The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรและแผนรายวิชาเคมี5_66

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2023-10-13 00:30:38

หลักสูตรและแผนรายวิชาเคมี5_66

หลักสูตรและแผนรายวิชาเคมี5_66

หลักสูตรรายวิชา (Course Development) รหัสวิชา ว30225 รายวิชา เคมี 5 จำนวน 1.5 หน่วยกิต 3 คาบ/ สัปดาห์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จัดทำโดย นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ ตำแหน่ง ครูวิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


ก คำนำ หลักสูตรรายวิชาฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อเตรียมการในการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมี 5 รหัสวิชา ว 30225 โดยครูผู้สอนได้ทำการศึกษาและวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ และจัดทำคำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา กำหนดเวลาเรียน น้ำหนักคะแนน กำหนด ทักษะกระบวนการในการเรียนการสอนตลอดจนการวัดและประเมินผลการเรียนการสอนของครู ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้และยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผู้เรียนโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ต่อไป นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ ชื่อผู้จัดทำ


ข สารบัญ หน้า คำนำ ก สารบัญ ข 1. หลักการและจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 1 หลักการ 1 จุดหมาย 1 2. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 2 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 2 4. วิสัยทัศน์ของโรงเรียน 3 พันธกิจ 3 เป้าประสงค์ 3 5. การกำหนดโครงการสอน 4 คำอธิบายรายวิชา (ดูรายละเอียดจากหลักสูตร) 4 สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด (แกนกลาง) 4 มาตรฐานการเรียนรู้ (ดูรายละเอียดจากหลักสูตร) 4 ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ (ดูรายละเอียดจากหลักสูตร) 4 6. ตารางโครงสร้างรายวิชา 5 7. การกำหนดโครงการสอนและกิจกรรมตลอดภาคเรียน 5 8. แผนการวัดผลและภาระงาน 6 แนวการวัดผล 6 แผนการวัดผล 6 การกำหนดภาระงานนักเรียน 7


1 1. หลักการและจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความ สมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อ การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ หลักการ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สำคัญ ดังนี้ 1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็น เป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทย ควบคู่กับความเป็นสากล 2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี คุณภาพ 3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้สอดคล้อง กับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น 4. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัด การเรียนรู้ 5. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ จุดหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาขั้น พื้นฐาน ดังนี้ 1. มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิต สาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข


2 2. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา ความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้ วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อ การตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการดำเนิน ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ สร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบ ต่อตนเองและผู้อื่น 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การ แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถ อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ


3 4. วิสัยทัศน์ของโรงเรียน วิสัยทัศน์ โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียน บนพื้นฐานความหลากหลาย สู่เป้าหมายการเป็น องค์กรนวัตกรรม พันธกิจ 1) จัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ดำรงชีวิตตามนวัตกรรมตามความถนัด มีทักษะ อาชีพและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ตามหลักสัปปายนวัตวิถี 2) พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ มีสมรรถนะด้านภาษา การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และมีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ 3) การบริหารจัดการสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนใน การพัฒนาการศึกษา 4) จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ และการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ให้สถานศึกษาเป็นพื้นที่ปลอดภัย เพื่อ มุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป้าประสงค์ 1) ผู้เรียนมีความรักในสถาบันหลักของสังคม และสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความเป็นพลเมืองดีของชาติและพลโลกที่ดี 2) ผู้เรียนที่มีทักษะชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง มีภูมิคุ้มกันต่อสถานการณ์ความมั่นคง และภัยพิบัติ ใหม่ 3) ผู้เรียนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพตามแนวทางพหุปัญญา เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คิด ริเริ่มสร้างสรรค์ เป็นนักนวัตกร มีสมรรถนะและทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 นำไปสู่การสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน


4 5. การกำหนดโครงการสอน/คำอธิบายรายวิชา โครงการสอนรายวิชา รหัสวิชา ว 30225 รายวิชา เคมี5 จำนวน 1.5 หน่วยกิต 3 คาบ/ สัปดาห์ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด (แกนกลาง) - คำอธิบายรายวิชา (ดูรายละเอียดจากหลักสูตร) ศึกษาการแก้ปัญหาในสถานการณ์ หรือประเด็นที่สนใจทำได้โดยการบูรณาการความรู้ ทางเคมีร่วมกับ วิทยาศาสตร์แขนงอื่น รวมทั้งคณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยเน้นการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและ การอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็น เครื่องมือประกอบการนำเสนอที่มีประสิทธิภาพ และนำความรู้ที่ได้จากการพัฒนากระบวนการคิด เข้าร่วมประชุม วิชาการ หรือการแสดงผลงานอย่างสร้างสรรค์ มาตรฐานการเรียนรู้ (ดูรายละเอียดจากหลักสูตร) สาระเคมี 3 : เข้าใจหลักการทำปฏิบัติการเคมี การวัดปริมาณสาร หน่วยวัดและการเปลี่ยนหน่วย การคำนวณ ปริมาณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทั้งการบูรณาการ ความรู้และทักษะในการอธิบายปรากฏการณ์ ในชีวิตประจำวันและการแก้ปัญหา ทางเคมี ผลการเรียนรู้ 1. กำหนดปัญหา และนำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้ทางเคมีจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นใน ชีวิตประจำวัน การประกอบอาชีพ หรืออุตสาหกรรม 2. แสดงหลักฐานถึงการบูรณาการความรู้ทางเคมีร่วมกับสาขาวิชาอื่น รวมทั้งทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์หรือกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยเน้นการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาและความคิด สร้างสรรค์ เพื่อแก้ปัญหาในสถานการณ์หรือประเด็นที่สนใจ 3. นำเสนอผลงานหรือชิ้นงานที่ได้จากการแก้ปัญหาในสถานการณ์หรือประเด็นที่สนใจโดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 4. แสดงหลักฐานการเข้าร่วมการสัมมนา การเข้าร่วมประชุมวิชาการ หรือการแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์ใน งานนิทรรศการ รวมทั้งหมด 4 ผลการเรียนรู้


5 6. ตารางโครงสร้างรายวิชา ลำดับ ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ตัวชี้วัด หรือ ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมิน เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 1 การใช้ความรู้ทางเคมี ในการแก้ปัญหา 1 1. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2. สืบค้นข้อมูล/อภิปรายกลุ่ม 10 5 10 2 การบูรณาการความรู้ ในการแก้ปัญหา 2 1. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2. สืบค้นข้อมูล/อภิปรายกลุ่ม 20 10 20 สอบกลางภาค 1 20 3 การนำเสนอผลงาน 3 1. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2. รายงาน 3. สืบค้นข้อมูล/อภิปรายกลุ่ม 3 5 3 20 4 การเข้าร่วมประชุม วิชาการ 4 1. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2. รายงาน 1 2 10 สอบปลายภาค 1 20 รวม 60 100 อัตราส่วนคะแนน คะแนนเก็บระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20 K : P : A = 40 : 60 : ….. รวม 100 คะแนน คะแนนเก็บก่อนสอบกลางภาค = 30 คะแนน สอบกลางภาค = 20 คะแนน คะแนนเก็บก่อนสอบปลายภาค = 30 คะแนน คุณลักษณะ / จิตพิสัย = - คะแนน สอบปลายภาค = 20 คะแนน รวม 100 คะแนน 7. การกำหนดโครงการสอนและกิจกรรมตลอดภาคเรียน สัปดาห์/ แผนการ เรียนรู้ที่ หน่วยการเรียนรู้/ เนื้อหา ผลการเรียนรู้ กิจกรรม / กระบวนการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) 1 การใช้ความรู้ทางเคมีใน การแก้ปัญหา 1 รูปแบบการเรียนรู้แบบโยนิโส มนสิการตามขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้นพัฒนาปัญญา 2. ขั้นนำปัญญาพัฒนาความคิด 15


