต่จมในปิโตรเลียม

 แทง่ พลาสตกิ สี่เหลี่ยมลูกบาศก์มวล 50 g ลอยในนำ้ ขณะทแ่ี ทง่ พลาสตกิ ส่ีเหล่ียมลูกบาศก์มวล 1 kg ไม่
ลอยในน้ำ

 ถา้ เทปิโตรเลยี มเหลวลงในนำ้ ปโิ ตรเลียมเหลวจะแยกชนั้ ลอยอยูด่ า้ นบน แต่ถ้าเทลงในนม ปโิ ตรเลียม
เหลวจะแยกชน้ั อยดู่ า้ นล่าง

2. การจำแนกและองค์ประกอบของสารบริสทุ ธ์ิ

เพชรกบั แกรไฟต์มีลกั ษณะเหมอื นหรือแตกตา่ งกันอยา่ งไร
.................................................................................................
................................................................................................

18

• อนภุ าคทเ่ี ลก็ ท่ีสดุ ของเพชรและแกรไฟตเ์ หมอื นหรือแตกต่างกนั อยา่ งไร
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................

• สารบริสทุ ธิอ์ ่ืน ๆ ยงั มีอีกหรอื ไม่ และจะจาแนกสารบริสทุ ธิเ์ หลา่ นน้ั ไดอ้ ย่างไร
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................

ทบทวนความรู้ก่อนเรยี น 3

เขียนเคร่อื งหมาย หนา้ คำตอบท่ีเปน็ สารบริสุทธิ์

เกลอื แกง นำ้ ตาล นำ้ ปลา
น้ำ
นำ้ เช่อื ม พริกกับเกลอื แก๊สไนโตรเจน

แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แกส๊ ออกซิเจน อากาศ

กิจกรรมท่ี 4 สารบริสุทธ์ิมีองค์ประกอบอะไรบ้าง ปรมิ าณ/กลมุ่
จุดประสงค์ : แยกนำ้ ด้วยไฟฟา้ และอธิบายผลทไ่ี ด้จากการแยกน้ำดว้ ยไฟฟา้
วัสดแุ ละอปุ กรณ์

รายการ

เบคก้ิงโซดา 1-2 ช้อนเบอร์ 1

น้ำ ประมาณ 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร

แบตเตอร่ีขนาด 9 โวลต์ 1- 2 ก้อน

ไฟแชก๊ 1 อัน หรอื 1 กลกั

ธปู 2 ดอก

เครอื่ งแยกน้ำดว้ ยไฟฟ้า 1 ชุด

ช้อนตักสารเบอร์ 1 1 อัน

สายไฟ 1 เสน้

วธิ ีการทดลอง
1. ใสน่ ้ำในถ้วยพลาสติกของเครอ่ื งแยกนำ้ ด้วยไฟฟ้าจนเตม็ เบคกง้ิ โซดา 1 ชอ้ นเบอร์ 1 รอใหล้ ะลาย

จนหมดแล้วปดิ ฝาครอบท่มี หี ลอดแกว้ และข้วั ไฟฟา้

19

2. ใช้ปลายนิ้วปดิ รรู ะบายอากาศที่ฝาครอบแล้วควำ่ ถว้ ยพลาสตกิ เพ่ือใหน้ ำ้ เข้าในหลอดแก้วจนเตม็
แล้วหงายถ้วยพลาสติกขึ้นโดยไม่มีฟองอากาศในหลอด

3. ต่อสายไฟจากแบตเตอร่ีขนาด 9 โวลต์ เขา้ กับเครอื่ งแยก
นำ้ ด้วยไฟฟา้ ใหค้ รบวงจรสังเกตการเปล่ียนแปลงในหลอดแกว้ ทัง้ สอง
บันทกึ ผล

4. เมอื่ ระดบั น้ำในหลอดใดหลอดหนึง่ ลดลงเกือบหมดหลอด
ถอดสายไฟออก ทำเครอื่ งหมายแสดงระดบั น้ำทเ่ี หลอื อยูใ่ น
แต่ละหลอดทดลองและแสดงว่าแตล่ ะหลอดมาจากข้ัวใด

5. ระมดั ระวงั ใหป้ ากหลอดยงั ควำ่ อยูใ่ ต้น้ำตลอดเวลาจนกว่า
จะทดสอบสารทีอ่ ยใู่ นหลอด คอ่ ยๆดนั หลอดและจกุ ยางออกทางด้านล่างของฝาครอบ เกบ็ ขัว้ ไฟฟา้

6. ทดสอบสารในหลอดจากข้ัวบวก โดยใชป้ ลายน้ิวช้ีปิด
ปากหลอดให้แนน่ ต้ังแตป่ ากหลอดยังอยู่ใต้นำ้ หงายมือขึ้นโดยยงั ไม่
เปิดปากหลอด แล้วใช้ธูปที่ลุกเป็นเปลวไฟจอ่ ลงในปากหลอดทันที
ทป่ี ลายนวิ้ ขยบั เปิดปากหลอด สังเกตการเปล่ยี นแปลง บันทึกผล

7. ทดสอบสารในหลอดจากขั้วลบ โดยวิธีเดียวกันกบั ข้อ
6 สงั เกตการเปลยี่ นแปลง บันทึกผล

8. ทำซ้ำต้ังแต่ 1-5 แลว้ ทดสอบสารในหลอดจากข้ัวบวก
และขว้ั ลบทีละหลอด โดยใช้ธปู ท่ีเป็นถา่ นแดงจอ่ ลงในหลอดทันทที ่ี
ปลายน้ิวขยับเปิดปากหลอด สังเกตการเปลย่ี นแปลง บันทึกผล

