The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดกิจกรรมเรื่องเราจะเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2021-05-21 05:06:39

ชุดกิจกรรมเรื่องเราจะเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร

ชุดกิจกรรมเรื่องเราจะเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร

Keywords: ว21101

ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคิดโยนโิ สมนสิการ

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรือ่ งเราจะเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรอ์ ย่างไร

วชิ าวิทยาศาสตร์ 1 ว21101

สอนโดย
นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรตั น์

ครูชำนาญการพเิ ศษ
ปีการศกึ ษา 2564

สำหรับนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม
ช่ือ-สกุล..................................................ชน้ั .........เลขท.่ี .......

สารบญั หนา้

บทนำ......................................................................................................................... ....... ก
คำชี้แจงการใชช้ ุดกิจกรรม................................................................................................ ข
แบบประเมนิ ตนเองก่อนเรียน........................................................................................... 1
หนว่ ยการเรยี นรู้เรื่อง เรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์อยา่ งไร...................................................... 1
3
ความสำคญั และความหมายของวทิ ยาศาสตร์..................................... 5
กระบวนการทำงานของนกั วิทยาศาสตร์............................................. 16
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์............................................................. 18
แบบประเมินตนเองหลังเรยี น............................................................................................
เอกสารอา้ งอิง...................................................................................................................

บทนำ

ชุดกิจกรรมที่ผู้เรียนจะได้ศึกษานี้เรียกว่าชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เราจะเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร เป็นสื่อวิทยาศาสตร์ท่ีเน้นให้ผู้เรียนมี
ความสามารถในการคดิ แก้ปัญหาอย่างมีระบบ พบคำตอบของปญั หาหรือสถานการณน์ ้ันดว้ ยตนเอง สง่ ผลให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้คิดและลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ และ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
นกั เรยี น

ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการเนื้อหาส่วนใหญ่เน้นการให้นักเรียนสามารถ
นำไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจำวันเพื่อให้นกั เรียนสามารถเรยี นรู้เนื้อหาได้ด้วยตนเองจงึ ได้เรียบเรียง
เนื้อหาให้กระชับและน่าสนใจและนอกจากนี้ยังได้แทรกรปู ภาพและคำถามชวนคดิ ไว้ตลอดทำใหไ้ ม่เบ่ือในการ
อ่านและทำกจิ กรรม

ผู้จัดทำชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารชุดนี้จะมี
ประโยชนใ์ นการเรยี นร้เู น้ือหาตามหลักสูตร ผู้เรียนมคี วามรแู้ ละความสามารถในการสบื ค้น การจัดระบบสิ่งที่
เรยี นรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อสรา้ งองค์ความรู้ ไดเ้ ป็นอยา่ งดีสามารถนำความรู้ท่ีได้จากการ
เรียนรูไ้ ปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ และเป็นประโยชน์สำหรับผูท้ ี่สนใจใชเ้ ป็นแนวทาง ในการจัดกระบวนการ
เรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรไ์ ด้ตอ่ ไป

...........................................
( นางสาวอโนชา อทุ มุ สกุลรัตน์ )
ผ้จู ดั ทำชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์



คำชีแ้ จงการใชช้ ดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ แบบโยนโิ สมนสกิ าร
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เร่ืองเราจะเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรอ์ ย่างไร

1. สาระท่ี 4: เทคโนโลยี
2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด เร่ือง เราจะเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์อยา่ งไร ชดุ น้ี ใช้เวลา 9 ชั่วโมง

มาตรฐานการเรยี นรู้ /ตวั ช้วี ัด ว.4.1 ม.1/2, 1/3, 1/4
ว.4.2 ม.1/3, 1/4

3. วิธีเรียนร้จู ากชุดกิจกรรมนี้เพอ่ื ให้เกิดประโยชนส์ ูงสุดนกั เรียนควรปฏบิ ัติตามคำชี้แจง ต่อไปนี้
ตามลำดบั

1. ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ แบบโยนโิ สมนสิการ เรอื่ ง เรียนรวู้ ิทยาศาสตรอ์ ย่างไร ชดุ นี้
ใช้เวลาในการศึกษา 9 ชว่ั โมง
2. ใหน้ ักเรยี นจดั กลมุ่ ๆ ละประมาณ 6 คน
3. ให้นักเรียนศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวช้ีวัดของชุดการเรยี น
4. ให้นักเรยี นปฏิบตั กิ ิจกรรมในชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนโิ สมนสิการ โดยใช้

รปู แบบการเรียนรแู้ บบโยนโิ สมนสิการตามขัน้ ตอนดังนี้
1. ขนั้ พัฒนาปญั ญา
2. ข้นั นำปญั ญาพฒั นาความคิด
3. ขนั้ นำปญั ญาพฒั นาตนเอง

4. สาระสำคัญ
วิทยาศาสตร์ ( Science ) หมายถึง การศึกษาหาความจริงเก่ยี วกบั ปรากฏการณ์ธรรมชาตริ อบๆตัว

เรา ทง้ั ท่ีมีชีวิตและไม่มีชวี ิต อยา่ งมีขน้ั ตอนและระเบียบแบบแผน
การศึกษาทางวิทยาศาสตรเ์ ป็นการศึกษาส่ิงตา่ งๆ อย่างมีระเบยี บแบบแผน เพื่อให้ได้ข้อสรุป หรอื

ความรู้ทสี่ ามารถแสดง หรือพิสูจน์ได้ โดยกระบวนการศึกษาทางวทิ ยาศาสตร์ เกิดจากการสังเกตประเด็นที่
ต้องการหาคำตอบ นำไปสกู่ ารตัง้ สมมติฐาน การทดลอง รวบรวมข้อมูล เพื่อสรุปหรืออธิบายประเดน็ น้ันๆซง่ึ
นอกจากผ้ศู กึ ษาจะมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ท่ีดีแล้วน้ัน ผศู้ ึกษาจะต้องเปน็ คนชา่ งสังเกต ช่างคิด มี
เหตผุ ล และมีความพยายาม จงึ จะทำให้การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ประสบความสำเร็จ