6 3. ขั้นนำปัญญาพัฒนาตนเอง 2-3 การบูรณาการความรู้ใน การแก้ปัญหา 2 รูปแบบการเรียนรู้แบบโยนิโส มนสิการตามขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้นพัฒนาปัญญา 2. ขั้นนำปัญญาพัฒนาความคิด 3. ขั้นนำปัญญาพัฒนาตนเอง 30 4 การนำเสนอผลงาน 3 รูปแบบการเรียนรู้แบบโยนิโส มนสิการตามขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้นพัฒนาปัญญา 2. ขั้นนำปัญญาพัฒนาความคิด 3. ขั้นนำปัญญาพัฒนาตนเอง 12 5 การเข้าร่วมประชุม วิชาการ 4 รูปแบบการเรียนรู้แบบโยนิโส มนสิการตามขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้นพัฒนาปัญญา 2. ขั้นนำปัญญาพัฒนาความคิด 3. ขั้นนำปัญญาพัฒนาตนเอง 3 8. แผนการวัดผลและภาระงาน แนวการวัดผล อัตราส่วน คะแนนระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค = ...80.... : ....20..... อัตราส่วน คะแนน K : P : A = ....40... : ...60... : ............ แผนการวัดผล การประเมิน คะแนน วิธีวัด ชนิดของเครื่องมือ ตัวชี้วัด/ผลการ เรียนรู้ข้อที่ เวลาที่ใช้ (นาที/ครั้ง) ก่อนกลางภาค 40 1.สืบค้นข้อมูล 2.อภิปรายกลุ่ม ชุดกิจกรรม วิทยาศาสตร์ 1-2 50 นาที/ครั้ง กลางภาค 20 สอบ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ 1-2 60 นาที/ครั้ง หลังกลางภาค 20 1.สืบค้นข้อมูล 2.อภิปรายกลุ่ม ชุดกิจกรรม วิทยาศาสตร์ 3-4 50 นาที/ครั้ง คุณลักษณะ / จิตพิสัย - - - - ตลอด ภาคเรียน ปลายภาค 20 สอบ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ 3-4 60 นาที/ครั้ง รวม 100 คะแนน


7 การกำหนดภาระงานนักเรียน ในการเรียนรายวิชา.เคมี..4..ได้กำหนดให้นักเรียนทำกิจกรรม/ ปฏิบัติงาน (ชิ้นงาน)….17....ชิ้น ดังนี้ ที่ ชื่องาน ตัวชี้วัด/ผลการ เรียนรู้ข้อที่ ประเภทงาน กำหนดส่ง กลุ่ม เดี่ยว วัน/เดือน/ปี 1 รายงานผลการทดลอง เรื่อง การแก้ปัญหาด้วย วิธีการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้ความรู้ทางเคมี 1 ธ.ค 66 2 รายงานผลการทดลอง เรื่อง สายไฟแป้งโดว์ 2 ม.ค 67 3 รายงานผลการทดลอง เรื่อง การแก้ปัญหาโดยการ บูรณาการความรู้ 2 ม.ค 67 4 นำเสนอรูปแบบการเขียนบรรณานุกรม 3 ม.ค 67 5 สืบค้นข้อมูลวิธีการเขียนอ้างอิงแบบแทรกในเนื้อหา 3 ก.พ 67 6 รายงาน การจัดทำ และนำ เสนอข้อมูลในโปสเตอร์ 3 ก.พ 67 7 รายงานกิจกรรม สืบค้นข้อมูลงานประชุมวิชาการ 4 ก.พ 67 8 รายงานกิจกรรม การเข้าร่วมและการสรุปรายงาน การเข้าประชุมวิชาการที่นักเรียนสนใจ 4 ก.พ 67 หากนักเรียนขาดส่งงาน 4 ชิ้น จะได้รับผลการเรียน “ร” ในรายวิชานี้ ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ ( นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์) (นางกณิการ์พัฒรากุล) ลงชื่อ........................................... ลงชื่อ........................................... (นางสาวพรศรี เจริญวัย) (นายไวยวุฒิ ธนบัตร) หัวหน้างานนิเทศ รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงชื่อ.......................................................... (นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม


แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ว30225 รายวิชา เคมี 5 จำนวน 1.5 หน่วยกิต 3 คาบ/ สัปดาห์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จัดทำโดย นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ ตำแหน่ง ครูวิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


ก คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนรายวิชา รายวิชาเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ว30225 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ที่เน้น นักเรียนเป็นสำคัญ มีการจัดกิจกรรมและการวัดผลประเมินผลที่หลากหลายสอดคล้องกับสาระและ มาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ จำนวน 4 หน่วย คือ หน่วยที่ 1 การใช้ความรู้ทางเคมีในการแก้ปัญหา หน่วยที่ 2 การบูรณาการความรู้ในการ แก้ปัญหา หน่วยที่ 3 การนำเสนอผลงาน และ หน่วยที่ 4 การเข้าร่วมประชุมวิชาการ แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งเป็น รายบุคคลและรายกลุ่ม เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วย ตนเอง ส่งเสริมให้นักเรียนเชื่อมโยงความรู้ทั้งในและต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ในเชิงบูรณาการด้วย วิธีการที่หลากหลาย สร้างสถานการณ์การเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน โดยครูมีบทบาทหน้าที่ใน การเอื้ออำนวยความสะดวกให้แก่นักเรียน เพื่อให้นักเรียนมีคุณภาพตามสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด รวมทั้งพัฒนานักเรียนให้มีสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่หลักสูตร กำหนด เพื่อให้นักเรียนสามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมไทยและสังคมโลกได้อย่างมีความสุข การปฏิบัติงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณภาพ และสถานศึกษามี คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาอย่างแท้จริง หวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการนำไปประยุกต์ใช้ใน การจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของนักเรียนต่อไป .................................................. (นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์)


ข สารบัญ หน้า คำนำ ก สารบัญ ข หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การใช้ความรู้ทางเคมีในการแก้ปัญหา 1 - 6 แผนการเรียนรู้ที่1 การใช้ความรู้ทางเคมีในการแก้ปัญหา 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหา 8 - 22 แผนการเรียนรู้ที่2 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม 8 แผนการเรียนรู้ที่3 การบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหา 16 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การนำเสนอผลงาน 23- 29 แผนการเรียนรู้ที่4 การนำเสนอผลงาน 23 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเข้าร่วมประชุมวิชาการ 30- 36 แผนการเรียนรู้ที่5 การเข้าร่วมประชุมวิชาการ 30 เครื่องมือวัดและ ประเมินผล 37 - 47


1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่….1…..การใช้ความรู้ทางเคมีในการแก้ปัญหา…….เรื่อง..…..การใช้ความรู้ทางเคมีในการแก้ปัญหา…... รายวิชา……..............เคมี…5....................รหัสวิชา…..............ว 30225..........................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่…....6............ กลุ่มสาระการเรียนรู้……..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี…… ปีการศึกษา… 2566...ภาคเรียนที่…2...เวลา...10..ชั่วโมง…… ผู้สอน......................................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์......................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้(รายวิชาพื้นฐานมีทั้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด รายวิชาเพิ่ม เติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้) 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระเคมี 3 : เข้าใจหลักการทำปฏิบัติการเคมี การวัดปริมาณสาร หน่วยวัดและการเปลี่ยนหน่วย การคำ นวณปริมาณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทั้งการบูรณาการ ความรู้และทักษะในการอธิบายปรากฏการณ์ ในชีวิตประจำวันและการแก้ปัญหา ทางเคมี 1.2 ผลการเรียนรู้ 1. กำหนดปัญหา และนำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้ทางเคมีจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิต ประจำวัน การประกอบอาชีพ หรืออุตสาหกรรม 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากผลการเรียนรู้ที่ใช้ในหน่วยการเรียนรู้นี้เขียนเป็นแบบความเรียง) ความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาวิชาเคมี สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นใน ชีวิตประจำวันการประกอบอาชีพหรืออุตสาหกรรม โดยใช้ความรู้ทางเคมีและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ได้ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม (รายวิชาเพิ่มเติม) สถานการณ์บางสถานการณ์ในชีวิตประจำวันการประกอบอาชีพ หรืออุตสาหกรรม สามารถนำความรู้ทางเคมีไป ใช้ประโยชน์หรือแก้ปัญหาได้ 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพูดถึงหลักสูตรท้องถิ่นให้ใส่ลงไปด้วย ...............................................................-........................................................................................... 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ระบุปัญหาที่เกี่ยวข้องกับความรู้ทางเคมีจากสถานการณ์ที่กำหนด (K) 2. ออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้ทางเคมีและวิธีการทางวิทยาศาสตร์(P) 3. ตั้งใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี


2 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์(เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 7. ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล 1. เป็นเลิศวิชาการ 2. สื่อสารสองภาษา 3. ล้ำหน้าทางความคิด 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ 5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก 8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L R1 –Reading (อ่านออก) R2-(W) Ringting (เขียนได้) R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning) ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) 9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน 2. หลักความมีเหตุผล : ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ, เลือกใช้สารเคมีได้อย่างคุ้มค่า 3. หลักภูมิคุ้มกัน : ให้นักเรียนเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก 4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วค่อยลงมือทำอย่างระมัดระวัง , เขียนสมการการ เปลี่ยนแปลงจากการทดลอง 5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยันที่จะทำงานให้ออกมาได้ดีที่สุด , มีวินัยในการทำการ ทดลอง 10. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ภาระงาน 1 - รายงานผลการทดลอง เรื่อง การ แก้ปัญหาด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ความรู้ทางเคมี - การอภิปรายผลการทดลองการ แก้ปัญหาด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์โดย ใช้ความรู้ทางเคมี 11. การวัดประเมินผล 11.1การวัดและประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด


3 วิธีการ 1.การสังเกตการณ์ 2.การใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ เครื่องมือ 1. แบบสังเกตการณ์ 2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบัติ เกณฑ์ 1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) 2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการถือว่า ไม่ผ่าน 11.2 การวัดและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรู้ของ หน่วยการเรียนรู้นี้) สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน 1. ความรู้เกี่ยวกับ - วิธีการทางวิทยาศาสตร์ -การสอบถาม ซักถาม ความคิดเห็น -การตอบคำถาม -การตรวจผลงาน นักเรียน - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมินการ ตรวจผลงานนักเรียน - นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน ประเมินผลงาน 13 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 2.ทักษะกระบวนการคิด และ ทักษะกระบวนการกลุ่ม - การอภิปรายแสดง ความคิดเห็น - สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมิน พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม -นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อย ละ 80 ถือว่าผ่าน เกณฑ์


4 3. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และสมรรถนะผู้เรียน - มีวินัยในการทำงานกลุ่ม - นักเรียนเห็นความสำคัญของ การทำงานร่วมกับผู้อื่นและการ ทำงานในระบบกลุ่ม - ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกัน และกันมีความเสียสละและ อดทน - นักเรียนมีการเห็นคุณค่าใน ตนเอง (Self-esteem) - สังเกตค่านิยมในการ ทำงานร่วมกับผู้อื่นและ การทำงานในระบบ กลุ่ม อภิปราย แสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับผลการ ทดลอง - แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - แบบประเมิน สมรรถนะผู้เรียน -แบบทดสอบ Rubin’s Self Esteem Scale - นักเรียนได้คะแนน ประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 26 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน การประเมินสมรรถนะ 29 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 12. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1-3 1. ขั้นตั้งประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation) 1.1 ครูแสดงรูปสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว เช่น อาหาร ยานพาหนะ ยา อุปกรณ์ไฟฟ้า และชี้ให้เห็นว่า การคิดค้น ประดิษฐ์ หรือปรับปรุงสิ่งต่าง ๆ เหล่านั้น เกี่ยวข้องกับการใช้ความรู้ในวิชาเคมีทั้งสิ้น 1.2 ครูให้นักเรียนพิจารณารูป “ตำราฝนหลวงพระราชทาน” แล้วใช้คำถามนำว่า การทำฝนหลวงใช้ ความรู้วิชาเคมีเรื่องใด เพื่อนำเข้าสู่การอธิบายการทำฝนหลวง 1.3 นักเรียนศึกษาขั้นตอนการทำฝนหลวง ตามรายละเอียดในชุดกิจกรรม จากนั้นร่วมกันอภิ ปรายโดยเน้นประเด็นการใช้ความรู้ทางเคมีที่เกี่ยวข้องในขั้นก่อกวนขั้นเลี้ยงให้อ้วน และขั้นโจมตีตามลำดับ ชั่วโมงที่ 4-8 2. ขั้นสืบค้นความรู้(Searching for Information) 2.1 แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4- 5 คน แต่ละกลุ่มมีนักเรียนเก่ง ปานกลาง อ่อน คละกัน ให้ นักเรียนทบทวนความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนในวิธีการทางวิทยาศาสตร์ตามรายละเอียดในชุดกิจกรรมโดยใช้สื่อเพาว์เวอร์ พอยด์ที่ครูสร้างขึ้น ประกอบการอธิบาย โดยเน้นการอธิบายเกี่ยวกับการตั้งสมมติฐาน รวมทั้งทบทวนความหมายของ ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ต้องควบคุมให้คงที่ 2.2 ครูให้ความรู้ว่า การระบุปัญหาหรือกำหนดโจทย์วิจัยของนักวิทยาศาสตร์ต้องอาศัยข้อมูล จากการสังเกต จากนั้นยกตัวอย่างการระบุปัญหาจากกรณีการทำฝนหลวงซึ่งเป็นปัญหาที่มีตัวแปร ที่เกี่ยวข้องหลายตัวแปร แล้วอธิบายให้เห็นความสำคัญของการตั้งคำถามและสมมติฐานย่อยเพื่อนำไปสู่การกำหนดตัว แปรในการทดลอง โดยให้นักเรียนพิจารณาข้อมูลในตารางที่ 1 ตัวอย่างคำถามและสมมติฐานจากกรณีการทำฝนหลวง


5 2.3 ครูชี้ให้เห็นว่า ตัวอย่างคำถามในตาราง 1 เป็นคำถามที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรต้นซึ่งมีผลต่อตัวแปรตาม ร่วมกันคือ การรวมตัวของเมฆที่เกิดเป็นฝนได้ และคำถามเหล่านี้ช่วยกำหนดขอบเขตของการทดลองที่จะใช้ตอบคำถาม หรือพิสูจน์สมมติฐานได้ชัดเจนขึ้น 2.4 ครูให้นักเรียนพิจารณาสถานการณ์ตัวอย่างซึ่งเป็นปัญหาเกี่ยวกับกลิ่นฉุนแอมโมเนียของปาท่องโก๋ จากนั้นให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างการระบุปัญหา การตั้งคำถามและสมมติฐาน รวมทั้งการ ออกแบบการทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน ตามรายละเอียดในชุดกิจกรรม และให้นักเรียนตอบคำถามตรวจสอบ ความเข้าใจ 2.5 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับแนวทางการแก้ปัญหากลิ่นและความกรอบของ ปาท่องโก๋ เพื่อให้ได้ข้อสรุปตามรายละเอียดในชุดกิจกรรม ชั่วโมงที่ 9-13 3. ขั้นสรุปองค์ความรู้(Knowledge Formation) 3.1 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและสรุปผลการทดลองโดยใช้ชุดกิจกรรมประกอบ 3.2 ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้ความรู้ทางเคมีโดย ร่วมกับสมาชิกในกลุ่มตามขั้นตอนดังนี้ 1) ระบุปัญหาจากสถานการณ์ที่กำหนดให้ 2) ตั้งคำถาม สมมติฐาน และระบุตัวแปรจากสถานการณ์ที่กำหนดให้โดยใช้ความรู้ทางเคมี 3) ออกแบบวิธีการตรวจสอบสมมติฐาน 4) นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหา 3.3 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปราย ตรวจความถูกต้อง ตอบคำถามข้อสงสัยต่าง ๆ 3.4 ให้นักเรียนช่วยกันเฉลยคำตอบพร้อมทั้งให้เหตุผล ชั่วโมงที่ 14-15 4. ขั้นการสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication) 4.1 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรม ปฏิบัติการ คิดดี ผลงานดี มีความสุข อ่านข่าวที่กำหนดให้ และเติมข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้องและสมบูรณ์ตามรายละเอียดในชุดกิจกรรม 5. ขั้นการบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service) 5.1 ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาแสดงถึงจุดเด่น จุดด้อยของกลุ่มตัวเองเมื่อได้ทำกิจกรรมมาจนครบ 5.2 ร่วมกันคัดเลือกผลงานที่ดีที่สุดในชั้นเรียน 13. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 13.1สื่อการเรียนรู้ - ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนิโสมนสิการ เรื่อง การใช้ความรู้ทางเคมีในการแก้ปัญหา - สื่อ ppt 13.2แหล่งเรียนรู้ 1) อินเตอร์เน็ต 2) ห้องสมุด


6 14. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ ผลการสอน รายละเอียด 1. ด้านความรู้: - วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... 2. ด้านกระบวนการ : - ทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหา - ทักษะกระบวนการคิดอย่างมี วิจารณญาณ - ทักษะกระบวนการกลุ่ม ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ………………………………………………………………………………………….. 3. ด้านคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม อันพึงประสงค์: - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - อยู่อย่างพอเพียง - รักความเป็นไทย ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... 4. ปัญหาการสอน ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... .......................................................................................................