20

ผลการทำกจิ กรรม การ ระดบั น้ำที่ ปริมาณสาร ผลทดสอบ ผลทดสอบ
ส่ิงที่สงั เกตได้ เปลีย่ นแปลง เหลือใน ที่เกดิ ขนึ้ ใน ดว้ ยธูปทีม่ ี ดว้ ยธปู ทต่ี ิด

ชุดทดลอง ท่สี ังเกตได้ หลอด หลอด เปลวไฟ ถา่ นแดง
สารในหลอดแก้ว
ทข่ี วั้ บวก

สารในหลอดแก้ว
ท่ขี ว้ั ลบ

คำถามทา้ ยการทดลอง
1. เมอื่ ต่อสายไฟจากแบตเตอรี่เข้ากบั เครือ่ งแยกน้ำไฟฟ้าให้ครบวงจร ในหลอดแก้วจากขั้วบวกและขัว้ ลบมีการ
เปล่ยี นแปลงเหมอื นหรือต่างกันอย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. เมอื่ เปรยี บเทียบปรมิ าณสารที่เกดิ ข้นึ ในหลอดจากขัว้ บวกและขวั้ ลบ มอี ตั ราส่วนประมาณเท่าใด
..............................................................................................................................................................................
3. เมื่อทดสอบสารในหลอดจากขั้วบวกและข้ัวลบโดยใชธ้ ูปที่ลุกเป็นเปลวไฟ และธูปที่เป็นถ่านแดง สังเกตเห็น
การเปล่ียนแปลงแตกต่างกนั หรอื ไม่ อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. สารในหลอดจากขั้วบวกและขว้ั ลบเป็นสารชนดิ เดียวกนั หรอื ไม่ ทราบไดอ้ ย่างไร
แนวคำตอบ สารในหลอดจากข้ัวบวกและขั้วลบเป็นไม่ใช่สารชนิดเดยี วกัน ทราบได้จากผลการทดสอบดว้ ยธูป
ซ่ึงได้ผลต่างกัน โดยแก๊สในหลอดจากข้ัวบวกช่วยให้ไฟติด ส่วนแก๊สในหลอดจากข้ัวลบติดไฟได้และสามารถ

21

ทราบได้จากปรมิ าณแก๊สท่ีเกิดขน้ึ อีกดว้ ย โดยแก๊สทีห่ ลอดจากขวั้ บวกมีปรมิ าณน้อยกวา่ แก๊สท่ีหลอดจากขั้วลบ
ประมาณครึ่งหนง่ึ
5. นำ้ เป็นสารบริสุทธ์ิหรอื สารผสม ทราบไดอ้ ย่างไร
แนวคำตอบ นำ้ เปน็ สารบรสิ ุทธิ์ ทราบไดจ้ ากสมบัติของนำ้ ซ่ึงมีจุดเดอื ดคงที่ และอุณหภมู ิทน่ี ้ำเร่ิมหลอมเหลว
และหลอมเหลวจนหมดเปน็ อณุ หภูมเิ ดยี วกัน
6.จากกิจกรรม สรุปไดว้ า่ อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

สารบริสุทธ์ิบางชนิดสามารถแยกสลายเป็นองค์ประกอบมากกว่า 1 ชนิด ท่ีมีสมบัติต่างจากเดิม เม่ือ
ไดร้ ับพลังงานที่เหมาะสม เช่น เมื่อแยกน้ำซ่ึงเป็นสารบรสิ ุทธ์ดิ ้วยไฟฟา้ จะได้แก๊สออกซิเจนและแกส๊ ไฮโดรเจน
ในอัตราส่วนคงที่ แสดงว่าน้ำมีองค์ประกอบ 2 ชนิดมารวมตัวกัน สารบริสุทธิ์ที่สามารถแยกสลายเป็น
องค์ประกอบมากกว่า 1 ชนิด เรียกว่า สารประกอบ (compound) ส่วนสารบริสุทธิ์บางชนิดที่ไม่สามารถ
แยกสลายให้สารใหม่โดยวิธีทางเคมีได้ เพราะมีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียว เช่น ออกซิเจนและไฮโดรเจน
เรยี กวา่ ธาตุ (element)

ภาพ นำ้ มีองค์ประกอบเปน็ อนุภาค 2 ชนิดแตกต่างกัน
เมอื่ แยกนำ้ ดว้ ยไฟฟ้าจะทำใหอ้ นภุ าคของไฮโดรเจนและอนภุ าคออกซิเจนแยกออกจากกันและรวมกันเป็นแก๊สไฮโดรเจนและ

แก๊สออกซเิ จน

สารบริสทุ ธิ์รอบตัวบางชนิดเป็นธาตุ เชน่ ทองคำ เพชร ทองแดง
ปรอท แก๊สไนโตรเจน บางชนดิ เปน็ สารประกอบ เช่น
เกลอื แกง นำ้ ตาล โปรตนี คาร์โบไฮเดรต

สารบรสิ ุทธิ์ หมายถึง สารเนือ้ เดียวที่มีองค์ประกอบเพยี งชนิดเดียว มีสมบัติเหมอื นกนั แบง่ เป็น
1. ธาตุ คอื สารบรสิ ุทธิท์ ่ีประกอบดว้ ย ธาตุหรือสารชนิดเดยี ว ไม่สามารถแยกหรือสลายออกเป็นสาร

