The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดที่ 2 เรื่องการบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2022-10-25 11:24:33

ชุดที่ 2 เรื่องการบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหา

ชุดที่ 2 เรื่องการบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหา





คำนำ

ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 2 เรื่องการบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหาตามแนวคิด
แบบโยนิโสมนสิการ จัดทำเพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ความพึงพอใจทางการเรียนเคมี
ส่งเสริมความสามารถทางการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1-3
โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม โดยในทุกกิจกรรมได้จัดลำดับขั้นตอนที่เน้นการเพิ่มพูนประสบการณ์
ทางวทิ ยาศาสตร์ นักเรยี นจะได้รับการทดสอบกอ่ นเรียน และศกึ ษาเนื้อหาความรู้ท่ีสง่ เสริมให้นักเรียนศึกษา
และสืบคน้ โดยมคี วามรูเ้ พิ่มเติมนอกเหนือจากในบทเรยี น การตอบคำถาม การทำแบบฝึกหัด และทำกิจกรรม
การทดลองตามขั้นตอนตลอดจนทำแบบทดสอบหลงั เรียน เพื่อประเมินตนเองหลังจากการเรียนรู้ในแต่
ละกจิ กรรมการเรียนรู้

ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 2 เรื่องการบูรณาการความรู้
ในการแก้ปัญหา ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ จะทำให้ผู้เรียนมีความรู้และความสามารถในการ
สบื คน้ การจัดระบบส่งิ ท่ีเรียนรู้ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพอ่ื สรา้ งองค์ความรู้ ได้เป็นอย่าง
ดีสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ และเป็นประโยชน์สำหรับผู้ท่ี
สนใจใช้เป็นแนวทาง ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้ต่อไป

นางสาวอโนชา อทุ มุ สกลุ รัตน์



สารบัญ

เรื่อง หนา้
คำนำ ก
สารบัญ ข
ข้อแนะนำการเรียนรู้ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ ค
โครงสร้างชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ ง
แบบทดสอบก่อนเรียน จ
ขั้นที่ 1 การหาความรู้ ปฏิบตั ิการ ฝกึ อ่าน : ฝึกคิด 1
1
- เร่อื งกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมคืออะไร 2
- กจิ กรรม สืบเสาะ ค้นหา เรือ่ ง สายไฟแป้งโดว์ 6
- ตรวจสอบความเข้าใจ 8
ขนั้ ท่ี 2 สร้างความรู้ ปฏิบตั ิการ ฝึกทำ : ฝกึ สรา้ ง 8
- กิจกรรมฝกึ ทำ : ฝกึ สร้าง เรอ่ื ง การแกป้ ัญหาโดยการบรู ณาการความรู้
13
ข้นั ท่ี 3 ซึมซับความรู้ ปฏบิ ัตกิ าร คิดดี ผลงานดี มคี วามสขุ 13
- นกั วิทย์ฯ คิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ 15
17
แบบทดสอบหลังเรยี น
บรรณานกุ รม



ข้อแนะนำการเรยี นรู้ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์วิทยาศาสตร์

สำหรับนักเรียน
จุดประสงค์ของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มุ่งหวังให้นักเรียนเป็นผู้มีความสามารถทางการ
จดั การความรทู้ างวิทยาศาสตร์ 3 ดา้ น ไดแ้ ก่