*** ขอใหน้ กั เรยี นทุกคนได้เรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์อยา่ งมีความสขุ ***



แบบประเมนิ ตนเองก่อนเรียน

คำชแี้ จง : ใหน้ กั เรยี นเลอื กคำตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพยี งคำตอบเดียว ใช้เวลา 10 นาที
1. ขอ้ ความในข้อใดท่ีไม่ได้เกดิ จากการสังเกต

ก. วันนอ้ี ากาศร้อนอบอ้าว
ข. โตะ๊ ตัวนีส้ ูง 150 เซนติเมตร
ค. นำ้ ยาขวดนม้ี กี ลนิ่ ฉุน
ง. ผา้ ผนื น้ีมันวาวกว่าผ้าผนื นั้น

2. ข้อใดเปน็ ขั้นตอนแรกของกระบวนการศกึ ษาทางวทิ ยาศาสตร์
ก. การสงั เกตเพอ่ื ระบุปัญหา
ข. การหาข้อมลู เพ่ือรวบรวมข้อมูล
ค. การนำเสนอข้อมูลใหผ้ ูอ้ น่ื เข้าใจ
ง. การคาดคะเนคำตอบของปญั หา

3. ถา้ นกั เรียนต้องการทำการวดั ปรมิ าตรของน้ำดื่มขวดหน่ึง ควรเลือกใชเ้ ครื่องมือวดั ใด เพ่ือใหไ้ ด้คา่ ท่ี

ถกู ต้องมากท่ีสดุ

ก. ขวดนำ้ ด่มื ข. เครอ่ื งช่งั แบบดิจิตอล

ค. ถังน้ำ ง. กระบอกตวง

4. ส่ิงของทเ่ี หน็ ในภาพ คอื ข้อใด
ก. ราวตากผา้
ข. รองเทา้
ค. ดา้ ย
ง. เชอื กฟาง

5. ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ใดท่ตี ้องใชป้ ระสาทสมั ผัสทงั้ 5
ก. ทกั ษะการวดั
ข. ทกั ษะการสังเกต
ค. ทักษะการจำแนก
ง. ทกั ษะการคำนวณ

6. ทกุ ข้อเปน็ ลกั ษณะของการเขียนรายงานการทดลองท่ีดี ยกเว้นข้อใด
ก. มสี ว่ นประกอบครบถว้ น
ข. ใช้ภาษาในการเขยี นทเ่ี ข้าใจง่าย
ค. จัดระบบข้อมลู ท่ีไดจ้ ากการสำรวจ
ง. มีขอ้ มลู ทเ่ี ก่ียวข้องเพิ่มเติมมากๆ

7. สมมติฐานคืออะไร
ก. การระบุคำถามซง่ึ เกดิ ขึ้นจากการสงั เกต
ข. การวางแผนการทำงาน
ค. การคาดคะเนคำตอบของคำถาม หรือส่ิงทส่ี งสยั
ง. การตอบคำถามก่อนทำการทดลอง

8. ข้อใดเป็นลำดบั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

ก. ระบุปัญหา รวบรวมข้อมูล ตัง้ สมมติฐาน ทดลอง สรปุ ผล

ข. ระบปุ ัญหา ตง้ั สมมติฐาน ทดลอง รวบรวมข้อมูล สรุปผล

ค. ต้งั สมมติฐาน สงั เกต ระบปุ ัญหา ทดลอง สรปุ ผล

ง. สงั เกต ระบปุ ญั หา รวบรวมขอ้ มลู ต้ังสมมตฐิ าน ทดลอง

9. ขอ้ ใดเป็นเคร่ืองมือในการวัดที่เป็นมาตรฐาน

ก. กระบอกตวง ตาชัง่ สองแขน แท่งไม้

ข. ฝา่ มือ นว้ิ เทอร์โมมิเตอร์

ค. ไมบ้ รรทดั ตาช่ังสปริง กระบอกตวง

ง. เทอร์โมมิเตอร์ ไม้เมตร ขวดน้ำ

10. ขอ้ ใดเป็นประโยชนข์ องกระบวนการศึกษาทางวทิ ยาศาสตร์
ก. เกดิ การคดิ อยา่ งเปน็ เหตเุ ปน็ ผล
ข. เกดิ การแกป้ ญั หาเพ่ือหาคำตอบของสิ่งที่สงสัยอยา่ งเปน็ ระบบ
ค. ข้อมลู ท่ีไดร้ บั มีความน่าเชื่อถือ และเผยแพร่แก่ผ้อู ่ืนได้
ง. ถกู ทุกข้อ

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

หนว่ ยที่ 1 เราจะเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งไร
เวลา 9 ชว่ั โมง

ขัน้ พัฒนาปัญญา กิจกรรม ฝึ กอ่าน : ฝึ กคิด

❖ ความสำคัญและความหมายของวิทยาศาสตร์

❖ ถ้ากล่าวถึงคำวา่ "วทิ ยาศาสตร"์ (Science )
นักเรยี นจะนึกถงึ อะไรบา้ ง

...........................................................................................
...........................................................................................
...........................................................................................
...........................................................................................
วิทยาศาสตร์ ( Scienc..e....)...ห...ม..า..ย..ถ..ึง.....ก..า..ร..ศ..ึก..ษ...า..ห..า..ค...ว.า..ม...จ..ร..ิง..เ.ก..่ีย..ว..ก...ับ....ป..ร..า..ก..ฏ...การณ์
ธรรมชาติรอบๆตวั เรา ทั้งทมี่ ชี วี ติ และไม่มชี ีวติ อยา่ งมีขน้ั ตอนและระเบียบแบบแผน
ลักษณะสำคัญทางวิทยาศาสตร์ คือ ความรู้ต่างๆ ที่นักวิทยาศาสตร์ค้นพบน้ันสามารถ
เปลี่ยนแปลงได้ เม่ือมีหลักฐานและข้อมูลเพิ่มเติม เนื่องจากความเจริญทางวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยที ำให้นักวิทยาศาสตรม์ ีเคร่ืองมือ และวิธีการทันสมัยในการค้นคว้าและศึกษาจนได้ขอ้ มูล
ใหม่ซึง่ เปน็ ทีย่ อมรบั มากขึ้นกว่าเดมิ

ร่วม กนั ค้น 1

คำส่งั ใหน้ ักเรยี นช่วยกันค้นหาเรอ่ื งราวเก่ียวกบั “ จนั ทรปุ ราคา ความเชอ่ื เก่ียวกับราหูอม
จันทร์ของคนสมัยโบราณ” ในแต่ละท้องถ่นิ มา 1 เรือ่ งพร้อมระบุแหล่งสืบคน้
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................