อื่นได้ เช่น เงิน ทอง คาร์บอน ออกซิเจน เป็นต้น ในปัจจุบันมีการค้นพบธาตุประมาณ 107 ธาตุ เป็นธาตุที่
เกดิ ข้นึ เองตามธรรมชาติ 92 ธาตุ ที่เหลอื เป็นธาตุทีส่ งั เคราะห์ขึ้นในห้องทดลอง จำแนกออกเป็น 3 ชนดิ ดงั นี้

22

1.1 โลหะ มีสถานะเปน็ ของแขง็ ท่ีอณุ หภูมิปกติ ยกเว้นปรอทท่ีเปน็ โลหะ แต่อยใู่ นสถานะของเหลว
โลหะจะมผี ิวเป็นมนั วาว มีจดุ เดอื ดและจดุ หลอมเหลวสงู และนำไฟฟ้าไดด้ ี โลหะบางชนดิ เป็นสารแม่เหล็ก
ตวั อย่างของธาตโุ ลหะ เช่น เหลก็ ทองแดง สงั กะสี แมกนีเซยี ม เป็นตน้

1.2 อโลหะ เป็นไดท้ ั้ง 3 สถานะ เช่น กำมะถันเป็นของแข็งสีเหลือง ธาตุโบรมีนเปน็ ของเหลวสีแดง
และคลอรีนเป็นแกส๊ สีเขยี วอ่อน อโลหะส่วนใหญ่มีสมบัติตรงข้ามกับโลหะ เชน่ เปราะ ไม่นำไฟฟา้ มีจุดเดอื ด

และจุดหลอมเหลวต่ำ เป็นตน้
1.3 ธาตุกง่ึ โลหะ เป็นธาตุท่มี ีสมบตั ิกง่ึ โลหะและอโลหะ เช่น โบรอนเปน็ ของแขง็ สีดำ เปราะ ไม่นำ

ไฟฟา้ มีจุดเดอื ดสงู ถงึ 4,000 องศาเซลเซยี ส ซิลคิ อน เป็นของแขง็ สเี งินวาว เปราะ นำไฟฟา้ ได้เล็กน้อย มีจดุ

เดือด 3,265 องศาเซลเซียส เป็นตน้
2. สารประกอบ คือ สารที่ประกอบด้วยธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดข้ึนไป มาทำปฏิกิริยาเคมีกันด้วยสัดส่วนท่ี

แนน่ อนกลายเป็นสารชนดิ ใหม่มีสมบตั ิแตกต่างไปจากธาตทุ ี่เปน็ องค์ประกอบเดิม ตวั อย่างของสารประกอบ เช่น
เกลือแกง น้ำ คาร์บอนไดออกไซด์ กรด เบส เปน็ ต้น

โซเดยี ม โซเดียมคลอไรด์
คลอรีน (เกลือแกง)

ไฮโดรเจน + ออกซเิ จน → น้ำ
คาร์บอน + ออกซิเจน → คาร์บอนไดออกไซด์

สัญลักษณ์ของธาตุ คืออักษรย่อที่ใช้เขียนแทนช่ือธาตุ ซ่ึงนักวิทยาศาสตร์ได้กำหนดขึ้นเพื่อความสะดวกใน
การศกึ ษาวิชาเคมี หลกั ในการเขียนสัญลกั ษณ์ของธาตุ มดี ังนี้

1.ถ้าธาตุนั้นมีช่ือในภาษาละติน ให้ใช้ตัวอักษรตัวแรกในช่ือภาษาละตนิ มาเขียนด้วยตัวพิมพ์ใหญ่เป็น
สัญลักษณข์ องธาตุน้นั เชน่ ธาตโุ พแทสเซยี มมีชอ่ื ในภาษาละตนิ คื่อ Kalium สัญลกั ษณ์ คอื K

2.ถ้าธาตุน้ันไมม่ ีชอ่ื ในภาษาละติน ให้ใช้ช่ือภาษาอังกฤษ โดยใช้ตัวอักษรตัวแรกในชื่อภาษาอังกฤษมา
เขียนด้วยตัวพิมพ์ใหญ่เป็นสัญลกั ษณ์ของธาตุ เช่น ธาตุออกซิเจน ไม่มีชื่อในภาษาละตินแต่มชี ื่อในภาษาอังกฤษ
คอื Oxygen สัญลักษณ์ของธาตุ คือ O

3.กรณีที่ชื่อธาตุมีอักษรตวั แรกซ้ำกันกับธาตอุ ่ืน ให้ธาตุท่ีพบที่หลงั เขียนสัญลักษณ์โดยใช้อักษรตัวแรก
เขียนควบกบั อักษรตัวถัดไปตัวใดตัวหนงึ่ ในชื่อธาตุน้ัน โดยให้อักษรตัวแรกเขียนด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ และอักษรตัวที่
ตามมาเขยี นด้วยตัวพิมพเ์ ลก็ เช่น Calcium พบทีหลัง Carbon ซ่งึ ธาตุทั้งสองมีอกั ษรตวั แรกในชอื่ ธาตุซ้ำกัน จึง
เขียนสัญลักษณข์ องธาตุ Calcium เปน็ Ca
สูตรเคมี หมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแทนธาตุหรือสารประกอบเพื่อแสดงองค์ประกอบ ของสารเหล่าน้ันว่า
ประกอบด้วยธาตุใดบ้างอย่างละเท่าใดหรือเป็นอัตราส่วนเท่าใด สูตรบางประเภทยังให้รายละเอียดเพิ่มเติม
เก่ียวกับการจัดเรียงอะตอมภายในโมเลกุลด้วย เช่น น้ำ มีสูตรโมเลกุลเป็น H2O หมายความว่า น้ำ 1
โมเลกลุ ประกอบดว้ ยไฮโดรเจน 2 อะตอม และ ออกซเิ จน 1 อะตอม