1. ด้านความรู้ ความคดิ
2. ดา้ นทกั ษะการจดั การความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์
3. ดา้ นคา่ นยิ มต่อตนเองเพ่อื สงั คม
ซึ่งนักเรียนจะได้เสริมสร้างความสามารถดังกล่าวดังนี้ 1.การหาความรู้ (Operation) จาก
กิจกรรมการสืบเสาะ ค้นหา กิจกรรมร่วมกันคิด และกิจกรรมร่วมกันค้น 2.การสร้างความรู้
(Combination) เป็นขั้นฝึกการวิเคราะห์ประกอบด้วยการฝึกคิดแบบสืบสาวปัจจัยเหตุและแบบ
แยกแยะส่วนประกอบโดยใช้ ข้อความและสถานการณ์ เพื่อพัฒนาตนเอง 3. การซึมซับความรู้
(Assimilation) เป็นขั้นที่ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น หนังสือ
อินเตอร์เน็ต ฝึกคิดอย่างมีวิจารณญาณ ฝึกทักษะการเขียนเพื่อนำเสนอแก้ไขปัญหาที่พบ
ประกอบการตอบคำถามฝึกการวิเคราะห์จุดเด่น และจุดด้อยของผลงาน ตรวจสอบและปรับปรุงเพ่ือ
สร้างชิ้นงานใหม่ต่อไปได้ และข้อเสนอแนะกับผู้อ่านได้ โดยในทุกกิจกรรมได้จัดลำดับขั้นตอนที่เน้น
การเพิ่มพูนประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อเป็นผู้มีความสามารถทางการจัดการความรู้ทาง
วทิ ยาศาสตร์ ดงั น้ี
1. อ่าน และทำความเข้าใจในทกุ ข้นั ตอนของกิจกรรมการเรียนรู้
2.รักและสนใจตนเอง สร้างความรู้สึกที่ดีให้กับตนเอง ว่าตัวเราเป็นผู้มีความสามารถมี
ศกั ยภาพอยใู่ นตัว และพรอ้ มที่จะเรยี นรทู้ ุกสิง่ ทส่ี รา้ งสรรค์
3. รู้สกึ อิสระและแสดงออกอยา่ งเตม็ ความสามารถ
4. ฟัง คิด ถาม เขียน ปฏิบัติ อย่างรอบคอบในทุกกิจกรรม ใช้เนื้อที่กระดาษที่จัดไว้สำหรับ
เขยี นให้เตม็ โดยไมป่ ล่อยใหเ้ หลือเปล่า เพ่อื ใหเ้ กิดประโยชน์สงู สุดกบั ตนเอง
5. ใชเ้ วลาในการเรียนรอู้ ยา่ งคุ้มค่า ใช้ทุกๆ นาทีทำให้ตนเองมีความสามารถเพมิ่ มากขน้ึ
6. ตระหนกั ตนเองอยเู่ สมอวา่ จะเรียนรู้วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือนำมาพฒั นาตนเองและพฒั นาสังคม

จดุ เด่นของการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ คอื การสรา้ งคณุ ค่าทด่ี ีให้กับสังคม
จึงขอเชิญชวนนักเรยี น มาร่วมกนั เรียนรู้วิทยาศาสตร์
ด้วยใจรัก และ พัฒนาตนใหเ้ ตม็ ขดี ความสามารถ

ขอส่งความปรารถนาดีให้แกน่ ักเรียนทุกคนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์อยา่ งมีความสุขพ่ึงตนเองได้
และเปน็ ผูม้ คี วามสามารถทางการจดั การความรู้ทางวทิ ยาศาสตรเ์ พื่อสังคม ย่ิงๆ ขน้ึ สืบไป



โครงสร้างชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
หน่วยท่ี 2 เร่ืองการบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหา

สาระสำคญั
การศึกษาและการแกป้ ญั หาในสถานการณห์ รือประเด็นทีส่ นใจทำไดโ้ ดยการบรู ณาการความรู้

ทางเคมรี ว่ มกับวิทยาศาสตรแ์ ขนงอืน่ รวมท้ังคณิตศาสตร์เทคโนโลยแี ละทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์หรอื กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม โดยเนน้ การคดิ วเิ คราะห์แกป้ ัญหาและความคดิ
สรา้ งสรรค์
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. อธิบายวธิ ีการทางวิทยาศาสตรห์ รือกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม
2. ออกแบบแนวทางการแก้ปญั หาโดยใช้การบรู ณาการความรู้ทางเคมีร่วมกับศาสตรอ์ ื่น
แกป้ ัญหาสถานการณห์ รือประเด็นท่ีสนใจ
3. ตง้ั ใจเรียนรแู้ ละแสวงหาความรู้
การจดั กระบวนการเรียนรใู้ ชร้ ูปแบบการจัดการความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ มี 3 ขั้น คือ
1. การหาความรู้ (Operation)
2. การสร้างความรู้ (Combination)
3. การซึมซบั ความรู้ (Assimilation)