7 5. วิธีแก้ปัญหา ....................................................................... ....................................................................... ...................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ (.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์..) (นางกณิการ์ พัฒรากุล) ลงชื่อ........................................... (นายไวยวุฒิ ธนบัตร) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงชื่อ.......................................................... (นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม


8 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่……….2……….การบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหา...เรื่อง..…..กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม…. รายวิชา……..............เคมี…5........ ............รหัสวิชา…..............ว 30225......................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่………..6……….... กลุ่มสาระการเรียนรู้………...วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี…….. ปีการศึกษา… 2566...ภาคเรียนที่..2...เวลา...15...ชั่วโมง… ผู้สอน........................................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์......................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้(รายวิชาพื้นฐานมีทั้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด รายวิชาเพิ่ม เติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้) 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระเคมี 3 : เข้าใจหลักการทำปฏิบัติการเคมี การวัดปริมาณสาร หน่วยวัดและการเปลี่ยนหน่วย การคำ นวณปริมาณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทั้งการบูรณาการ ความรู้และทักษะในการอธิบายปรากฏการณ์ ในชีวิตประจำวันและการแก้ปัญหา ทางเคมี 1.2 ผลการเรียนรู้ ข้อที่ 2 แสดงหลักฐานถึงการบูรณาการความรู้ทางเคมีร่วมกับสาขาวิชาอื่น รวมทั้งทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์หรือกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยเน้นการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ เพื่อแก้ปัญหาในสถานการณ์หรือประเด็นที่สนใจ 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากผลการเรียนรู้ที่ใช้ในหน่วยการเรียนรู้นี้เขียนเป็นแบบความเรียง) กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เป็นขั้นตอนที่นำมาใช้ในดำเนินการเพื่อแก้ปัญหาหรือสนองความ ต้องการ ซึ่งกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมนี้จะเริ่มจากการระบุปัญหาที่พบแล้วกำหนดเป็นปัญหาที่ต้องการแก้ไข จากนั้นจึงทำการค้นหาแนวคิดที่เกี่ยวข้องและทำการวิเคราะห์เพื่อเลือกวิธีการที่เหมาะสมสำหรับการแก้ไข เมื่อได้ วิธีการที่เหมาะสมแล้วจึงทำการวางแผนและพัฒนาสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการ เมื่อสร้างชิ้นงานหรือวิธีการเรียบร้อย แล้วจึงนำไปทดสอบ หากมีข้อบกพร่องก็ให้ทำการปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้สิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการนั้นสามารถใช้แก้ไข ปัญหาหรือสนองความต้องการได้ ส่วนในตอนสุดท้ายจะดำเนินการประเมินผลว่าสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการนั้นจะ สามารถใช้แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการได้ตามที่กำหนดไว้หรือไม่ ดังนั้น กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมจึง ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ระบุปัญหา (Problem Identification) ขั้นที่ 2 รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา (Related Information Search) ขั้นที่ 3 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา (Solution Design) ขั้นที่ 4 วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา (Planning and Development) ขั้นที่ 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน (Testing, Evaluation and Design Improvement) ขั้นที่ 6 นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน (Presentation)


9 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม (รายวิชาเพิ่มเติม) • การศึกษาและการแก้ปัญหาในสถานการณ์หรือประเด็นที่สนใจทำได้โดยการบูรณาการความรู้ทางเคมีร่วมกับ วิทยาศาสตร์แขนงอื่น รวมทั้งคณิตศาสตร์เทคโนโลยีและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม โดยเน้นการคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพูดถึงหลักสูตรท้องถิ่นให้ใส่ลงไปด้วย ...............................................................-........................................................................................... 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม (K) 2. ออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาโดยใช้การบูรณาการความรู้ทางเคมีร่วมกับศาสตร์อื่น แก้ปัญหาสถานการณ์ หรือประเด็นที่สนใจ (P) 3. ตั้งใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์(เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. รักชาติศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 7. ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล 1. เป็นเลิศวิชาการ 2. สื่อสารสองภาษา 3. ล้ำหน้าทางความคิด 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ 5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก 8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L R1 –Reading (อ่านออก) R2-(W) Ringting (เขียนได้) R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning) ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)


10 9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน 2. หลักความมีเหตุผล : ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ, เลือกใช้สารเคมีได้อย่างคุ้มค่า 3. หลักภูมิคุ้มกัน : ให้นักเรียนเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก 4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วค่อยลงมือทำอย่างระมัดระวัง , เขียนสมการการ เปลี่ยนแปลงจากการทดลอง 5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยันที่จะทำงานให้ออกมาได้ดีที่สุด , มีวินัยในการทำการ ทดลอง 10. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ภาระงาน 2 - รายงานผลการทดลอง เรื่อง สายไฟแป้ง โดว์ - การอภิปรายผลการทดลอง 11. การวัดประเมินผล 11.1การวัดและประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด วิธีการ 1.การสังเกตการณ์ 2.การใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ เครื่องมือ 1. แบบสังเกตการณ์ 2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบัติ เกณฑ์ 1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) 2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการถือว่า ไม่ผ่าน 11.2 การวัดและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรู้ของ หน่วยการเรียนรู้นี้) สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน 1. ความรู้เกี่ยวกับ - กระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม -การสอบถาม ซักถาม ความคิดเห็น -การตอบคำถาม - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80


11 -การอภิปรายและ รายงานผลการทำ กิจกรรม -การตรวจผลงาน นักเรียน - แบบประเมินการ ตรวจผลงานนักเรียน ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน ประเมินผลงาน 13 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 2.ทักษะกระบวนการคิดอย่างมี วิจารณญาณ ทักษะการแก้ปัญ หา และทักษะกระบวนการกลุ่ม - การอภิปรายแสดง ความคิดเห็น - สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมิน พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม -นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อย ละ 80 ถือว่าผ่าน เกณฑ์ 3. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และสมรรถนะผู้เรียน - มีวินัยในการทำงานกลุ่ม - นักเรียนเห็นความสำคัญของ การทำงานร่วมกับผู้อื่นและการ ทำงานในระบบกลุ่ม - ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและ กันมีความเสียสละและอดทน - นักเรียนมีการเห็นคุณค่าใน ตนเอง (Self-esteem) - สังเกตค่านิยมในการ ทำงานร่วมกับผู้อื่นและ การทำงานในระบบ กลุ่ม อภิปราย แสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับผลการ ทดลอง - แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - แบบประเมิน สมรรถนะผู้เรียน -แบบทดสอบ Rubin’s Self Esteem Scale - นักเรียนได้คะแนน ประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 26 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน การประเมินสมรรถนะ 29 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 12. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1-6 1. ขั้นตั้งประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation) 1.1 ครูให้ความรู้ว่า ในการแก้ปัญหานอกจากจะใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์แล้ว ยังสามารถ ใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมได้อีกด้วย จากนั้นใช้คำถามนำว่า กระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรมมีขั้นตอนแตกต่างจากวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือไม่ เพื่อนำเข้าสู่กิจกรรม “สายไฟแป้งโดว์” 2. ขั้นสืบค้นความรู้(Searching for Information) 2.1 แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4- 5 คน แต่ละกลุ่มมีนักเรียนเก่ง ปานกลาง อ่อน คละกัน ให้ นักเรียนทำกิจกรรม สายไฟแป้งโดว์ตามรายละเอียดในชุดกิจกรรม


12 2.2 ครูอธิบายเงื่อนไขเกี่ยวกับความสว่างของหลอด LED ว่า ควรเห็นจุดสว่างทั้งด้านบนและด้านล่าง เมื่อ มองจากด้านข้างของหลอด LED ดังรูป 1 แต่หากมีจุดสว่างเฉพาะด้านล่างเมื่อสังเกตจากด้านข้างของหลอด LED ดังรูป 2 ถือว่ายังไม่สว่าง 2.3 ครูชี้ให้เห็นว่า เนื่องจากหลอด LED แต่ละชนิด และแป้งโดว์แต่ละสูตร อาจให้ผลการทดลองที่ควรทำ การทดสอบก่อน เพื่อให้มั่นใจว่า หลอด LED สว่างเมื่อต่อด้วยสายไฟที่ต่อกับคลิปปากจระเข้แต่ไม่สว่างเมื่อต่อด้วยแป้ง โดว์ แตกต่างกัน นักเรียนแต่ละกลุ่มไม่สามารถขอแป้งโดว์และสารเคมีทั้งหมดเพิ่มได้ 3. ขั้นสรุปองค์ความรู้(Knowledge Formation) 3.1 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและสรุปผลการทดลองโดยใช้ชุดกิจกรรมประกอบ 3.2 ครูครูชี้ให้เห็นว่า การต่อวงจรไฟฟ้าในกิจกรรม เป็นแบบอนุกรม จากนั้นให้ครูสาธิตการใช้แป้งโดว์ที่นำ ไฟฟ้ามาต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน ดังรูป แล้วให้นักเรียนเปรียบเทียบความสว่างของหลอด LED 3.3 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปราย ตรวจความถูกต้อง ตอบคำถามข้อสงสัยต่าง ๆ 3.4 ให้นักเรียนช่วยกันเฉลยคำตอบพร้อมทั้งให้เหตุผล 3.5 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลที่เกิดขึ้น เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนานและ อนุกรมมีผลต่อความสว่างของหลอด LED โดยหากต่อหลอด LED แบบขนานจะทำให้มีความสว่างมากกว่าการต่อแบบ อนุกรม เนื่องจากการต่อแบบขนานจะทำให้หลอด LED ทั้งสองหลอดมีความต่างศักย์เท่ากับความต่างศักย์ของ แหล่งกำเนิดไฟฟ้า ส่วนการต่อแบบอนุกรม ความต่างศักย์ของแหล่งกำเนิดไฟฟ้าจะถูกแบ่งออกให้แต่ละหลอด ทำให้มี ความสว่างน้อยลง ตามรายละเอียดในชุดกิจกรรม 3.6 ครูชี้ให้เห็นว่า การบูรณาความรู้จากหลาย ๆ ศาสตร์จะช่วยให้แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิ


13 ภาพมากขึ้น เช่น ในกิจกรรม หากใช้ความรู้เรื่อง การต่อวงจรไฟฟ้าร่วมกับความรู้เรื่องสารละลายอิเล็กโทรไลต์ จะช่วย ให้สามารถสร้างสายไฟจากแป้งโดว์โดยใช้สารเคมีน้อยลงได้ ชั่วโมงที่ 7-15 4. ขั้นการสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication) 4.1 วิธีการทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมมีส่วนของวัตถุประสงค์และขั้นตอนที่ เหมือนและต่างกันอย่างไร 4.2 ครูเชื่อมโยงขั้นตอนที่ได้ดำเนินการในกิจกรรมกับการอธิบายรายละเอียดแต่ละขั้นตอนของ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมตามรายละเอียดในชุดกิจกรรม โดยใช้รูปประกอบการอธิบายดังนี้ 5. ขั้นการบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service) 5.1 ครูกำหนดสถานการณ์“แก้ปัญหามลพิษทางอากาศ ลดการใช้น้ำมัน” ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม แก้ปัญหาดังกล่าวโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ออกมามานำเสนอแสดงถึงจุดเด่น จุดด้อยของกลุ่มตัวเอง เมื่อได้ทำกิจกรรมมาจนครบกระบวนการ 5.2 ร่วมกันคัดเลือกผลงานที่ดีที่สุดในชั้นเรียน 13. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 13.1สื่อการเรียนรู้ - ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนิโสมนสิการ เรื่อง การบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหา - สื่อ ppt 13.2แหล่งเรียนรู้ 1) อินเตอร์เน็ต 2) ห้องสมุด 14. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้


14 ผลการสอน รายละเอียด 1. ด้านความรู้: - กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... 2. ด้านกระบวนการ : - ทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหา - ทักษะกระบวนการกลุ่ม ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... 3. ด้านคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม อันพึงประสงค์: - มีวินัย - การเกิด self esteem - ใฝ่เรียนรู้ - อยู่อย่างพอเพียง - รักความเป็นไทย ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... 4. ปัญหาการสอน ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... 5. วิธีแก้ปัญหา ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... .......................................................................................................


15 ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ (.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์..) (นางกณิการ์ พัฒรากุล) ลงชื่อ........................................... (นายไวยวุฒิ ธนบัตร) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงชื่อ.......................................................... (นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม


16 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่…….2……..การบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหา...เรื่อง..…..การบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหา….. รายวิชา………….............เคมี…5.....................รหัสวิชา….................ว 30225......................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่.......6....... กลุ่มสาระการเรียนรู้……..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี……. ปีการศึกษา… 2566...ภาคเรียนที่…...2...เวลา...15...ชั่วโมง… ผู้สอน........................................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์......................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้(รายวิชาพื้นฐานมีทั้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด รายวิชา เพิ่มเติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้) 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระเคมี 3 : เข้าใจหลักการทำปฏิบัติการเคมี การวัดปริมาณสาร หน่วยวัดและการเปลี่ยนหน่วย การ คำนวณปริมาณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทั้งการบูรณาการ ความรู้และทักษะในการอธิบาย ปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวันและการแก้ปัญหา ทางเคมี 1.2 ผลการเรียนรู้ ข้อที่ 2 แสดงหลักฐานถึงการบูรณาการความรู้ทางเคมีร่วมกับสาขาวิชาอื่น รวมทั้งทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์หรือกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยเน้นการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ เพื่อแก้ปัญหาในสถานการณ์หรือประเด็นที่สนใจ 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากผลการเรียนรู้ที่ใช้ในหน่วยการเรียนรู้นี้เขียนเป็นแบบความเรียง) สิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันนั้นจะเป็นสิ่งที่เกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กันกับศาสตร์ในสาขาต่างๆ ผสมผสานกัน ทักษะจากหลายๆ ศาสตร์มาแก้ปัญหาได้กับชีวิตจริง 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม (รายวิชาเพิ่มเติม) • การศึกษาและการแก้ปัญหาในสถานการณ์หรือประเด็นที่สนใจทำได้โดยการบูรณาการความรู้ทางเคมีร่วมกับ วิทยาศาสตร์แขนงอื่น รวมทั้งคณิตศาสตร์เทคโนโลยีและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม โดยเน้นการคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพูดถึงหลักสูตรท้องถิ่นให้ใส่ลงไปด้วย ...............................................................-........................................................................................... 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความรู้เกี่ยวกับกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม (K) 2. เลือกสถานการณ์ปัญหาหรือประเด็นที่สนใจและออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาโดยการบูรณาการความรู้ทาง เคมีกับความรู้ในศาสตร์อื่น (P) 3. เห็นคุณค่าทางวิทยาศาสตร์ตั้งใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ (A)


17 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์(เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 7. ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล 1. เป็นเลิศวิชาการ 2. สื่อสารสองภาษา 3. ล้ำหน้าทางความคิด 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ 5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก 8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L R1 –Reading (อ่านออก) R2-(W) Ringting (เขียนได้) R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT iteracy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning) ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) 9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน 2. หลักความมีเหตุผล : ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ, เลือกใช้สารเคมีได้อย่างคุ้มค่า 3. หลักภูมิคุ้มกัน : ให้นักเรียนเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก 4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วค่อยลงมือทำอย่างระมัดระวัง , เขียนสมการการ เปลี่ยนแปลงจากการทดลอง 5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยันที่จะทำงานให้ออกมาได้ดีที่สุด , มีวินัยในการทำการ ทดลอง


18 10. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ภาระงาน 2 -รายงานกิจกรรม การแก้ปัญหาโดย การบูรณาการความรู้ - การอภิปรายผลการแก้ปัญหา 11. การวัดประเมินผล 11.1การวัดและประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด วิธีการ 1.การสังเกตการณ์ 2.การใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ เครื่องมือ 1. แบบสังเกตการณ์ 2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบัติ เกณฑ์ 1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) 2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการถือว่า ไม่ผ่าน 11.2 การวัดและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรู้ของ หน่วยการเรียนรู้นี้) สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน 1. ความรู้เกี่ยวกับ - กระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม -การสอบถาม ซักถาม ความคิดเห็น -การตอบคำถาม -การอภิปรายและ รายงานผลการทำ กิจกรรม -การตรวจผลงาน นักเรียน - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมินการ ตรวจผลงานนักเรียน - นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน ประเมินผลงาน 13 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 2.ทักษะกระบวนการคิดอย่างมี วิจารณญาณ ทักษะการแก้ปัญ หา และทักษะกระบวนการกลุ่ม - การอภิปรายแสดง ความคิดเห็น - สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมิน พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม -นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อย ละ 80 ถือว่าผ่าน เกณฑ์