23

โครงสรา้ งของอะตอม อะตอม เป็นโครงสรา้ งขนาดเล็กมากมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ท่ีพบได้ในสิง่ ของทุก

ๆ อย่างรอบตัวเรา อะตอมประกอบไปด้วยอนุภาค 3 ชนิด คือ: อิเล็กตรอน ซ่ึงมีประจุลบโปรตอน ซึ่งมีประจุ
บวกนวิ ตรอน ซง่ึ ไม่มีประจุ

จอห์น ดอลตัน นักวทิ ยาศาสตร์ชาวองั กฤษได้เสนอทฤษฎอี ะตอมโดยอาศัยขอ้ มูลจากการทดลอง
ทพ่ี อจะศึกษาได้และนบั ว่าเปน็ ทฤษฎีแรกทเี่ ก่ียวกับอะตอมที่พอจะเช่อื ถือได้ ซึ่งมใี จความดงั นี้

1. สารทุกชนิดประกอบดว้ ยอนภุ าคขนาดเล็กทส่ี ดุ เรียกวา่ “ อะตอม”
2. อะตอมจะไมส่ ามารถแบง่ แยกได้ และไม่สามารถสร้างขึน้ ใหม่ได้
3. อะตอมของธาตชุ นิดเดียวกันจะมีสมบัติเหมอื นกันทกุ ประการ
4. อะตอมของธาตุต่างกนั จะมีสมบัตติ ่างกัน
5. ธาตุต้ังแต่สองชนิดข้ึนไปสามารถรวมตัวกันเกิดเป็นสารประกอบ โดยมีอัตราส่วนการรวมตัวเป็น

ตวั เลขอย่างงา่ ย เชน่ CO CO2

อนภุ าค หมายถงึ สสารท่ีมปี รมิ าณนอ้ ยมากหรือเล็ก
มาก อาจหมายถงึ
ในเคมี

• อเิ ลก็ ตรอน
• โมเลกลุ
• อะตอม
• นิวตรอน
• โปรตอน

กจิ กรรมท่ี 5 โครงสรา้ งอะตอมเปน็ อย่างไร
จดุ ประสงค์ :

1. วิเคราะห์และอธบิ ายโครงสรา้ งอะตอมจากแบบจำลอง
2. สบื ค้นและสร้างแบบจำลองอะตอม
วัสดุและอปุ กรณ์

นักเรียนเตรยี มวสั ดุอุปกรณ์ที่หาได้งา่ ย เช่น กรรไกร กาว กระดาษสี โฟม ดนิ น้ำมนั ลวด แผ่นซดี ี
วิธีการทดลอง
1. สงั เกตชนิดและการจดั เรียงตัวของอนุภาคภายในอะตอมจากแบบจำลองอะตอมของธาตุฮีเลียม คาร์บอน
และอะลูมเิ นยี ม บนั ทกึ ผล

24

ภาพแบบจำลองอะตอมของธาตฮุ เี ลยี ม คารบ์ อน และอะลมู ิเนียม
ทมี่ า หนงั สือแบบเรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 สสวท

2. สบื ค้นโครงสร้างอะตอมของธาตุที่สนใจ 1 ธาตุ และสร้างแบบจำลอง
3. นำเสนอแบบจำลองอะตอมท่สี รา้ งขึ้น อธบิ ายโครงสรา้ งอะตอมของธาตนุ ั้น

ผลการทำกจิ กรรม ชนิดอนภุ าคทพ่ี บ จำนวนอนภุ าค การจัดเรียงตวั
อะตอมของธาตุ โปรตอน 2
ฮเี ลียม นวิ ตรอน 2 โปรตอนและนวิ ตรอนอยใู่ น
อเิ ลก็ ตรอน 2 นวิ เคลยี ส บรเิ วณตรงกลาง
คารบ์ อน อะตอม อิเลก็ ตรอนอยู่รอบ ๆ
โปรตอน
นิวตรอน นวิ เคลยี ส
อเิ ลก็ ตรอน

อะลมู ิเนยี ม โปรตอน
นวิ ตรอน
อเิ ล็กตรอน

ธาตุท่สี บื ค้น โปรตอน
(เช่น ลิเทยี ม) นวิ ตรอน
อิเลก็ ตรอน

คำถามท้ายกจิ กรรม
1. ชนดิ และจำนวนของอนภุ าคภายในอะตอมของธาตุตา่ ง ๆ เหมือนหรือแตกต่างกนั อย่างไร

แนวคำตอบ อะตอมของธาตุฮีเลียม คาร์บอน และอะลูมิเนียม ประกอบด้วยอนุภาค 3 ชนิด คือ โปรตอน
นวิ ตรอนและ อิเล็กตรอน เหมอื นกัน แต่แตกต่างกันท่จี ำนวนอนภุ าค โดยฮีเลียมประกอบดว้ ย 2 โปรตอน 2

25

นิวตรอน และ 2 อิเล็กตรอน คาร์บอน ประกอบด้วย 6 โปรตอน 6 นิวตรอน และ 6 อิเล็กตรอนส่วน
อะลูมิเนียมประกอบด้วย 13 โปรตอน 14 นิวตรอน และ 13 อิเล็กตรอน
2. การจัดเรียงตัวของอนภุ าคตา่ ง ๆ ภายในอะตอมของธาตแุ ต่ละชนดิ เหมอื นและแตกต่างกนั อย่างไร
.............................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
3. จากกจิ กรรมสรุปได้ว่าอย่างไร
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

การจำแนกธาตแุ ละการใชป้ ระโยชน์ สายไฟบางชนดิ ทำจากธาตุทองแดง บางชนิดทำจากอะลูมิเนียม