1

...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
ท่ีมา : www…………………………………………………………………………………………………………………
วันทสี่ บื ค้น ………………………………………………………………………………………………………………...

ในปัจจุบันเราทราบแล้วว่าปรากฏการณ์จันทรุปราคา และ ปรากฏการณ์สุริยุปราคา
น้ันมีหลักการเกิดคล้ายๆ กันก็คือ เกิดจากการท่ีดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์เรียงอยู่ในแนว
ระนาบเดียวกันพอดี โดยปรากฏการณ์จันทรุปราคาน้ัน โลกจะอยู่ตรงกลางระหว่างดวงอาทิตย์
และดวงจันทร์ ซ่ึงปรากฏการณ์จันทรุปราคาจะเกิดในช่วงที่ดวงจันทร์เต็มดวง โดยปรากฏการณ์
จันทรุปราคาเกิดขึ้นขณะท่ีดวงจันทร์เคล่ือนที่ผ่านเข้าไปในเงาของโลก และเม่ือดวงจันทร์โคจร
ผ่านเข้าไปในเงามืดของโลกแล้วดวงจันทร์จะค่อยๆ แหว่งไปทีละน้อยจนมืดทั้งดวง และเร่ิมโผล่
อีกคร้งั เมอ่ื ดวงจนั ทร์เคล่ือนท่ผี ่านพน้ ออกมาจากเงาของโลก

นักเรียนได้ความรู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์สุริยุปราคามาแล้วให้
นักเรียนเขียนแผนภาพแสดงตำแหน่งของดวงอาทิตย์ ดวง
จนั ทร์ และโลก ท่ีทำให้เกดิ สรุ ยิ ปุ ราคา

ความเชื่อเกี่ยวกับจันทรุปราคา จากที่นักเรียนสืบค้นมาเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถหาหลักฐาน
มาพิสูจน์หรืออธิบายได้ ไม่จัดเป็นวิทยาศาสตร์ การเกิดสุริยุปราคาเนื่องจากการท่ีดวง
จนั ทร์บังดวงอาทิตยเ์ ป้นความจริง เป็นข้อมูลที่สามารถหาหลักฐานมาพิสูจน์หรืออธิบายได้
อยา่ งสมเหตผุ ล จัดเป็นวทิ ยาศาสตร์

2

❖ กระบวนการทำงานของนักวิทยาศาสตร์

การดำรงชีวิตของมนุษย์ในทุกวันนี้ได้รับความสะดวกสบายต่างๆ มากมายเช่น ไม่
ต้องเดินทางไปหาเพือ่ นไกลๆ เพ่ือถามข่าวคราวจากเพ่ือน เพยี งใชโ้ ทรศัพทห์ รืออินเทอร์เน็ต
ก็สามารถติดต่อกับเพ่ือนได้ นอกจากน้ียังมีเคร่ืองอำนวยความสะดวกอื่นๆ ท้ังในบ้านและ
นอกบ้าน เช่น ตู้เย็น โทรทัศน์ วิทยุ คอมพิวเตอร์ เครื่องบิน ดาวเทียม นักเรียนคิดว่าส่ิง
อำนวยความสะดวกหรือความรู้ต่างๆ เหล่านี้ นักวิทยาศาสตร์ค้นพบมาได้อย่างไร และ
นกั วทิ ยาศาสตรม์ ีลกั ษณะนิสัยแตกต่างไปจากบุคคลอาชีพอืน่ หรือไม่ อย่างไร

ลกั ษณะของนักวทิ ยาศาสตร์ ได้แก่
1) เปน็ คนช่างสังเกต
2) เป็นคนช่างคิดช่างสงสัย
3) เป็นคนมีเหตุมีผล
4) เปน็ คนมีความพยายามและอดทน
5) เปน็ คนมีความคดิ ริเร่ิม
6) เปน็ คนทำงานอย่างมรี ะบบ

เซ อ ร์ ไ อ แ ซ ก นิ ว ตั น (Sir Isaac Newton) เป็ น
นักวิทยาศาสตร์ผู้มีชื่อเสียงคนหน่ึงของอังกฤษ มีชีวิตอยู่ระหว่าง
พ.ศ. 2185 – 2270 นิวตันค้นพบความรู้ทางวิทยาศาสตร์มากมาย
เช่น ทฤษฎีเกี่ยวกับการหักเหของแสง กฎการเคลื่อนท่ีของวัตถุ กฎ
ความโน้มถ่วงครั้งหนึ่งนิวตันนั่งอยู่ใต้ต้นแอปเปิ้ล เขาเห็นลูกแอป
เปล้ิ ตกลงสูพ่ น้ื ดินนวิ ตันเกิดความสงสัยว่าเมอ่ื แอปเปลิ้ หลดุ จากตน้

ทำไมจึงตกลงสู่พ้ืน ไม่ล่องลอยไปในอากาศ ความสงสัยดังกล่าวทำให้ นิวตันศึกษาค้นคว้า
หาเหตุผลและเข้าใจว่า แอปเป้ิลตกลงสู่พื้นด้วยแรงดึงดูดของโลก และต่อมาได้สรุปเป็นกฎ
แรงดึงดูดซ่งึ ใชเ้ ปน็ กฎสากล เรยี กว่า “กฎแรงดึงดดู ระหว่างมวลของนวิ ตัน”

เซอร์ อเลกซานเดอร์ เฟลมมิ่ง สงสัยวา่ ทำไมแบคทเี รยี ท่ี
มเี ชื้อราขึ้นอย่ใู กล้ๆ จึงตายหมด ซ่งึ นำไปสู่การคน้ พบ
ยาเพนนิซลิ นิ
เพนิซิลนิ (องั กฤษ: Penicillins) หรอื ฟนี อกซิลเมตทลิ เพ
นซิ ิลลนิ (Phenoxymethylpenicillin-Penicillin V) คือ
กลมุ่ ของยาที่อยใู่ นกลมุ่ หลักๆที่เรยี กกนั วา่ บีตา-แลคแทม
(B-lactam) คณุ สมบตั ิของยานค้ี ือเปน็ ยาทใี่ ช้รักษาในการ
ตดิ เช้ือจากแบคทีเรีย