19 3. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และสมรรถนะผู้เรียน - มีวินัยในการทำงานกลุ่ม - นักเรียนเห็นความสำคัญของ การทำงานร่วมกับผู้อื่นและการ ทำงานในระบบกลุ่ม - ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกัน และกันมีความเสียสละและอดทน - นักเรียนมีการเห็นคุณค่าใน ตนเอง (Self-esteem) - สังเกตค่านิยมในการ ทำงานร่วมกับผู้อื่นและ การทำงานในระบบ กลุ่ม อภิปราย แสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับผลการ ทดลอง - แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - แบบประเมิน สมรรถนะผู้เรียน -แบบทดสอบ Rubin’s Self Esteem Scale - นักเรียนได้คะแนน ประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 26 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน การประเมินสมรรถนะ 29 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 12. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 1. ขั้นตั้งประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation) 1.1 ครูมอบหมายให้นักเรียนสำรวจปัญหาที่เกิดขึ้นใน โรงเรียน ท้องถิ่น จังหวัด ประเทศ หรือระดับโลก และ สืบค้นข้อมูลประกอบ จากนั้นเลือกสถานการณ์ปัญหา โดยหากเน้นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ควรมีการตั้งคำถาม แต่ หากเน้นกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมควรระบุปัญหาและเงื่อนไขให้ชัดเจน ชั่วโมงที่ 2-4 2. ขั้นสืบค้นความรู้(Searching for Information) 2.1 ครูให้นักเรียนนำเสนอสถานการณ์ปัญหาที่นักเรียนสนใจจะแก้ไข พร้อมข้อมูลสนับสนุนเพื่อให้เห็น ความสำคัญของปัญหา 2.2 นำเสนอคำถามหรือปัญหาและ เงื่อนไข ครูควรวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของการตอบคำถามหรือ แก้ปัญหานั้น 2.3 ครูมอบหมายให้นักเรียน สืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องโดยครูอาจแนะนำแหล่งสืบค้น ข้อมูลเพิ่มเติม ชั่วโมงที่ 5-7 3. ขั้นสรุปองค์ความรู้(Knowledge Formation) 3.1 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นมาอภิปรายร่วมกันภายในกลุ่ม 3.2 โดยครูให้คำแนะนำในกลุ่มที่มีข้อสงสัยหรือต้องการความช่วยเหลือ ชั่วโมงที่ 8-15 4. ขั้นการสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication) 4.1 ครูให้นักเรียนกำหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขตของงานและ ออกแบบวิธีดำเนินการหลังจากที่ได้ข้อมูล เพียงพอแล้ว - หากเน้นวิธีการทางวิทยาศาตร์หลังจากตั้งคำถาม และสืบค้นข้อมูลแล้ว ให้นักเรียนตั้ง สมมติฐาน กำหนดตัวแปร และออกแบบวิธีการตรวจสอบสมมติฐาน - หากเน้นกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมหลังระบุ ปัญหาและสืบค้นข้อมูลแล้ว ให้นักเรียน ออกแบบ วิธีการแก้ปัญหา


20 4.2 ครูให้นักเรียนนำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาที่ได้ออกแบบไว้ - หากเน้นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ครูวิเคราะห์ว่าสมมติฐาน และตัวแปรต่าง ๆ ที่นักเรียนกำหนดขึ้น มีความสอดคล้องกับคำถามหรือไม่ วิธีการตรวจสอบสมมติฐานสอดคล้องกับสมมติฐานและเป็นแนวทางนำไปสู่การตอบ คำถามได้หรือไม่ โดยครูอาจให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการปรับปรุงแก้ไข - หากเน้นกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ครูวิเคราะห์ว่า วิธีการแก้ปัญหาที่นักเรียนออกแบบไว้ สอดคล้องกับปัญหาและนำไปสู่แนวทางการแก้ปัญหาได้หรือไม่ โดยครูอาจให้ข้อเสนอแนะ เพิ่มเติมในการปรับปรุงแก้ไข 4.3 ครูให้นักเรียนดำเนินการแก้ปัญหาตามที่ได้ออกแบบ วิธีการไว้ โดยครูอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับ อุปกรณ์สารเคมี และสถานที่สำหรับทำปฏิบัติการ และคอยให้คำแนะนำปรึกษา รวมทั้งกระตุ้นให้นักเรียนใช้ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ระหว่างดำเนินการแก้ปัญหา 5. ขั้นการบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service) 5.1 ครูให้นักเรียนนำผลการดำเนินการมาปรึกษาหารือเพื่อให้คำแนะนำเกี่ยวกับการสรุปผลการ ดำเนินการ 5.2 ร่วมกันคัดเลือกผลงานที่ดีที่สุดในชั้นเรียน 13. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 13.1สื่อการเรียนรู้ - ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนิโสมนสิการ เรื่อง การบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหา - สื่อ ppt 13.2แหล่งเรียนรู้ 1) อินเตอร์เน็ต 2) ห้องสมุด 14. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ ผลการสอน รายละเอียด 1. ด้านความรู้: - การบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหา ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... .......................................................................................................


21 2. ด้านกระบวนการ : - ทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหา - ทักษะกระบวนการกลุ่ม ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... 3. ด้านคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม อันพึงประสงค์: - มีวินัย - การเกิด self esteem - ใฝ่เรียนรู้ - อยู่อย่างพอเพียง - รักความเป็นไทย ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... 4. ปัญหาการสอน ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... 5. วิธีแก้ปัญหา ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... .......................................................................................................


22 ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ (.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์..) (นางกณิการ์ พัฒรากุล) ลงชื่อ........................................... (นายไวยวุฒิ ธนบัตร) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงชื่อ.......................................................... (นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม


23 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่.3……………………..การนำเสนอผลงาน……..……....เรื่อง………..……..การนำเสนอผลงาน…….…….….. รายวิชา……........................เคมี…5........ ............รหัสวิชา…..............ว 30225......................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....6..... กลุ่มสาระการเรียนรู้…….วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี…….. ปีการศึกษา… 2566...ภาคเรียนที่..2...เวลา...12...ชั่วโมง… ผู้สอน....................................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์......................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้(รายวิชาพื้นฐานมีทั้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด รายวิชา เพิ่มเติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้) 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระเคมี 3 : เข้าใจหลักการทำปฏิบัติการเคมี การวัดปริมาณสาร หน่วยวัดและการเปลี่ยนหน่วย การ คำนวณปริมาณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทั้งการบูรณาการ ความรู้และทักษะในการอธิบาย ปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวันและการแก้ปัญหา ทางเคมี 1.2 ผลการเรียนรู้ ข้อที่ 3 นำเสนอผลงานหรือชิ้นงานที่ได้จากการแก้ปัญหาในสถานการณ์หรือประเด็นที่สนใจโดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากผลการเรียนรู้ที่ใช้ในหน่วยการเรียนรู้นี้เขียนเป็นแบบความเรียง) การนำเสนอผลงานเป็นการสื่อสารเพื่อสรุปให้บุคคลอื่นได้รับทราบถึงผลการดำเนินการที่ ผู้นำเสนอได้ศึกษา มาการนำเสนอสาระสำคัญของผลงานควรทำให้อยู่ในรูปแบบที่เข้าใจง่ายและเป็นสื่อประกอบอย่างเหมาะสมและมี คุณภาพโดยทั่วไปการนำเสนอผลงานทางวิทยาศาสตร์อาจอยู่ในรูปของรายงานการบรรยายบทความหรือการแสดง ชิ้นงานซึ่งการเข้าใจหลักการในการเตรียมนำเสนอในแต่ละรูปแบบเป็นการส่งเสริมให้การนำเสนอนั้นมีประสิทธิภาพ มากขึ้น 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม (รายวิชาเพิ่มเติม) • การนำเสนองานหรือแสดงผลงาน เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนร่วมได้แลกเปลี่ยนแนวคิดผลงาน รวมทั้งเพิ่ม โอกาสในการพัฒนางานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือประกอบการนำเสนอ ซึ่งจะทำให้การสื่อสารมี ประสิทธิภาพมากขึ้น 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพูดถึงหลักสูตรท้องถิ่นให้ใส่ลงไปด้วย ...............................................................-........................................................................................... 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายจัดทำรายงานการแก้ปัญหาโดยการบูรณาการความรู้ (K) 2. นำเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (P)


24 3. เห็นคุณค่าทางวิทยาศาสตร์ตั้งใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์(เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 7. ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล 1. เป็นเลิศวิชาการ 2. สื่อสารสองภาษา 3. ล้ำหน้าทางความคิด 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ 5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก 8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L R1 –Reading (อ่านออก) R2-(W) Ringting (เขียนได้) R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning) ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) 9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน 2. หลักความมีเหตุผล : ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ, เลือกใช้สารเคมีได้อย่างคุ้มค่า 3. หลักภูมิคุ้มกัน : ให้นักเรียนเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก 4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วค่อยลงมือทำอย่างระมัดระวัง , เขียนสมการการ เปลี่ยนแปลงจากการทดลอง 5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยันที่จะทำงานให้ออกมาได้ดีที่สุด , มีวินัยในการทำการ ทดลอง