เวลาทใ่ี ช้ 30 ชัว่ โมง
การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้

นักเรียนประเมินผลตนเองโดยใช้แบบประเมนิ ผลตนเองก่อนเรียน-หลงั เรยี น

แบบทดสอบก่อนเรยี น



หนว่ ยที่ 2 เรื่องการบรู ณาการความรู้ในการแกป้ ัญหา วิชาเคมี

ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 10 นาที

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

คำชแ้ี จง

1. แบบทดสอบฉบบั นี้เปน็ แบบปรนยั เลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 10 ข้อใช้เวลาในการสอบ 10 นาที

2. ใหน้ กั เรียนเลอื กคำตอบที่ถูกต้องทส่ี ุดเพยี งคำตอบเดยี วแล้วทำเคร่อื งหมาย × ลงในกระดาษคำตอบ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1. กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมหมายถึงข้อใด

ก. กระบวนการแก้ปัญหาอยา่ งเป็นระบบในด้านตา่ งๆ

ข. กระบวนการแก้ปญั หาอย่างถูกต้องและได้ผลลัพธ์มากท่ีสดุ

ค. กระบวนการแกป้ ญั หาท่ดี ำเนนิ การอยา่ งเปน็ ระบบและคุ้มคา่ มากทส่ี ดุ

ง. กระบวนการแกป้ ญั หาอย่างเปน็ ระบบภายใต้ทรัพยากร ข้อจำกัดต่างๆและความค้มุ ทุน

2. กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมประกอบดว้ ยข้นั ตอนการทำงานสำคญั คือ

ก. กำหนดปัญหา สรา้ งแนวทางแก้ปญั หา ลงมือปฏิบัติ

ข. กำหนดปัญหา ดำเนินการแกป้ ัญหา ทดสอบ ประเมนิ ผล

ค. กำหนดปัญหา สรา้ งแนวทางแก้ปัญหา ดำเนินการแกป้ ัญหา ประเมินผล

ง. กำหนดปัญหา สร้างแนวคิด ดำเนนิ การแกป้ ญั หา ประเมนิ ผล นำเสนอผล

3. ข้อใดเป็นประโยชน์ของกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม

ก. ทำให้มนุษย์สขุ ภาพดขี ้นึ ข. ทำใหม้ นษุ ย์มีความสขุ มากขน้ึ

ค. ทำใหม้ นษุ ยเ์ พม่ิ จำนวนมากข้ึน ง. ชว่ ยในการแกป้ ัญหาการดำรงชวี ิตของมนุษย์

4. สมาคมนกั เทคโนโลยแี ละวิศวกรรมศึกษานานาชาติกำหนดขน้ั ตอนของแก้ปัญหาทางเทคโนโลยไี ว้

ในมาตรฐานการรเู้ รียกว่าอะไร

ก. กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม ข. กระบวนการแกป้ ญั หาทางวศิ วกรรม

ค. กระบวนการแก้ปัญหาทางเทคโนโลยี

ง. กระบวนการแก้ปญั หาทางเทคโนโลยีและวิศวกรรม

5. พิพธิ ภัณฑว์ ทิ ยาศาสตรบ์ อสตนั ขับเคลอื่ นหลักสูตรใชก้ ระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมกบั

นกั เรยี นในระดับใด

ก. ระดบั อนุบาล ข. ระดับประถมศึกษา

ค. ระดบั มธั ยมศึกษา ง. ระดับอุดมศกึ ษา

6. ข้อใดไมไ่ ดก้ ล่าวถึงความสำคญั ของกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม

ก. เป็นวิธกี ารทำงานภายใต้เงื่อนไขและข้อจำ

ข. เปน็ สว่ นหน่ึงในกระบวนการวิจัยเพือ่ สอบสนองความต้องการของมนุษย์

ค. เป็นเครอื่ งมือทชี่ ว่ ยเสรมิ สร้างและพฒั นาการเรียนรดู้ า้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ

เทคโนโลยีให้กับผูเ้ รยี น

ง. เป็นกระบวนการทีเ่ อาแนวคดิ ทางวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ วิศวกรรมศาสตร์

มาพัฒนาแนวทางแก้ปญั หาที่เหมาะสมทส่ี ุด

7. ขอ้ ใดกลา่ วถึงความสำคญั ของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมได้ถกู ทส่ี ุด
ก. เป็นเคร่อื งมอื สำหรบั นักวศิ วกรรมศึกษานานาชาติ



ข. เปน็ เครือ่ งมือการวางแผนเพ่ือหาแนวทางแก้ปญั หา

ค. เปน็ เครือ่ งมือค้นหาปัญหางานภายใต้เง่ือนไขและข้อจำกัด

ง. เป็นเคร่ืองมือท่ชี ่วยเสรมิ สร้างและพฒั นาการเรียนรดู้ า้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ

เทคโนโลยใี หก้ บั ผูเ้ รียน

8. ข้อใดหมายถงึ กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม

ก. Efficient Design Process ข. Education Design Process

ค. Engineering Design Process ง. Elementary Design Process

9. ข้อใดคือส่วนประกอบของการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม

ก. วิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ ข. คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยีและกำลังไฟฟา้

ค. วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี

ง. วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสมองกลฟงั ตัว

10. กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมเปน็ การประยกุ ต์ใช้ศาสตร์ใดบ้าง

ก. วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ศลิ ปะศาสตร์ ข. วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี

ค. คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คมศาสตร์ ง. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คมศาสตร์

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

เล่มที่ 2 1

การบรู ณาการความร้ใู นการแก้ปญั หา

เวลา 30 ชว่ั โมง

ขั้นที่ 1 การหาความรู้ ปฏิบตั ิการ ฝกึ อ่าน : ฝกึ คิด
Operation

วิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือ สำคัญที่ช่วยใหไ้ ด้ความรูพ้ ื้นฐานสำหรับการพัฒนาต่อ
ยอดเป็นความรู้ใหม่เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันและพัฒนานวัตกรรมที่ทำให้คุณภาพชีวิต
และความเป็นอย่ขู องมนุษย์ดีขึ้นท้ังนี้กระบวนการแกป้ ัญหาและการสร้างนวัตกรรมในสถานการณ์จริง
อาจมีการใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม (Engineering Design Process) ซึ่งมีขั้นตอนอย่างไรจะ
ไดศ้ กึ ษาตอ่ ไปในบทเรียนน้ี

กระบวนการออกแบบเชิง
วิศวกรรมมขี ้นั ตอนแตกต่างจากวธิ ีการทาง

วิทยาศาสตร์หรือไม่

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมคืออะไร

กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมประกอบด้วยองค์ประกอบ 6 ข้นั ตอน ไดแ้ ก่

1.ระบุปัญหา (Problem Identification) เป็นการทำความเข้าใจปัญหาหรือความท้าทาย

วเิ คราะหเ์ งื่อนไขหรือข้อจำกดั ของสถานการณป์ ัญหา เพ่ือกำหนดขอบเขตของปัญหา ซึง่ จะนำไปสู่การ

สร้างชิน้ งานหรอื วธิ ีการในการแกป้ ญั หา

2.รวบรวมขอ้ มูลและแนวคิดท่ีเกย่ี วข้องกับปัญหา (Related Information Search) เป็น

การรวบ รวมข้อมูลและแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับแนว

ทางการแก้ปัญหาและประเมินความเป็นไปได้ ข้อดีและข้อจำกัด ซึ่งในการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับ

ปญั หาอาจทำไดห้ ลายวิธี เช่น

- การสบื คน้ จากอนิ เทอรเ์ นต็ ที่นา่ เช่อื ถอื

- การสอบถามจากผู้เช่ยี วชาญ

- การสืบค้นจากเอกสาร บทความ งานวิจยั -การทดลองทางวทิ ยาศาสตร์

3.ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา (Solution Design) เป็นการประยุกต์ใช้ข้อมูลและแนวคิดท่ี