3

ความพยายามและความอดทน เป็นลักษณะสำคญั อกี ประการหนง่ึ ของนักวิทยาศาสตร์
คอื ความเป็นผู้มจี ติ ใจแนว่ แน่ ไม่ท้อถอย แมว้ ่าจะใช้เวลานานเพียงใดก็ตามกย็ งั คงคิดศึก
ษาอยู่จนพบความสำเร็จ ตวั อย่างนกั วทิ ยาศาสตร์ที่มีความพยายามและความอดทนแล้ว
ทำให้ได้ค้นพบความรตู้ ่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อโลก เชน่ ทอมสั อัลวา เอดิสนั

ทอมัส แอลวา เอดิสนั (Thomas Alva Edison)เป็นนกั วทิ ยาศาสตร์ทีย่ ่ิงใหญข่ องโลกผู้
หนึง่ ซง่ึ เป็นผปู้ ระดิษฐ์หลอดไฟฟา้ ท่ที ำให้ท่ัวโลกสว่างไสวในยามคำ่ คืน

ในการประดิษฐ์หลอดไฟฟ้านั้น เขาได้นำวัสดุเกือบทุก
อย่างท่ีพบเห็นมาทดลองทำไส้หลอดไฟฟ้า เขาคร่ำเคร่ง
ทดลองคร้ังแล้วครั้งเลา่ โดยไม่ท้อถอยเป็นเวลานานถึงปี
กวา่ จงึ ประสบความสำเรจ็

คนทม่ี ีความคดิ ริเร่ิม หมายถึง ผทู้ ่ีมีความกล้าที่จะคดิ และทำส่งิ ทผ่ี ิดแปลกไปจากทีผ่ อู้ ื่น
คิดหรือทำอยู่แล้ว โดยเป็นส่ิงที่ทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม ลักษณะการ
เป็นผู้มีความคิดริเร่ิมเป็นลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์ เพราะจะทำให้ค้นพบและ
ประดิษฐ์สิ่งใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลาตัวอย่างเช่น เคร่ืองบินที่ใช้ประโยชน์อยู่ทุกวันน้ีนั้นผล
จากความคิดริเริ่มของบุคคลต่อไปน้ี โรเจอร์ เบคอน (Roger Bacon) นักวิทยาศาสตร์
ชาวอังกฤษ มีความคิดฝันว่ามนุษย์น้ันสามารถท่ีจะบินได้เหมือนนก ถ้าติดปีกท่ีมีรูปร่าง
ลักษณะคล้ายปีกนก และกระพือปีกได้แบบเดียวกับนก ต่อมา ลีโอนาโด ดาวินซี
(Leonardo da Vince) ได้นำความคิดนี้ไปวาดเป็นภาพจำลองแบบต่างๆ ของสิ่งท่ีจะ
ช่วยให้คนบินได้ แต่ก็ยังไม่มีการสร้างขึ้นมา จนกระท่ัง เซอร์ ยอร์จ เคย์ลีย์ ได้บุกเบิก
สรา้ งเครอ่ื งร่อน

จนถึงสมัยของ วิลเบอร์และออร์วิล ไรต์ (Wilbur and Oriville Wright) ซ่ึงมี
ความสนใจในเร่ืองของการบิน จึงศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการร่อนและการบิน และได้
ทดลองสร้างเครื่องรอ่ นพร้อมทั้งปรับปรุงให้ดีข้ึนจนกลายเป็นเครื่องบิน หลังจากน้ันได้มี
ผู้พัฒนาเครื่องบินมาโดยตลอดจนได้เครื่องบินท่ีมีประสิทธิภาพมาก ดังเช่นเครื่องบินไอ
พ่นในปัจจุบนั

4

❖ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ใช้ปากกา
(Science Process Skill) ขีดจุดเนน้
ทส่ี ำคญั
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ วธิ กี ารและขั้นตอนทใี่ ช้ ให้เดน่ ชัด
ดำเนินการค้นคว้าหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์ กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท คอื ดว้ ย

1) วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์
2) ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
3) จติ วิทยาศาสตร์

วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ (scientific method)

วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เป็นขั้นตอนการทำงานอย่างเป็นระบบท่ี
นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ
ดงั น้ี

1. ข้ันระบุปัญหา คือการระบุปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการศึกษา และกำหนด
ขอบเขตของปญั หา

2. ขนั้ ตัง้ สมมติฐาน คอื การคิดคำตอบที่คาดหวงั ว่าควรจะเป็น หรือการคาดเดา
คำตอบ ท่ีจะไดร้ บั

3.ข้ันตรวจสอบสมติฐาน คือ เมื่อตั้งสมมติฐานแล้ว หรือคาดเดาคำตอบ
หลายๆคำตอบไวแ้ ล้ว กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ขัน้ ต่อไป คือตรวจสอบสมมตฐิ าน ใน
การตรวจสอบสมมติฐานจะต้องยดึ ข้อกำหนดสมมติฐานไวเ้ ป็นหลักสำคัญเสมอ

4. ข้ันการรวบรวมข้อมูล คือการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตรวจ
สอบ สมมติฐานทต่ี ง้ั ไวว้ า่ ถกู หรือผิด โดยมหี ลกั ฐาน ยืนยัน อาจทำได้โดยการสังเกต
หรือการทดลอง

5. ข้นั สรุปผล คือการสรปุ ว่าจะปฏิเสธ หรอื ยอมรบั สมมตฐิ าน ตามหลัก
เหตแุ ละผลเพ่ือใหไ้ ด้คำตอบของปญั หา

การออกแบบการทดลองคือการวางแผนการทดลองก่อนที่จะลงมือปฏิบัติจริง
โดยให้สอดคลอ้ งกับสมมติฐานที่ตง้ั ไว้เสมอ และควบคมุ ปัจจัยหรอื ตวั แปรตา่ งๆ ท่ีมผี ลต่อ
การทดลอง แบ่งไดเ้ ป็น 3 ชนิด คือ