25 10. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ภาระงาน 3 -ก า ร น ำเ สน อ ร ู ป แ บ บ ก า รเ ข ี ย น บรรณานุกรม -รายงานการสืบค้นข้อมูลวิธีการเขียน อ้างอิงแบบแทรกในเนื้อหารายงาน - การอภิปรายความรู้เกี่ยวกับรูปแบบ และวิธีการนำเสนอผลงาน 11. การวัดประเมินผล 11.1การวัดและประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด วิธีการ 1.การสังเกตการณ์ 2.การใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ เครื่องมือ 1. แบบสังเกตการณ์ 2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบัติ เกณฑ์ 1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) 2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการถือว่า ไม่ผ่าน 11.2 การวัดและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรู้ของ หน่วยการเรียนรู้นี้) สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน 1. ความรู้เกี่ยวกับ - รูปแบบและวิธีการนำเสนอ ผลงาน -การสอบถาม ซักถาม ความคิดเห็น -การตอบคำถาม -การอภิปรายและ รายงานผลการทำ กิจกรรม -การตรวจผลงาน นักเรียน - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมินการ ตรวจผลงานนักเรียน - นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน ประเมินผลงาน 13 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 2.ทักษะกระบวนการ - การอภิปรายแสดง ความคิดเห็น - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ -นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป


26 - ทักษะการจัดกระทำและสื่อ ความหมายข้อมูล - ทักษะการสร้างสรรค์และ นวัตกรรม - สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม คิดเห็น - แบบประเมิน พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม หรือร้อยละ 80 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ 3. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และสมรรถนะผู้เรียน - มีวินัยในการทำงานกลุ่ม - นักเรียนเห็นความสำคัญ ของการทำงานร่วมกับผู้อื่นและ การทำงานในระบบกลุ่ม - ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกัน และกันมีความเสียสละและ อดทน - นักเรียนมีการเห็นคุณค่าใน ตนเอง (Self-esteem) - สังเกตค่านิยมในการ ทำงานร่วมกับผู้อื่น และการทำงานใน ระบบกลุ่ม อภิปราย แสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับผลการ ทดลอง - แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - แบบประเมิน สมรรถนะผู้เรียน -แบบทดสอบ Rubin’s Self Esteem Scale - นักเรียนได้คะแนน ประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 26 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน การประเมินสมรรถนะ 29 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 12. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 1. ขั้นตั้งประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation) 1.1 ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างรูปแบบการนำเสนอหรือการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการแล้วร่วมกันอภิปราย เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า รูปแบบการนำเสนอหรือเผยแพร่ผลงานทางวิชาการที่นิยมคือ รายงาน โปสเตอร์ และการบรรยาย เพื่อนำเข้าสู่การอธิบายรายละเอียดในแต่ละรูปแบบ 1.2 ครูอธิบายองค์ประกอบและการเขียนรายงาน ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน โดยอาจอธิบาย เพิ่มเติมในบางประเด็น ดังนี้ - ในส่วนนำ ใช้รูปประกอบการอธิบายเกี่ยวกับบทคัดย่อ และชี้แจงเพิ่มเติมว่าบทคัดย่อส่วนใหญ่มี ความยาวประมาณ 1 หน้า - ในส่วนเนื้อหา จำนวนบทในรายงานอาจมีมากกว่าหรือน้อยกว่า 5 บท ก็ได้ ขึ้นอยู่กับ รายละเอียดของเนื้อหา เช่น อาจรวมทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องไว้ในบทนำเป็น 1 บท ได้ ในส่วนของผลการ ดำเนินการและการอภิปรายข้อมูล ถ้ามีข้อมูลจากการดำเนินการที่มีประเด็นแตกต่างกันอาจเขียนแยกบทได้ ชั่วโมงที่2-9 2. ขั้นสืบค้นความรู้(Searching for Information) 2.1 ครูให้นักเรียนทำกิจกรรม “สืบค้นข้อมูลรูปแบบการเขียนบรรณานุกรม”


27 2.2 ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมเสนอแนะเรื่องเรื่อง “สืบค้นข้อมูลวิธีการเขียนอ้างอิงแบบแทรกในเนื้อหา” เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษารูปแบบการอ้างอิงแบบแทรกในเนื้อหา 2.3 ครูอธิบายการนำเสนอโปสเตอร์ ทั้งในส่วนของการจัดทำและการพูดนำเสนอโปสเตอร์ตาม รายละเอียดในหนังสือเรียน โดยครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบโปสเตอร์ที่นิยมใช้ในการนำเสนอในงานประชุม วิชาการ 2.4 ครูให้นักเรียนทำกิจกรรม การจัดทำและนำเสนอข้อมูลในโปสเตอร์ ชั่วโมงที่ 10-12 3. ขั้นสรุปองค์ความรู้(Knowledge Formation) 3.1 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการนำเสนอด้วยการบรรยายทั้งในส่วนของการ จัดเตรียมเนื้อหาและสื่อประกอบ รวมทั้งการพูดนำเสนอ เพื่อให้ได้ข้อสรุปตามรายละเอียดในชุดกิจกรรมโดยในส่วน ของการเตรียมสไลด์ ครูอาจใช้รูปประกอบเพื่อให้นักเรียนพิจารณาตัวอย่างสไลด์ที่เหมาะสม และไม่เหมาะสม 3.2 ครูให้นักเรียนทำกิจกรรม การนำเสนอผลงานจากกิจกรรม “การแก้ปัญหาโดยการบูรณาการความรู้” 4. ขั้นการสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication) 4.1 ครูแจ้งข้อกำหนดเกี่ยวกับขนาดและรูปแบบของ โปสเตอร์ และระยะเวลาในการบรรยาย แล้วให้ นักเรียน จัดทำโปสเตอร์หรือสไลด์ประกอบการบรรยายเพื่อใช้ในการนำเสนอผลงาน 5. ขั้นการบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service) 5.1 ครูให้นักเรียนนำเสนอผลงาน และแลกเปลี่ยนความรู้ 5.2 ร่วมกันคัดเลือกผลงานที่ดีที่สุดในชั้นเรียน 13. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 13.1สื่อการเรียนรู้ - ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนิโสมนสิการ เรื่อง การนำเสนอผลงาน - สื่อ ppt 13.2แหล่งเรียนรู้ 1) อินเตอร์เน็ต 2) ห้องสมุด 14. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ ผลการสอน รายละเอียด 1. ด้านความรู้: - การนำเสนอผลงาน ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... .......................................................................................................


28 ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... 2. ด้านกระบวนการ : - ทักษะการจัดกระทำและสื่อความหมาย ข้อมูล - ทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรม - ทักษะการสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่า ทันสื่อ ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... 3. ด้านคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม อันพึงประสงค์: - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - อยู่อย่างพอเพียง - รักความเป็นไทย - การเกิด self esteem ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... 4. ปัญหาการสอน ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... .......................................................................................................


29 5. วิธีแก้ปัญหา ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ (.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์..) (นางกณิการ์ พัฒรากุล) ลงชื่อ........................................... (นายไวยวุฒิ ธนบัตร) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงชื่อ.......................................................... (นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม


30 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่…….….4…….…..การเข้าร่วมประชุมวิชาการ……....เรื่อง………..….การเข้าร่วมประชุมวิชาการ.…….….. รายวิชา……..............เคมี…5........ ............รหัสวิชา…................ว 30225......................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่……..6……..... กลุ่มสาระการเรียนรู้………….วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี…… ปีการศึกษา… 2566...ภาคเรียนที่..2...เวลา...3...ชั่วโมง… ผู้สอน.....................................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์......................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้(รายวิชาพื้นฐานมีทั้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด รายวิชา เพิ่มเติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้) 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระเคมี 3 : เข้าใจหลักการทำปฏิบัติการเคมี การวัดปริมาณสาร หน่วยวัดและการเปลี่ยนหน่วย การ คำนวณปริมาณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทั้งการบูรณาการ ความรู้และทักษะในการอธิบาย ปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวันและการแก้ปัญหา ทางเคมี 1.2 ผลการเรียนรู้ ข้อที่ 4 แสดงหลักฐานการเข้าร่วมการสัมมนา การเข้าร่วมประชุมวิชาการ หรือการแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์ใน งานนิทรรศการ 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากผลการเรียนรู้ที่ใช้ในหน่วยการเรียนรู้นี้เขียนเป็นแบบความเรียง) การสัมมนาการประชุมวิชาการหรืองานนิทรรศการเป็นเวทีที่เปิดโอกาส ให้นักเรียนได้เผยแพร่ความรู้หรือนำ ผลงานที่ได้ทำมาซึ่งจะทำให้นักเรียนได้รับคำแนะนำ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม (รายวิชาเพิ่มเติม) • การสัมมนา การประชุมวิชาการ หรือการร่วมแสดงผลงาน สิ่งประดิษฐ์ในงานนิทรรศการเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้มี ส่วนร่วมได้แลกเปลี่ยนความคิด แสดงทัศนคติต่อกรณีศึกษา สถานการณ์หรือประเด็นสำคัญทางเคมีซึ่งช่วยส่งเสริมให้ พัฒนากระบวนการคิด ทักษะการสื่อสารทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อการค้นคว้าและการสื่อสาร ซึ่งสามารถทำได้หลาย ระดับ โดยอาจเป็นระดับชั้นเรียน โรงเรียน กลุ่มโรงเรียนชุมชน ระดับชาติหรือนานาชาติ 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพูดถึงหลักสูตรท้องถิ่นให้ใส่ลงไปด้วย ...............................................................-........................................................................................... 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายรูปแบบและความสำคัญของการประชุมวิชาการ (K) 2. จัดทำรายงานสรุปการประชุมวิชาการ (P) 3. เห็นคุณค่าทางวิทยาศาสตร์ตั้งใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด


31 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์(เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 7. ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล 1. เป็นเลิศวิชาการ 2. สื่อสารสองภาษา 3. ล้ำหน้าทางความคิด 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ 5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก 8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L R1 –Reading (อ่านออก) R2-(W) Ringting (เขียนได้) R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning) ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) 9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน 2. หลักความมีเหตุผล : ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ, เลือกใช้สารเคมีได้อย่างคุ้มค่า 3. หลักภูมิคุ้มกัน : ให้นักเรียนเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก 4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วค่อยลงมือทำอย่างระมัดระวัง , เขียนสมการการ เปลี่ยนแปลงจากการทดลอง 5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยันที่จะทำงานให้ออกมาได้ดีที่สุด , มีวินัยในการทำการ ทดลอง 10. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ภาระงาน 4 -รายงานกิจกรรม สืบค้นข้อมูลงาน ประชุมวิชาการ - การอภิปรายความรู้เกี่ยวกับงาน ประชุมวิชาการ


32 -รายงานกิจกรรม การเข้าร่วมและการ สรุปรายงานการเข้าประชุมวิชาการที่ นักเรียนสนใจ 11. การวัดประเมินผล 11.1การวัดและประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด วิธีการ 1.การสังเกตการณ์ 2.การใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ เครื่องมือ 1. แบบสังเกตการณ์ 2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบัติ เกณฑ์ 1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) 2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการถือว่า ไม่ผ่าน 11.2 การวัดและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรู้ของ หน่วยการเรียนรู้นี้) สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน 1. ความรู้เกี่ยวกับ - ข้อควรปฏิบัติในการเข้าร่วม ประชุมวิชาการ -การสอบถาม ซักถาม ความคิดเห็น -การตอบคำถาม -การอภิปรายและ รายงานผลการทำ กิจกรรม -การตรวจผลงาน นักเรียน - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมินการ ตรวจผลงานนักเรียน - นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน ประเมินผลงาน 13 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 2.ทักษะกระบวนการ - ทักษะการสืบค้น - การอภิปรายแสดง ความคิดเห็น - สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมิน พฤติกรรมการ -นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่า ผ่านเกณฑ์


33 ทำงานกลุ่ม 3. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และสมรรถนะผู้เรียน - มีวินัยในการทำงานกลุ่ม - นักเรียนเห็นความสำคัญ ของการทำงานร่วมกับผู้อื่นและ การทำงานในระบบกลุ่ม - ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกัน และกันมีความเสียสละและ อดทน - นักเรียนมีการเห็นคุณค่าใน ตนเอง (Self-esteem) - สังเกตค่านิยมในการ ทำงานร่วมกับผู้อื่น และการทำงานใน ระบบกลุ่ม อภิปราย แสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับผลการ ทดลอง - แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - แบบประเมิน สมรรถนะผู้เรียน -แบบทดสอบ Rubin’s Self Esteem Scale - นักเรียนได้คะแนน ประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 26 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน การประเมินสมรรถนะ 29 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 12. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่1 1. ขั้นตั้งประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation) 1.1 ครูอธิบายถึงรูปแบบและความสำคัญของการประชุมวิชาการ ตามรายละเอียดในชุดกิจกรรม 1.2 ครูให้นักเรียนทำกิจกรรม “สืบค้นข้อมูลงานประชุมวิชาการ” 2. ขั้นสืบค้นความรู้(Searching for Information) 2.1 ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับบทบาทในฐานะผู้ฟังและผู้นำเสนอในงานประชุม วิชาการ โดยให้นักเรียนเขียนข้อควรปฏิบัติในฐานะผู้ฟังและผู้นำเสนอที่ดี อย่างละ 1 ข้อ ลงในกระดาษ ร่วมกันจัด หมวดหมู่ 2.2 อภิปรายเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปและเปรียบเทียบกับบทบาทในฐานะผู้ฟังและผู้นำเสนอ ตามรายละเอียด ในชุดกิจกรรม ชั่วโมงที่ 2 3. ขั้นสรุปองค์ความรู้(Knowledge Formation) 3.1 ครูยกตัวอย่างคำถามที่ไม่เหมาะสมในฐานะผู้ฟังเพิ่มเติม ดังตัวอย่างต่อไปนี้ - คำถามไม่ชัดเจน ไม่เฉพาะเจาะจง หรือกว้างเกินไป เช่น ทำเรื่องนี้ไปทำไม่สรุปทั้งหมด ให้ฟังอีกครั้งได้หรือไม่ หากไม่เข้าใจส่วนใดควรใช้คำถามที่มีความชัดเจนและเจาะจงมากขึ้น เช่น เพราะเหตุใดจึงต้อง ทำการทดลองในส่วน


34 - คำถามนอกเรื่อง เช่น ในงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการหาประสิทธิภาพที่กรองน้ำจากเปลือกส้ม กล้วย เงาะ และมังคุด แต่ใช้คำถามว่า ถ้าใช้เปลือกทุเรียนหรือเปลือกส้มโอจะดีกว่าหรือไม่ หากต้องการทราบข้อมูลในส่วนที่ ไม่ได้ดำเนินการแต่เชื่อมโยงกับสิ่งที่ทำได้ควรมีสมมติฐาน หรือเหตุผลสนับสนุนประกอบคำถาม - คำถามดูหมิ่น เช่น งานนี้ลอกใครมาหรือเปล่า งานนี้ทำเองหรือเปล่า หากสงสัยว่างานนี้อาจมีความ ซ้ำซ้อนกับงานอื่น หรืองานบางส่วนอาจไม่ได้ทำขึ้นเอง ควรใช้คำถามว่า ผลงานนี้มีส่วนใดที่ใหม่หรือไม่ซ้ำซ้อนกับงาน อื่น หรือ ผู้นำเสนอมีส่วนร่วม ในการดำเนินการส่วนใดบ้าง 3.2 ครูอธิบายการเขียนรายงานการเข้าร่วมการประชุมวิชาการ ตามรายละเอียดในชุดกิจกรรม 4. ขั้นการสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication) 4.1 ครูให้นักเรียนทำกิจกรรม “การเข้าร่วมและการสรุปรายงานการเข้าประชุมวิชาการ” 4.2 ครูแนะนำให้นักเรียนเข้าร่วมประชุมวิชาการที่จัดขึ้นโดยหน่วยงานต่าง ๆ หรือครูจัดการประชุม วิชาการในระดับชั้นเรียน โรงเรียน หรือกลุ่มโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้มีประสบการณ์การเข้าร่วมประชุม วิชาการ 5. ขั้นการบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service) 5.1 ครูให้นักเรียนนำเสนอ จัดทำสรุปรายงานการเข้าร่วมประชุมวิชาการ และแลกเปลี่ยนความรู้ 5.2 ร่วมกันคัดเลือกผลงานที่ดีที่สุดในชั้นเรียน 13. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 13.1สื่อการเรียนรู้ - ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนิโสมนสิการ เรื่อง การเข้าร่วมประชุมวิชาการ - สื่อ ppt 13.2แหล่งเรียนรู้ 1) อินเตอร์เน็ต 2) ห้องสมุด 14. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ ผลการสอน รายละเอียด 1. ด้านความรู้: - ข้อควรปฏิบัติในการเข้าร่วมประชุม วิชาการ ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... .......................................................................................................


35 2. ด้านกระบวนการ : - ทักษะการสื่อสารสารสนเทศและการ รู้เท่าทันสื่อ ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... 3. ด้านคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม อันพึงประสงค์: - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - อยู่อย่างพอเพียง - รักความเป็นไทย - การเกิด self esteem ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... 4. ปัญหาการสอน ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... 5. วิธีแก้ปัญหา ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... .......................................................................................................


36 ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ (.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์..) (นางกณิการ์ พัฒรากุล) ลงชื่อ........................................... (นายไวยวุฒิ ธนบัตร) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงชื่อ.......................................................... (นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม


Click to View FlipBook Version