เกี่ยวข้องเพื่อการออกแบบชิ้นงานหรือวิธีการในการแก้ปัญหา โดยคำนึงถึงทรัพยากร ข้อจำกัดและ

เงื่อนไขตามสถานการณ์ทีก่ ำหนด

4.วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา (Planning and Development) เป็นการกำหนด

ลำดับขั้นตอนของการสร้างชิ้นงานหรือวิธีการ แล้วลงมือสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการเพื่อใช้ในการ

แก้ปัญหา

2

5.ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน (Testing,
Evaluation and Design Improvement) เป็นการทดสอบและประเมินการใช้งานของชิ้นงานหรือ
วิธีการ โดยผลที่ได้อาจนำมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาให้มีประสิทธิภาพในการแก้ปัญหาได้อย่าง
เหมาะสมท่ีสดุ

6.นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน (Presentation) เป็นการ
นำเสนอแนวคดิ และขัน้ ตอนการแก้ปญั หาของการสรา้ งชนิ้ งานหรือการพัฒนาวิธีการ ใหผ้ ูอ้ น่ื เขา้ ใจและ
ไดข้ ้อเสนอแนะเพอื่ การพัฒนาต่อไป

ในการปฏบิ ัตงิ านสามารถยอ้ นขนั้ ตอนการทำงาน
กลับไปมา และอาจะทำงานซำ้ บางขัน้ ตอน เพ่ือ

พฒั นาหรือปรับปรุงการแกป้ ัญหาใหด้ ขี ึ้น

กจิ กรรม สืบเสาะ คน้ หา

เรอื่ ง สายไฟแปง้ โดว์
จุดประสงคข์ องกจิ กรรม

1. สรา้ งสายไฟแปง้ โดว์เพ่ือทำให้หลอด LED สว่าง ตามเง่ือนไขท่ีกำหนด
2. นำเสนอขัน้ ตอนการสร้างสายไฟแปง้ โดว์
วัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี

รายการ ปรมิ าณต่อกลุ่ม

สารเคมี

1. แป้งโดว์ 1 กอ้ น (30 g)

2. เกลือแกง 5g

3. น้ำตาลทราย 5g

4. เบกก้ิงโซดา 5g

5. น้ำกลัน่ 3 mL

รายการ ปรมิ าณต่อกลุ่ม

วัสดแุ ละอุปกรณ์

1. หลอด LED ขนาดเลก็ (1.5V) 2 หลอด

2. สายไฟท่ีต่อกับคลิปปากจระเข้ 1 เสน้

3. ถา่ นไฟฉาย 1.5V 2 ก้อน ในรางถ่าน 1 ชุด

4. ภาชนะสำหรบั ผสม 1 ใบ

5. ผงั ตำแหนง่ ของหลอด LED และรางถา่ น 1 แผ่น

OFF-ON 3

การเตรยี มล่วงหน้า
1. เตรียมแปง้ โดว์ ดังนี้
- ชงั่ แป้งสาลี 200 g ตวงน้ำมนั ถว่ั เหลือง 20 mL และ น้ำกล่ัน 100 mL
- เติมนำ้ มนั ถวั่ เหลอื งลงในแป้งสาลี ผสมใหเ้ ข้ากนั
- คอ่ ย ๆ เตมิ นำ้ กลัน่ ลงไป และนวดให้ส่วนผสมท้งั หมดเข้ากัน
(แปง้ โดวท์ ี่เตรยี มไดส้ ามารถใชไ้ ด้กบั การทดลองของนกั เรียนประมาณ 10 กลุ่ม)
2. ชง่ั แป้งโดว์แบ่งให้นักเรยี นแต่ละกลุม่ กล่มุ ละ 30 g
ผังตำแหน่งของหลอด LED และรางถา่ น