5

• ตัวแปรอสิ ระหรือตัวแปรต้น (Independent Variable or Manipulated
Variable) คือปัจจัยท่เี ป็นสาเหตุทำใหเ้ กิดผลการทดลองหรือตวั แปรที่ต้องศึกษา
ทำการตรวจสอบดูว่าเป็นสาเหตุท่กี ่อใหเ้ กดิ ผลเช่นกัน

• ตวั แปรตาม (Dependent Variable) คือ ผลท่เี กิดจากการทดลอง ซง่ึ ต้องใชว้ ธิ ี
การสังเกตหรือวัดผลดว้ ยวิธกี ารต่างๆ เพื่อเก็บขอ้ มูลไว้ และจะเปล่ียนแปลงไป
ตามตัวแปรอสิ ระ

• ตัวแปรทีต่ อ้ งควบคุม (Control Variable) คือปจั จัยอน่ื ๆ ท่นี อกเหนือจากตัวแปร
ตน้ ท่มี ีผลต่อการทดลอง และต้องควบคุมใหเ้ หมือนกนั ทุกชุดการทดลอง เพื่อป้อง
กนั ไม่ใหผ้ ลการทดลองเกดิ ความคลาดเคลื่อน
ในการตรวจสอบสมมตฐิ าน นอกจากจะควบคุมปจั จัยที่มีผลต่อการทดลองจะ

ตอ้ งแบง่ ชุดการทดลองออกเป็น 2 ชดุ ดังนี้
1. ชุดทดลอง หมายถงึ ชดุ ท่เี ราใช้ศกึ ษาผลของตัวแปรอสิ ระ
2. ชดุ ควบคมุ หมายถึง ชดุ ของการทดลองที่ใช้เปน็ มาตาฐานอ้างองิ เพื่อเปรยี บ
เทียบขอ้ มูลทไ่ี ด้จากการทดลอง ซึ่งชดุ ควบคุมน้ีจะมีตวั แปรต่างๆ เหมือนชดุ ทด
ลองแต่จะแตกต่างจากชุดทดลองเพียง 1 ตัวแปรเท่านัน้ คือตัวแปรทีเ่ ราจะตรวจ
สอบหรอื ตัวแปรอสิ ระ

ร่วม กนั คดิ 1

คำสง่ั ให้นักเรียนตอบคำถามเรือ่ งตัวแปรในการทดลอง ( 10 คะแนน )

1. การเพาะเมลด็ ถว่ั

independent variable……....................................................................
..................................................................................................................
dependent variable..............................................................................
..................................................................................................................
control variable....................................................................................
.................................................................................................................

6

2. การทดลองความแข็งแรงของไม้ไอศกรีม

independent variable……....................................................................
..................................................................................................................
dependent variable.............................................................................
..................................................................................................................
control variable....................................................................................
.................................................................................................................

3. จากสมมติฐาน “ถ้าขี้เลื่อยดูดซับกลิ่นได้ ดงั น้นั กลิ่นขีห้ มจู ะลดลง”
independent variable……....................................................................
..................................................................................................................
dependent variable..............................................................................
..................................................................................................................
control variable....................................................................................
..................................................................................................................

4. จากสมมตฐิ าน “ผลของแสงต่อการงอกรากกลว้ ยไม้”
independent variable……....................................................................
..................................................................................................................
dependent variable..............................................................................
..................................................................................................................
control variable....................................................................................
..................................................................................................................

5. การงอกของเมลด็ ข้าวในเวลาทต่ี า่ งกันขนึ้ อย่กู ับปรมิ าณของน้ำที่ไดร้ ับ
independent variable……....................................................................
..................................................................................................................
dependent variable..............................................................................
..................................................................................................................
control variable....................................................................................
.................................................................................................................

7

6. การสน่ั สะเทอื นของไม้บรรทดั จะใหเ้ สียงสงู หรือต่ำข้นึ อยู่กับแรงดดี ของคนดีด
independent variable……....................................................................
..................................................................................................................
dependent variable.............................................................................
.................................................................................................................
control variable....................................................................................
.................................................................................................................

7. อตั ราการเจริญเติบโตของไก่ข้ึนอยู่กับปรมิ าณของโปรตนี ในอาหาร
independent variable……....................................................................
.................................................................................................................
dependent variable..............................................................................
..................................................................................................................
control variable....................................................................................
.................................................................................................................

8. เม่ือใส่ผงอีโนลงไปมาก จรวดประดิษฐก์ จ็ ะพุ่งข้นึ ไปได้สูงมากเช่นกนั
independent variable……....................................................................
..................................................................................................................
dependent variable.............................................................................
.................................................................................................................
control variable....................................................................................
.................................................................................................................

9. แกละได้ทำการทดลองเพ่ือดวู ่า แสงแดดมีอทิ ธิพลต่อการเจรญิ เติบโตของรา
หรือไม่ เขาจึงทำการทดลองนำขา้ วสุกใส่ถ้วยขนาดเลก็ เท่ากัน 2 ใบ แลว้ นำไป
เก็บในกล่องกระดาษปิดให้มิดชดิ 1 ใบ วางไวก้ ลางแจง้ 1 ใบ ทงิ้ ไว้ 3 วนั จัง
สังเกตและบนั ทกึ ผลทเ่ี กิดขึ้น

independent variable……....................................................................
.................................................................................................................
dependent variable.............................................................................
..................................................................................................................
control variable....................................................................................
..................................................................................................................

8

10. แม่บ้านชะเอมต้องการทดสอบเปรยี บเทยี บ การขจดั คราบสกปรกออกจากผ้าของ
ผงซกั ฟอก ที่มีขายในท้องตลาด เพอ่ื ตดั สินในเลือก แมบ่ ้านชะเอมจะต้องจดั อะไรให้
แตกตา่ งกัน

..............................................................................................................
.............................................................................................................