เน่อื งจากธาตุท้ังสองมสี มบัติการนำไฟฟา้ ความแข็งแรงและเหนยี วใกลเ้ คียงกนั แต่แตกต่างกนั ทคี่ วามหนาแน่น
และราคา เม่อื ขนาดหรอื ปริมาตรเทา่ กันสายไฟอะลูมิเนยี มจะมีน้ำหนกั เบาเปน็ คร่งึ หน่งึ ของสายไฟทองแดง และ
มีราคาถูกกว่า จึงนยิ มใช้สายไฟอะลูมิเนยี มภายนอกอาคารท่ตี ้องใช้สายไฟยาว ๆ สว่ นสายไฟทองแดงนิยมใชใ้ น
อาคาร ธาตอุ ่นื ๆ มีสมบตั ิเหมือนหรอื แตกตา่ งกันอยา่ งไร สามารถนำมาใช้ในการจัดกลมุ่ ธาตุไดอ้ ย่างไร

ทบทวนความรู้ก่อนเรยี น 4

จากภาพ แทง่ เหล็ก แทง่ ทองแดง และแท่งทองคำ มขี นาดและปริมาตร 10 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร
เทา่ กนั เขียนเคร่อื งหมาย  หน้าข้อทถ่ี กู ต้อง

 เมือ่ ต่อแท่งทองแดงในวงจรไฟฟา้ ทำใหห้ ลอดไฟในวงจรสว่าง แสดงว่า ทองแดง
นำไฟฟ้าได้

 เหล็กมีความหนาแนน่ สงู กวา่ ทองแดงและทองคำ
 เมอ่ื ให้ความร้อนจนมีอุณหภมู ิสงู ขนึ้ เรอ่ื ย ๆ แท่งทองคำจะหลอมเหลว ก่อนแท่ง
ทองแดงและแทง่ เหลก็

26

กจิ กรรมท่ี 6 เราจำแนกธาตไุ ด้อย่างไร
จดุ ประสงค์ : ทดสอบและเปรียบเทียบสมบัตทิ างกายภาพของธาตุ เพอ่ื ใช้ในการแนกธาตุ
วัสดแุ ละอุปกรณ์

รายการ ปริมาณ/กลุ่ม

1. ตวั อยา่ งธาตุต่าง ๆ ไดแ้ ก่ อะลูมเิ นียม เหลก็ ทองแดง สังกะสี กำมะถัน ถ่านไม้ 1 ชดุ

2. หลอดไฟ 2.5 โวลต์ 1 หลอด

3. สายไฟ พรอ้ มคลิปปากจระเข้ 2 เส้น

4. แบตเตอรี่ 1.5 โวลต์ 1 กอ้ น

5. ค้อนยางขนาดเล็ก 1 อัน

6. ถงุ พลาสติกขนาดเล็ก 1 ถงุ

7. แว่นตานิรภยั (ถา้ มี) 1 อัน/คน

8. กระดาษทราย (ถา้ มี) 1 แผ่น

วิธีการดำเนนิ กิจกรรม

1. สังเกตลกั ษณะภายนอกของธาตุ รวมทงั้ ความมันวาว โดยใชก้ ระดาษทรายขดั พนื้ ผวิ ตวั อยา่ งธาตุ บรเิ วณ

เลก็ ๆและบนั ทกึ ผลในตารางท่ีออกแบบไว้

2. ทดสอบการนาไฟฟา้ ของธาตตุ า่ งๆ โดยตอ่ กบั วงจรไฟฟา้ อยา่ งง่าย ดงั ภาพบนั ทกึ ผล

ทม่ี า หนงั สอื แบบเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 สสวท

3. ทดสอบความเหนียวของธาตุ โดยบรรจตุ ัวอยา่ งธาตใุ นถงุ พลาสตกิ ขนาดเลก็ แล้วทุบด้วยคอ้ นยาง สังเกตการ

เปลี่ยนแปลง บนั ทึกผล
4. คดั ลอกข้อมุล จุดเดือด จุดหลอมเหลวและการนำความร้อนจากหนงั สอื ลงในตาราง บนั ทกึ ผล
5. เปรยี บเทยี บสมบัตทิ างกายภาพของธาตตุ ่างๆ ในตารางบันทึกผล

ตารางจุดเดอื ด จุดหลอมเหลว ความหนาแนน่ และการนำความรอ้ นของธาตุต่างๆ

ท่ี ธาตุ จดุ เดอื ด (๐c) จดุ หลอมเหลว (๐c) การนำความรอ้ น

1 อะลมู ิเนยี ม 2,467 660 นำความร้อนไดด้ ี

2 เหลก็ 2,750 1,535 นำความรอ้ นได้ดี

3 ทองแดง 2,567 1,083 นำความร้อนได้ดี

4 สังกะสี 907 420 นำความรอ้ นไดด้ ี

5 กำมะถนั 455 113 ไม่นำความรอ้ น

6 ถ่านไม้ - 3,500 ไมน่ ำความร้อน

27

6. จำแนกธาตุโดยใช้สมบตั ิทางกายภาพตอ่ ไปน้เี ปน็ เกณฑร์ ว่ มกนั ได้แก่ ความมันวาว การนำไฟฟ้า ความเหนียว

จุดเดอื ดจดุ หลอมเหลว และการนำความรอ้ น บันทกึ ผล

ตวั อย่างผลการทำกจิ กรรม

ผลการสงั เกต

ชอ่ื ธาตุ ลักษณะภายนอก การนำ ความ จุด จุด การนำ ผลการ
ไฟฟ้า เหนยี ว ความ จำแนก
สถานะ สี ความ เดอื ด หลอมเห
มันวาว ( QC) ลว ( QC) รอ้ น