วิธีทำกิจกรรม
1. ทดสอบการต่อวงจรไฟฟ้า โดยตอ่ สายไฟท่ีต่อกบั คลิปปากจระเข้กบั หลอด LED ซึ่งต่อกบั รางถ่านดัง
รปู ตามผงั ท่ีกำหนดสังเกตความสวา่ งของหลอด LED และบันทกึ ผล และบันทึกผล

หลอด LED

18 cm
รางถา่ น

หลอด LED

4

2. ตอ่ วงจรไฟฟา้ ตามข้อ 1 แต่เปลยี่ นสายไฟท่ตี อ่ กับทิพย์ปากจระเขเ้ ปน็ แป้งโดวส์ ังเกตความสวา่ งของ
หลอด LED และบันทกึ ผล
3. ออกแบบวิธีการเตมิ สารลงในแปง้ โดว์และการตอ่ วงจรเพื่อทำใหห้ ลอดแอลอีดีท้งั 2 หลอดสว่างและ
ทำการทดลองตามเงื่อนไขดังนี้

- เลือกใชส้ ารเคมเี พียง 1 ชนิดจากสารเคมีต่อไปน้เี พื่อละลายในน้ำและผสมลงในแป้งโดวท์ ้ัง
ก้อน

1.เกลือแกง (NaCl) 2. น้ำตาลทราย (C12H22O11) 3. เบกก้งิ โซดา (NaHCO3)
- วางตำแหน่งของหลอด LED กำหนดให้
- กำหนดระยะเวลาดำเนนิ การภายใน 30 นาที
- กลุ่มท่ใี ช้สารเคมปี ริมาณน้อยที่สดุ จะได้คะแนนมากที่สดุ
4.บันทกึ ข้อมลู ลงในแบบฟอร์ม “การบนั ทึกข้อมูลการดำเนินการ” ท่ีกำหนดให้
5. นำเสนอขอ้ มลู การดำเนนิ การ
ผลการทำกิจกรรม
การบันทึกข้อมูลการดำเนินการ
1. เปรยี บเทยี บความสว่างของหลอด LED เม่ือตอ่ วงจรไฟฟ้าด้วยสายไฟทีต่ ่อกบั คลปิ ปากจระเข้และ
แป้งโดว
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ระบปุ ญั หาและเงื่อนไขในการแก้ปัญหา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5

3. ระบสุ ารเคมที เี่ ลือกใช้เติมลงในแป้งโดว์ พรอ้ มอธบิ ายเหตุผล
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. ออกแบบขน้ั ตอนการดำเนินการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ดำเนนิ การตามข้ันตอนท่ไี ดอ้ อกแบบไว้และระบผุ ลการดำเนนิ การในครั้งแรก
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. ระบวุ ิธกี ารปรับปรุงแก้ไข หากไมส่ ามารถทำให้หลอด LED ท้งั สองหลอดสว่างในครั้งแรกของการ
ดำเนินการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

6

7. สรุปวิธกี ารดำเนินการและเสนอแนะวิธกี ารดำเนนิ การท่ีให้ผลดขี ึ้น พร้อมวาดรปู การต่อ วงจรไฟฟา้
สำหรับทดสอบความสวา่ งของหลอด LED
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
รูปการตอ่ วงจร

สรุปผลการทำกจิ กรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ตรวจสอบความเขา้ ใจ

วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมมสี ่วนของวตั ถปุ ระสงค์
และขัน้ ตอนท่ีเหมือนและต่างกันอย่างไร
วัตถุประสงค์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

7

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้นั ตอน

วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมมขี ้นั ตอนทง้ั สว่ นที่เหมือนกนั
และแตกต่างกนั ดังแผนภาพ

วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

8

เรื่อง การแกป้ ญั หาโดยการบูรณาการความรู้
จุดประสงคข์ องกิจกรรม

เลอื กสถานการณ์ปัญหาหรอื ประเดน็ ทีส่ นใจและออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาโดยการบรู
ณาการความรทู้ างเคมีกบั ความรใู้ นศาสตร์อ่นื และใชว้ ธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการ
ออกแบบเชิงวิศวกรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

9

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

10

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………..…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