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific process skills)

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถงึ ความชำนาญและความสามารถ
ในการใช้การคิดและกระบวนการคดิ เพอ่ื ค้นหาความรรู้ วมทั้งการแก้ปญั หาตา่ ง ๆ

ร่วม กนั คดิ 2 คำสั่ง ใหส้ งั เกตภาพด้านขวามอื ของแตล่ ะข้อ
ข้างล่างน้แี ลว้ เขยี นคำตอบลงในช่องว่าง

1. เสน้ ตรง กข กบั เส้นตรง คง ขนานกนั หรือไม่

เมอ่ื ใช้ไมบ้ รรทัดวดั ระยะหา่ งของเส้นตรง กข กบั เสน้ ตรง
คง ผลการวัดบอกได้วา่ เสน้ ตรงท้ัง 2 เส้นขนานกนั หรือไม่

2. จากการสงั เกตด้วยสายตา คดิ ว่าเส้นตรง กข
กบั เส้นตรง คง ยาวเท่ากันหรอื ไม่

เม่อื วดั ความยาวเสน้ ตรง กข และเสน้ ตรง คง ด้วยไมบ้ รร
ทดั ผลท่ไี ดเ้ ป็นอยา่ งไร

3. จากการสงั เกตดว้ ยสายตา คิดวา่ เส้นตรง กข กบั ข
เสน้ ตรง คง ยาวเท่ากันหรอื ไม่ กง

เมื่อวัดความยาวเสน้ ตรง กข และเส้นตรง คง ดว้ ยไม้บรรทัด ค
ผลท่ไี ดเ้ ป็นอย่างไร

9

จากกิจกรรมข้างต้นนักเรียนคิดว่าตาเช่ือถือได้
เสมอไปหรือไม่

ร่วม กนั ค้น 2

คาส่งั บอกช่ืออปุ กรณแ์ ละอำ่ นค่ำจำกอปุ กรณท์ ่ใี ชว้ ดั ปรมิ ำณต่ำง ๆ ได้

1 ใหน้ กั เรียนเติมคำลงในชอ่ งว่ำงใหส้ มั พนั ธก์ บั ปรมิ ำณท่กี ำหนดให้

ปริมาณทว่ี ัด อุปกรณท์ ใี่ ช้วัดปริมาณ หน่วยท่ใี ช้วัดปริมาณ

มวล

ควำมยำว

เวลำ

ปรมิ ำตร

อณุ หภมู ิ

พนื้ ท่ี

2. ใหน้ กั เรียนเขียนตวั เลขแสดงค่ำท่ีอ่ำนไดล้ งในช่องว่ำงดำ้ นขวำมอื

1)

2)

3)

4) 5)

10

3. ถา้ ต้องการศึกษาสง่ิ ต่อไปน้ี ควรใชอ้ ปุ กรณ์ชนิดใดจึงจะเหมาะสมทส่ี ดุ
1) แบคทีเรยี ในนมเปรยี้ ว ………………………….…………………………………….………
2) พฤติกรรมของกวางในทงุ่ หญ้า……….…………………..………………………………..
3) สว่ นประกอบของเมล็ดถัว่ เขียว……………………………………..………………………
4) ดาวบริวารของดาวเสาร์.......…………………………………………………………………

4. เคร่อื งมือแพทยท์ ี่ใช้ฟังเสียงการทำงานของอวยั วะบางอย่างภายในร่าง
กายของคนไข้เพอ่ื เกบ็ ข้อมลู ประกอบการวินจิ ฉัยโรค คือ
………..…………………………………………………………………………….……………………………

5. คนท่ไี ดย้ ินเสยี งในระยะใกล้ เม่ือเทียบกบั คนหูปกติ เรียกวา่ .......................................
เกดิ จาก…………………………………………ควรแกไ้ ขโดยใช้…………………..….…..…….……..
เพื่อให้สามารถให้ได้ยินเสยี งเหมอื นคนปกติ

6. เมอ่ื ใช้มอื หยบิ กอ้ นน้ำแขง็ จะรู้สึกเย็นเปน็ เพราะ.........................................................
………..………………………………………………………………………………..…………………………

7. เทอร์โมมเิ ตอร์สรา้ งโดยอาศัยหลักการใด.....................................................................
………..……………………………………………………….......................................…………………

8. เพราะเหตุใดจงึ ห้ามใชน้ ำ้ เดือดทำความสะอาดเทอรโ์ มมิเตอรว์ ัดไข้
………..………………………………………………………………………………..………………………..
…………………………………………………………………………………………………....………………

9. ทำไมจึงไมใ่ ช้เทอร์โมมิเตอรใ์ นห้องทดลองวัดอุณหภูมขิ องรา่ งกาย
………..………………………………………………………………………………..………………………..
………..………………………………………………………………………………..………………………..
…………………………………………………………………………………………………....………………

10. เพราะเหตุใดจึงต้องสลัดเทอรโ์ มมิเตอรใ์ ห้ปรอททั้งหมดลงไปอยใู่ นกระ
เปาะเสียก่อน แล้วจึงค่อยใชแ้ อลกอฮอล์เชด็
………..………………………………………………………………………………..………………………..
………..………………………………………………………………………………..………………………..
…………………………………………………………………………………………………....………………

จติ วิทยาศาสตร์ (Scientific mind)

จิตวิทยาศาสตร์ หมายถึง คุณลักษณะหรือลักษณะนิสัยของบุคคลท่ีเกิดข้ึน
จากการศึกษาหาความรู้โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จิตวิทยาศาสตร์
ประกอบดว้ ยคุณลักษณะตา่ ง ๆ ได้แก่ ความสนใจใฝ่รู้ ความมุง่ มน่ั อดทน รอบคอบ
ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ ประหยัด การร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟัง
ความคดิ เห็นของผู้อ่ืน ความมเี หตผุ ล การทำงานรว่ มกบั ผู้อน่ื ไดอ้ ย่างสร้างสรรค์

11

คดิ แบบนักวทิ ย์

ขน้ั นำปัญญำพฒั นำควำมคิด กิจกรรม ฝึ กทา : ฝึ กสรา้ ง

กจิ กรรม น้ำสเี คลอื่ นท่ีอย่างไร

จดุ ประสงค์ : สังเกตการณท์ ดลองการเคล่ือนทีข่ องนำ้ สี และวิเคราะห์การใช้ ทักษะกระบวนการทาง