อะลมู ิเนียม ของแขง็ เทา มนั วาว นำ บดิ งอได้ 2,467 660 นำความ กลมุ่ 1
อ่อน ไฟฟ้า ทบุ ไม่ รอ้ นได้ดี
แตก

เหลก็ ของแข็ง เทา มันวาว นำ บดิ งอได้ 2,750 1,535 นำความ กลมุ่ 1
อ่อน ไฟฟ้า ทุบไม่ ร้อนได้ดี
แตก

บิดงอได้

ทองแดง ของแขง็ ทอง มนั วาว นำ ทุบไม่ 2,567 1,083 นำความ กลมุ่ 1
แดง ไฟฟ้า แตก ร้อนได้ดี

สงั กะสี ของแข็ง เทา มนั วาว นำ บดิ งอได้ 907 420 นำความ กลุม่ 1
อ่อน ไฟฟ้า ทุบไม่ ร้อนไดด้ ี
แตก

กำมะถนั ของแขง็ เหลอื ง ไมม่ นั ไมน่ ำ เปราะ 445 113 ไมน่ ำ
อ่อน วาว ไฟฟา้
แตก ความ กลมุ่ 2
ง่าย รอ้ น

ถา่ นไม้ ของแข็ง ดำ ไม่มนั ไมน่ ำ เปราะ - สงู มาก ไม่นำ
วาว ไฟฟ้า (>3,600) ความ กล่มุ 2
แตก
งา่ ย ร้อน

คำถามท้ายกจิ กรรม
1. ธาตใุ ดบ้างที่มสี มบัติความมนั วาว การนำไฟฟา้ และความเหนยี ว เหมอื นกัน
แนวคำตอบ ธาตุอะลูมเิ นยี ม เหล็ก ทองแดง สงั กะสี และพลวง มีความมนั วาว การนำไฟฟา้ ไดด้ ี และเหนียว
เหมอื นกัน สว่ นธาตกุ ำมะถันและถ่านไม้ ไม่มนั วาว นำไฟฟ้าไดไ้ ม่ดี และไม่เหนยี วเหมือนกนั
2. เมื่อจำแนกธาตุโดยใช้สมบัตติ ่อไปน้ีเปน็ เกณฑร์ ่วมกนั ไดแ้ ก่ ความมันวาว การนำไฟฟ้า ความเหนียว จุดเดอื ด
จดุ หลอมเหลว และการนำความร้อน ได้ผลการจำแนกเปน็ อย่างไร
แนวคำตอบ เม่อื ใช้สมบัติต่าง ๆ เปน็ เกณฑ์รว่ มกนั สามารถจำแนกธาตุเป็น 2 กลุ่ม โดยกลุม่ ท่ี 1 มีความมนั วาว
นำไฟฟ้าไดด้ ี เหนียว จดุ เดอื ดและจุดหลอมเหลวสูง นำความรอ้ นได้ดี ไดแ้ ก่ อะลูมเิ นยี ม เหลก็
ทองแดง สงั กะสี กล่มุ ท่ี 2 ไม่มันวาว นำไฟฟ้าไดไ้ มด่ ี ไม่เหนยี ว จุดเดอื ดและจุดหลอมเหลวตำ่ นำความร้อนได้
ไมด่ ี ได้แก่ กำมะถนั และถ่านไม้

28

3. จากกิจกรรม สรุปไดว้ ่าอยา่ งไร
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

ร่วม กนั คดิ 5

จับคู่ธาตุและการใช้ประโยชนใ์ ห้ถกู ตอ้ ง โดยใช้แตล่ ะตัวเลอื กเพียงครง้ั เดยี ว

....... 1. รักษาโรคมะเร็งบางชนดิ ก. ทองแดง (โลหะ)

....... 2. ชน้ิ ส่วนอเิ ล็กทรอนิกส์ ข. โพแทสเซียม (อโลหะ)

....... 3. สายไฟภายในอาคาร ค. ซลิ ิคอน (ธาตุก่ึงโลหะ)

....... 4. ปุ๋ยเคมี ง. เรเดียม (ธาตุกัมมนั ตรงั สี)

29

คดิ แบบนกั วิทย์

ขน้ั นำปัญญำพฒั นำควำมคดิ กิจกรรม ฝึ กทา : ฝึ กสร้าง

ในนกั เรยี นเขียนผังมโนทศั น์สรปุ องคค์ วามรู้ในบทเรียนการจำแนกและองคป์ ระกอบของสารบรสิ ทุ ธิ์

30

กิจกรรม คิดดี ผลงำนดี มคี วำมสขุ

ขนั้ นำปัญญำพฒั นำตนเอง

กจิ กรรม การนำธาตุไปใชม้ ผี ลอยา่ งไรบ้าง

นักเรียนจะได้เรียนรูเ้ กี่ยวกับผลจากการใชธ้ าตทุ ี่มีตอ่ สงิ่ มีชีวิต สงิ่ แวดล้อม เศรษฐกิจ และสงั คม