11

เกณฑ์การใหค้ ะแนนสำหรับแบบประเมนิ ระหวา่ งการทำ กิจกรรมท่ี 2 การแก้ปัญหาโดยการบูรณา
การความรู้

สิง่ ทีต่ ้องการประเมิน เกณฑก์ ารประเมิน ระดับคณุ ภาพ
ดี
การสำรวจปัญหาและการ มีข้อมูลจากการสำรวจสนับสนุน
ตั้งคำ ถาม/การระบปุ ัญหา ให้เห็นความสำคัญของปัญหา พอใช้
และตั้งคำถาม/ระบุปัญหาได้ ตอ้ งปรับปรุง
การกำหนดวตั ถปุ ระสงค์ สอดคลอ้ งกับสถานการณป์ ัญหา
และขอบเขตของงาน ดี
มีข้อมูลจากการสำรวจสนับสนุน พอใช้
การออกแบบวิธีดำเนินการ ให้เห็นความสำคัญของปัญหา ต้องปรับปรุง
แก้ปญั หา แต่ตง้ั คำถาม/ระบุปัญหาไมส่ อด
คลอ้ งกับสถานการณ์ปญั หา ดี
พอใช้
ไม่มีข้อมูลจากการสำรวจ
สนับสนุนให้เห็นความสำคัญ
ของปัญ หาและตั้งคำถาม/ระบุ
ป ั ญ ห า ไ ม ่ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ
สถานการณป์ ญั หา

มีการศึกษาค้นคว้าความรู้ทาง
เคมีและความรู้หรือข้อเท็จจริง
อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาและ
เพียงพอในการแกป้ ัญหา

มีการศึกษาค้นคว้าความรู้ทาง
เคมีและความรู้หรือข้อเท็จจริง
อื่น ๆ ท่ีเกย่ี วข้องกับปัญหาแต่ไม่
เพียงพอในการแก้ปญั หา

มีการศึกษาค้นคว้าความรู้ทาง
เคมีและความรู้หรือข้อเท็จจริง
อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับปัญหา
เปน็ ส่วนใหญ่

วธิ ดี ำเนนิ การสอดคล้องและ
ครอบคลุมกับวตั ถปุ ระสงค์และ
ขอบเขตของงานและเป็น
แนวทางทน่ี ำไปส่กู ารแกป้ ญั หา
ได้

วธิ ีดำเนินการสอดคล้องแต่ไม่
รอบคลมุ วตั ถุประสงค์และ
ขอบเขตของงานทั้งหมด และ

การดำเนนิ การแกป้ ญั หา เปน็ แนวทางท่ีนำ ไปส่กู าร 12
แก้ปัญหาได้
ตอ้ งปรบั ปรงุ
วธิ ดี ำเนินการไม่สอดคลอ้ งกบั ดี
วัตถุประสงคแ์ ละขอบเขตของ
งาน และไม่ใชแ่ นวทางทีน่ ำ ไปสู่ พอใช้
การแกป้ ัญหาได้ ต้องปรบั ปรงุ

ดำเนนิ การแก้ปัญหาตามทไี่ ด้
ออก
แบบวิธกี ารไว้ และใช้อุปกรณ์/
เครือ่ งมอื ในการดำ เนินการได้
อยา่ งถูกต้องเหมาะสม

ดำเนนิ การแกป้ ัญหาตามที่ได้
ออกแบบวธิ กี ารไว้ แต่ใช้
อปุ กรณ/์ เครือ่ งมือในการ
ดำเนินการไมถ่ ูกตอ้ งเหมาะสม

ดำเนินการแกป้ ญั หาโดยไม่
เป็นไปตามข้ันตอนทไี่ ดอ้ อกแบบ
วธิ ีการไวแ้ ละใช้อุปกรณ/์
เครือ่ งมือในการดำ เนนิ การไม่
ถกู ต้องเหมาะสม

13

นักวิทย์ฯ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ

ขนั้ ที่ 3 ซึมซบั ความรู้ ปฏิบัติการ คดิ ดี ผลงานดี มคี วามสุข
Assimlation

คำชีแ้ จง ให้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่ม อา่ นข่าวท่ีกำหนดให้และเติมขอ้ ความลงในชอ่ งวา่ งให้ถูกตอ้ งและ
สมบรู ณ์