วิทยาศาสตรใ์ นการทดลอง

อุปกรณ์

1) น้ำเยน็ และน้ำร้อน อณุ หภมู ิประมาณ 15C และ 60C ระวงั นำ้ ร้อนลวก
2) สผี สมอาหารสีแดงและสีเขียว หรือสที ี่แตกต่างกนั 2 สี มอื นะคะ
3) แก้วนำ้

4) กระดาษแข็งขนาดพอดปี ากแกว้ น้ำ

5) ถาด

วิธีการทดลอง

1) เติมน้ำเย็นและน้ำรอ้ นในแกว้ อยา่ งละใบจนเตม็ แกว้ โดยหยอดสผี สมอาหารสีแดงลงในแกว้ น้ำรอ้ น

และสีเขียวลงในแก้วนำ้ เยน็

2) วางแกว้ นำ้ เยน็ ลงบนถาดใชก้ ระดาษแข็งปิดปากแก้วนำ้ ร้อนแลว้ คว่ำแลว้ น้ำร้อนลงบนแกว้ นำ้ เยน็ โดย

จดั วางปากแกว้ ท้ังสองให้ประกบกนั พอดีและให้แกว้ นำ้ รอ้ นอย่ดู า้ นบน

3) พยากรณส์ ิ่งทีเ่ กิดข้นึ เม่ือดงึ กระดาษท่ีปดิ ปากแก้วออก บนั ทึกสง่ิ ท่ีพยากรณ์
4) ดงึ กระดาษท่ีปิดปากแกว้ ออก สังเกตสิ่งทเ่ี กดิ ข้ึนโดยไม่เพ่ิมความเห็นส่วนตวั ลงไปบันทกึ ผลและ

อภิปรายผลการทดลองรว่ มกันในกลุ่มว่าเกิดผลเช่นนนั้ ได้อย่างไร
5) ทำซำ้ ขอ้ 1-3 แต่สลับตำแหน่งแก้วโดยนำแล้วน้ำร้อนไว้บนถาดแล้วนำกระดาษปดิ ปากแก้วน้ำเยน็

ประกบลงบนแก้วนำ้ รอ้ นพยากรณผ์ ลที่เกิดขึ้นพร้อมอธิบายว่าเหตุใดจึงพยากรณเ์ ชน่ น้ัน บันทึกผล

12

6) ดงึ กระดาษท่ีปิดปากแก้วออกสงั เกตส่ิงท่เี กิดข้ึนโดยไม่เพ่ิมความเห็นสว่ นตวั
ลงไปและบันทกึ ผล

7) อภิปรายผลการทดลองรว่ มกนั ในกลุ่มวา่ เกิดผลเช่นนนั้ ได้อยา่ งไร จากนน้ั ร่วมกันนำเสนอแนวคดิ
ดังกลา่ วโดยสร้างเปน็ แผนผงั รูปภาพ ขอ้ ความหรอื อน่ื ๆเพ่ือให้ผูอ้ ่นื เข้าใจแนวคิดนนั้

บนั ทึกผลการทดลอง

คำถามทา้ ยการทดลอง
นกั เรยี นไดฝ้ ึกทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ใดบ้าง ในการทำกจิ กรรมแตล่ ะขน้ั ตอน

สรปุ ผลการทดลอง

13

กจิ กรรม คิดดี ผลงำนดี มีควำมสขุ

ขน้ั นำปัญญำพฒั นำตนเอง

กิจกรรม จรวดกระดาษของใครบนิ ไดน้ านทส่ี ดุ
จุดประสงค์ : ทำกจิ กรรมรอ่ นจรวดและวิเคราะหก์ ารใชท้ ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการทำ

กิจกรรม
อปุ กรณ์

กระดาษ

วิธีการทดลอง
1) ใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มสืบคน้ และอภปิ รายว่าจรวดกระดาษลักษณะแบบใดท่ีน่าจะรอ่ นอยู่ในอากาศให้
นานทีส่ ุด
2) เลือกพบั จรวดกระดาษตามวิธที ีไ่ ดจ้ ากการอภปิ ราย โดยใช้กระดาษ 1 แผ่นในการพบั จรวด 1 ชิน้ และ
ไม่ใชว้ ัสดอุ นื่ ใดประกอบ
3) แข่งขนั การรอ่ นจรวด โดยรว่ มกนั ตกลงกติกาการแขง่ ขัน และวิธกี ารสังเกตวา่ จรวดใดอยใู่ นอากาศได้
นานทส่ี ดุ จากนั้นแข่งขันร่อนจรวด 3 ครั้ง บันทึกเวลาทีจ่ รวดอยูใ่ นอากาศท้งั 3 คร้ังและหาค่าเฉลีย่
4) จัดกล่มุ จรวดกระดาษ ตามเวลาเฉล่ยี ทีร่ ่อนอยใู่ นอากาศและจัดแสดงผลงานจรวดรวมทั้งเวลาเฉลี่ยที่
จรวดแตล่ ะชน้ิ ใชใ้ นเวลาเคลือ่ นที่ใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย
5) รว่ มกนั อภปิ รายและลงข้อสรุป เกย่ี วกับลักษณะร่วมกันของจรวดกระดาษที่สามารถร่อนอยูใ่ นอากาศ
ไดน้ านท่ีสุด

คำถามท้ายการทดลอง
นักเรยี นไดฝ้ ึกทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ใดบ้าง ในการทำกจิ กรรมแต่ละขั้นตอน
การพยากรณ์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
การหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสเปซกบั สเปซ …………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
การสงั เกต …………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
การลงความเห็นจากข้อมูล ………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
การจัดกระทำและส่ือความหมายข้อมูล …………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

14

สรุปผลการทดลอง

วิทยาศาสตร์ มคี ำตอบ รอบรู้ได้

วทิ ยาศาสตร์ ทดลองให้ เราเห็นผล
วทิ ยาศาสตร์ คอื ความจรงิ ทุกสง่ิ ตน
วทิ ยาศาสตร์ ความรลู้ ้น เหลอื ประมาณ