จุดประสงค์ รวบรวม วเิ คราะหข์ อ้ มูล และนำเสนอผลจากการใช้ธาตบุ างชนดิ

วิธกี ารดำเนนิ กจิ กรรม

นกั เรียนศกึ ษาจากวีดิทัศนจ์ าก youtube ที่เช่ือถือได้

เร่ือง กรมอตุ สาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมอื งแร่ กระทรวงอุตสาหกรรม

http://www.dpim.go.th/maincontent/viewdetail?catid=116&articleid=6616

โพแทช : แร่เศรษฐกิจท่ีสำคัญของไทยในอนาคต กรมอตุ สาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่

http://www.industry.go.th/industry/index.php/th/knowledge/item/10610-2016-

05-23-05-43-19 “แรโ่ พแทช” กระทรวงอตุ สาหกรรม 23 พค. 59

http://www.dpim.go.th/dpimnews/article?catid=102&articleid=7075

ผลการทำกิจกรรม

1. ถ้าบรษิ ทั ได้รบั อนญุ าตให้ทำเหมอื ง บริษัทจะต้องจา่ ยเงินให้รฐั บาลเพ่ือไปใชพ้ ฒั นาทอ้ งถ่นิ

ข้อด.ี ...... รัฐบาลมเี งนิ งบประมาณสำหรบั พัฒนาประเทศมากขึน้

ข้อเสีย... เงนิ งบประมาณท่ไี ด้อาจนำไปใช้พฒั นาในส่วนอื่นของประเทศ แต่ใชพ้ ฒั นาทอ้ งถิน่ ทท่ี ำ

เหมืองเพยี งสว่ นน้อย

2. การขดุ เหมอื งและจา้ งงาน บริษทั เหมืองแรจ่ ้างคนงานและใช้เคร่ืองจกั รจำนวนมากเพอื่ ขดุ เหมืองและ

ลำเลียงแรอ่ อกมาจากป่าไม้

ขอ้ ดี.................................................................................................................................................

ขอ้ เสีย............................................................................................................................................

3. การใช้ดนิ เหมอื งแร่อาจใช้วิธีขดุ เปิดหน้าดนิ หรือขุดอโุ มงค์ ควรมกี ารจัดการท่ีดี เพอื่ ปอ้ งกนั การเกดิ ฝุน่

ละอองในอากาศ

ข้อดี.................................................................................................................................................

ข้อเสีย............................................................................................................................................

4. โรงงาน เมอื่ แร่มาถงึ โรงงาน จะถูกนำไปผลิตเปน็ ปยุ๋ เคมี ทำใหเ้ กษตรกรไดใ้ ชป้ ุ๋ยดีราคาถูก และปยุ๋ บาง

ส่วนอาจส่งออกไปขายตา่ งประเทศ

ข้อดี.................................................................................................................................................

ขอ้ เสีย............................................................................................................................................

31

แบบประเมินตนเองหลงั เรยี น

คำชีแ้ จง : ให้นกั เรียนเลือกคำตอบทีถ่ ูกต้องทสี่ ุดเพียงคำตอบเดยี ว ใช้เวลา 20 นาที
1. พบขวดสารเคมีท่ีไม่ติดฉลากบรรจุสารที่มีสถานะของแข็ง สีขาว ไม่มีกลิ่น เม่ือนำไปทดสอบ โดยหาจุด
หลอมเหลวพบว่าสารเรม่ิ หลอมเหลวท่ีอุณหภูมิ 156 oC และหลอมเหลวหมดที่อุณหภูมิ 156.5 oC ขอ้ สรุปใด
ถกู ตอ้ ง

ก. สารนเ้ี ป็นสารผสมเพราะมจี ดุ หลอมเหลวไมค่ งท่ี
ข. สารน้ีเปน็ สารผสมเพราะจุดหลอมเหลวสูงกว่า 100 oC
ค. สารน้ีเปน็ สารบริสทุ ธ์เิ พราะเปน็ ของแข็ง สขี าว ไมม่ ีกลิ่น
ง. สารนี้เปน็ สารบรสิ ทุ ธ์เิ พราะมชี ว่ งอุณหภูมิที่หลอมเหลวแคบ
2. นำของเหลว 3 ชนิดไปให้ความร้อนและบันทึกผลอุณหภูมิทุก ๆ 3 นาที จากน้ันนำข้อมูลมาเขียนกราฟ
ความสมั พันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสารกับเวลา ได้ดังน้ี

ขอ้ สรปุ ใดถกู ตอ้ ง
ก. สาร A เป็นสารผสม สว่ นสาร B และ C เป็นสารบริสุทธ์ิ
ข. สาร C เปน็ สารบรสิ ุทธ์ิ ส่วนสาร A และ B เปน็ สารผสม
ค. สารทั้ง 3 ชนดิ เป็นสารบรสิ ุทธ์ิ
ง. สารทง้ั 3 ชนิด เปน็ สารผสม

3. สาร D มจี ุดเดอื ดและจดุ หลอมเหลวกี่องศาเซลเซียส ข. จุดเดอื ด 40 oC และจดุ หลอมเหลว 0 oC
ก. จดุ เดอื ด 0 oC และจุดหลอมเหลว 40 oC ง. จดุ เดอื ด 80 oC และจุดหลอมเหลว 60 oC
ค. จดุ เดอื ด 60 oC และจดุ หลอมเหลว 80 oC

32

4. ขอ้ ใดตอ่ ไปนีถ้ ูกต้อง
ก. สาร A มีจดุ หลอมเหลวสูงกวา่ สาร C และสาร D
ข. สาร A มจี ดุ เดือดต่ำกว่าสาร B สาร C และสาร D
ค. สาร C มีจดุ เดอื ดตำ่ กว่าสาร B และสงู กวา่ สาร D
ง. สาร C มีจดุ หลอมเหลวสงู กว่าสาร B และตำ่ กว่าสาร D

5. พจิ ารณาขอ้ มูลจากกราฟแลว้ ตอบคำถาม

ถา้ นำวตั ถทุ งั้ 3 ชนิดหยอ่ นลงในนำ้ มนั พืชทมี่ คี วามหนาแนน่ 0.90 g/cm3 วัตถชุ นดิ ใดลอยในนำ้ มนั พืชได้

ก. A และ B ข. A และ C ค. B และ C ง. A B และ C

6. ตารางมวลและปริมาตรของวตั ถุ 4 ชน้ิ

เมือ่ หาความหนาแน่นของวัตถทุ ั้ง 4 ชน้ิ แผนภูมิแท่งข้อใดสอดคล้องกับขอ้ มูลในตาราง

33

7. แกส๊ A มีความหนาแน่น 0.80 g/cm3 แกส๊ B มคี วามหนาแน่น 1.14 g/cm3 และ แกส๊ C มีความหนาแน่น
0.07 g/cm3หากบรรจุแก๊สแตล่ ะชนดิ มวล 50 กรัม ในลกู โป่งทอ่ี ุณหภูมิห้องและความดนั บรรยากาศ ให้

เรียงลำดับขนาดลูกโป่งท่ีบรรจแุ กส๊ จากเลก็ ไปใหญ่

ก. B A C ข. C A B ค. C B A ง. B C A

8. ตารางมวลและปริมาตรของวตั ถทุ ่ีเปน็ สารบริสุทธิ์ 4 ชิ้น

จากตาราง วตั ถุชนิ้ ใดเป็นวัตถุชนิดเดยี วกัน

ก. วัตถุ A และ C ข. วตั ถุ A และ D ค. วตั ถุ B และ C ง. วัตถุ B และ D

9. ตอ้ งการหาค่าความหนาแนน่ ของวตั ถชุ ้ินหน่งึ ทีม่ รี ูปทรงไม่เปน็ รูปทรงเรขาคณิต โดยสว่ นท่กี วา้ งทส่ี ดุ ของ

วัตถยุ าว3.5 cm และสว่ นทย่ี าวของวตั ถุยาว 8.0 cm ควรเลือกใช้อปุ กรณ์ในข้อใดในการหามวลและปริมาตร

ของวตั ถุ

34

ใช้ขอ้ มูลในตาราง ตอบคำถาม ข้อ 10 - 11

10. ขอ้ ใดเปน็ สารประกอบทง้ั หมด ข. ฮีเลยี ม เงนิ
ก. กรดน้ำสม้ โอโซน ง. กรดนำ้ สม้ ปนู ขาว
ค. แกส๊ คลอรีน แมกนเี ซยี มคลอไรด์
ข. ฮีเลียม เงิน
11. ขอ้ ใดเปน็ ธาตุทงั้ หมด ง. กรดน้ำส้ม ปูนขาว
ก. กรดนำ้ สม้ โอโซน
ค. แก๊สคลอรีน แมกนีเซยี มคลอไรด์ ข. ดงึ เปน็ เส้นได้
ง. มคี วามมนั วาว
12. ขอ้ ใดไม่ใช่สมบัติของธาตโุ ลหะ
ก. เปราะ

ค. นำไฟฟ้าและนำความร้อนไดด้ ี

13. จากภาพด้านบนแสดงอะตอม ขอ้ ใดถกู ตอ้ ง

ก. 1, 2, 3 เป็นธาตุ ข. 1, 2, 4 เป็นธาตุ

ค. 2, 3, 5 เป็นสารประกอบ ง. 3, 4, 5 เปน็ สารประกอบ

14. อะตอมของธาตลุ เิ ทียมมี 3 โปรตอน 4 นวิ ตรอน และ 3 อเิ ล็กตรอน แบบจำลองอะตอมในข้อใด แสดง

อะตอมของธาตลุ เิ ทยี มไดเ้ หมาะสม เมื่อ

ก ข คง
35

15. ขอ้ ใดไม่ถกู ต้องเกี่ยวกบั การนำธาตุไปใช้
ก. ทองแดง เป็นโลหะทใ่ี ช้ทำสายไฟฟา้ เพราะนำไฟฟ้าไดด้ ี
ข. ซิลิคอน เปน็ โลหะที่ใช้ในอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ เพราะมีสมบตั ิเป็นสารกง่ึ ตวั นำ
ค. เหลก็ เป็นโลหะที่ใช้ทำเครือ่ งจกั ร เพราะรบั นำ้ หนกั ไดแ้ ละคงทนตอ่ การสึกหรอ
ง. ไนโตรเจน เป็นอโลหะทใ่ี ชใ้ นปยุ๋ เร่งผลผลิตทางการเกษตร เพราะเปน็ ส่วนประกอบท่สี ำคญั ของพชื
คะแนนเตม็ 15 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

36

เอกสารอ้างอิง

ศรลี กั ษณ์ ผลวฒั นะ และ คณะ . (2551). ส่อื การเรียนรู้และเสรมิ สรา้ งทักษะตามมาตรฐานและ
ตัวชี้วดั ชนั้ ปกี ลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ เล่ม 1. กรุงเทพฯ.นิยมวทิ ยา.

สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ,สถาบนั . คู่มือครู รายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ 1 ชั้น
มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 เล่ม 1. (2553). กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์คุรสุ ภาลาดพร้าว.

สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี , (2553). สถาบนั .หนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ 1 ชนั้
มธั ยมศึกษา ปีที่ 1 เล่ม 1 .กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพค์ รุ ุสภาลาดพรา้ ว.

ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี , (2561). สถาบนั .หนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ เลม่ 1 ช้ัน
มัธยมศกึ ษา ปที ่ี 1 เลม่ 1 .กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ครุ ุสภาลาดพรา้ ว.


Click to View FlipBook Version