ฟสิ กิ ส์ คือเรอ่ื งราว ธรรมชาติ

กลศาสตร์ ปราชญ์เชดิ ชู ปพู ื้นฐาน
คลนื่ เสยี ง แสง ไฟฟา้ วชิ าการ

ลว้ นเบิกบาน ขานตอบโจทย์ โดยฉับไว

เคมี นที้ ดลอง พรอ้ มจดั หมู่

สารเคมี นา่ รู้ ดสู งสัย
ศึกษาธาตุ สารประกอบ แสนชอบใจ
ปฏกิ ริ ิยา หลากหลายไซร้ ได้อัศจรรย์

ชวี วทิ ยา คือชีวติ

คอื รอบตัว อนั ใกล้ชดิ คอื เพอื่ นฉัน
เรียนรเู้ ซลล์ โครงสร้าง นบั อนนั ต์
เปน็ สีสนั เปน็ ความสุข ทุกเวลา

15

แบบประเมินตนเองหลงั เรียน

คำช้แี จง : ใหน้ ักเรยี นเลือกคำตอบท่ีถกู ต้องทีส่ ดุ เพยี งคำตอบเดียว ใชเ้ วลา 10 นาที

1. ขอ้ ความในข้อใดที่ไม่ได้เกดิ จากการสงั เกต
ก. วนั นีอ้ ากาศร้อนอบอา้ ว
ข. โตะ๊ ตัวนส้ี งู 150 เซนติเมตร
ค. นำ้ ยาขวดนมี้ ีกล่นิ ฉุน
ง. ผ้าผนื นีม้ นั วาวกว่าผ้าผืนน้นั

2. ขอ้ ใดเป็นข้ันตอนแรกของกระบวนการศกึ ษาทางวิทยาศาสตร์
ก. การสงั เกตเพอ่ื ระบุปัญหา
ข. การหาข้อมูลเพ่ือรวบรวมข้อมูล
ค. การนำเสนอข้อมูลให้ผ้อู ่ืนเข้าใจ
ง. การคาดคะเนคำตอบของปัญหา

3. ถ้านักเรยี นต้องการทำการวดั ปริมาตรของน้ำดื่มขวดหนึ่ง ควรเลือกใช้เครื่องมือวัดใด เพ่ือใหไ้ ด้คา่ ที่

ถูกต้องมากทส่ี ดุ

ก. ขวดนำ้ ดืม่ ข. เครอื่ งชั่งแบบดิจิตอล

ค. ถังนำ้ ง. กระบอกตวง

4. สิง่ ของทเ่ี หน็ ในภาพ คอื ขอ้ ใด
ก. ราวตากผา้
ข. รองเทา้
ค. ดา้ ย
ง. เชือกฟาง

5. ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ ดทีต่ ้องใชป้ ระสาทสมั ผัสทง้ั 5
ก. ทกั ษะการวดั
ข. ทักษะการสงั เกต
ค. ทกั ษะการจำแนก
ง. ทกั ษะการคำนวณ

6. ทกุ ข้อเป็นลักษณะของการเขียนรายงานการทดลองท่ีดี ยกเว้นข้อใด
ก. มสี ว่ นประกอบครบถ้วน
ข. ใช้ภาษาในการเขียนทีเ่ ข้าใจง่าย
ค. จดั ระบบข้อมลู ท่ีได้จากการสำรวจ
ง. มขี อ้ มลู ทเี่ กยี่ วข้องเพิม่ เติมมากๆ

16

7. สมมตฐิ านคอื อะไร
ก. การระบุคำถามซึง่ เกิดข้นึ จากการสังเกต
ข. การวางแผนการทำงาน
ค. การคาดคะเนคำตอบของคำถาม หรอื สง่ิ ที่สงสยั
ง. การตอบคำถามก่อนทำการทดลอง

8. ขอ้ ใดเปน็ ลำดบั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

ก. ระบุปญั หา รวบรวมขอ้ มูล ต้งั สมมติฐาน ทดลอง สรุปผล

ข. ระบุปญั หา ตั้งสมมตฐิ าน ทดลอง รวบรวมข้อมูล สรุปผล

ค. ตง้ั สมมตฐิ าน สังเกต ระบปุ ญั หา ทดลอง สรุปผล

ง. สงั เกต ระบปุ ญั หา รวบรวมข้อมลู ตง้ั สมมตฐิ าน ทดลอง

9. ขอ้ ใดเปน็ เครื่องมือในการวัดที่เป็นมาตรฐาน

ก. กระบอกตวง ตาช่งั สองแขน แท่งไม้

ข. ฝา่ มือ น้ิว เทอรโ์ มมเิ ตอร์

ค. ไม้บรรทดั ตาช่งั สปริง กระบอกตวง

ง. เทอรโ์ มมิเตอร์ ไม้เมตร ขวดนำ้

10. ข้อใดเปน็ ประโยชนข์ องกระบวนการศึกษาทางวทิ ยาศาสตร์
ก. เกดิ การคิดอย่างเปน็ เหตเุ ป็นผล
ข. เกิดการแกป้ ัญหาเพื่อหาคำตอบของส่ิงทส่ี งสยั อย่างเปน็ ระบบ
ค. ข้อมูลที่ได้รับมีความนา่ เชื่อถือ และเผยแพรแ่ กผ่ ู้อื่นได้
ง. ถูกทุกข้อ

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

17

เอกสารอา้ งอิง
ศรีลักษณ์ ผลวฒั นะ และ คณะ . (2551). ส่ือการเรยี นรูแ้ ละเสริมสรา้ งทักษะตามมาตรฐานและ

ตัวชวี้ ัดช้นั ปกี ลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ เล่ม 1. กรุงเทพฯ.นิยมวทิ ยา.
สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ,สถาบนั . คู่มอื ครู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ 1 ช้นั

มธั ยมศึกษาปีที่ 1 เลม่ 1. (2553). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพค์ ุรสุ ภาลาดพรา้ ว.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี , (2553). สถาบัน.หนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ 1 ชน้ั

มัธยมศึกษา ปีท่ี 1 เล่ม 1 .กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พค์ ุรุสภาลาดพร้าว.
ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี , (2561). สถาบัน.หนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ เล่ม1 ชั้น

มัธยมศึกษา ปที ่ี 1 เล่ม 1 .กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ครุ ุสภาลาดพรา้ ว.

18


Click to View FlipBook Version