เปดิ 3 ฉากทศั นโ์ ควดิ -19 ระบาดรอบใหม่ กลางเดือน ม.ค.64
อาจตดิ เชื้อถงึ วันละ 18,000 รายหากไมท่ ำอะไรเลย
: ที่มา ผูจ้ ัดการออนไลน์ 29 ธ.ค. 2563 13:37

โควิด-19 กระจายเกินครึ่งประเทศ โฆษก ศบค. เปิด 3 ฉากทัศน์ แนวโน้มการระบาดระลอก
ใหม่ของโควิด-19 คาดเดือน ม.ค.64 จะมีผู้ติดเชื้อรายวัน 18,000 คนต่อวัน ระบุทำกลางๆ ยังติดเช้ือ
วนั ละ 4-8 พนั คน ยำ้ ยกการด์ เขม้ สูงสดุ โอกาสติดเชือ้ วนั ละ 1 พนั

วันนี้ (29 ธ.ค.) นายแพทย์ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน โฆษกศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) แถลงสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ประจำวัน
ว่า แนวโน้มการระบาดของโควิด-19 ระลอกใหม่ จากภาพฉากทัศน์การระบาด ซึ่งทีมคณะทำงาน
ระบาดวิทยาของกรมควบคมุ โรค เสนอ 3 ฉากทัศน์ ดงั นี้

ฉากทัศน์แรก ถา้ ไมท่ ำอะไรเลยจะพบว่าสแี ดงระฆังควำ่ ตัวเลขจะชันขน้ึ เรื่อยๆ และถงึ วนั ที่ 14
ม.ค. 64 จะมีผ้ปู ว่ ยต่อวนั 18,000 คน และจะเร่ิมตน้ จากขึ้นวันละ 1,000-2,000 คนจะชันข้ึนเรอ่ื ยๆ

ฉากทศั น์ท่ี 2 หากมมี าตรการกลางๆ คือ เสน้ กราฟสเี หลอื ง ซ่งึ กำลังดำเนินการอยู่ คาดว่า จะ
มีผูป้ ว่ ยรายใหม่ 4,000 คนตอ่ วนั เรียกว่าสะสมไม่นานก็จะหลักหมื่นภายในไม่กวี่ นั

ฉากทัศน์สุดท้าย คอื กราฟสีเขียว ถา้ รว่ มมอื กนั ใสห่ น้ากากอนามยั การลา้ งมอื บ่อยๆ จะน้อย
กว่า 1,000 คนต่อวัน

“ระลอก 2 ระลอกใหม่ที่ตอนนี้ผมพูดตามคำวิชาการ แต่ไม่อยากเห็นเส้นภาพสีแดง ซึ่ง
กลางเดือน ม.ค.64 ตอนนี้เรายังอยู่ในเส้นสีส้ม ยอมรับว่ากังวลใจ เพราะแค่เส้นสีส้มยังทแยงขึ้น 45
องศา ตอ้ งมคี นป่วยหลกั พันหลักหมนื่ ถ้าป่วย 8,000 คนต่อวันคือตวั เลขท่สี ูงมาก” นายแพทย์ทวีศิลป์
กล่าว

นพ.ทวีศิลป์ กล่าวว่า ที่ประชุม ศบค.ชุดเล็กวิเคราะห์สถานการณ์แพร่ระบาดในไทย ขณะนี้
แบ่งออก 2 แบบ คือ 1. การติดเชื้อจากบุคคลสู่บุคคล คือ รู้ว่าตัวเองไปในพื้นที่เสี่ยง/กิจกรรมเสี่ยง
และไม่รู้ และไม่ระมัดระวังวา่ ได้สัมผัสหรือใกล้ชิดกับผู้ติดเช้ือ เช่น กรณีผู้ว่าฯสมทุ รสาคร และ 2.การ
ติดเชื้อแบบกลุ่มก้อน ซึ่งมีสาเหตจากการเข้าไปร่วมกิจกรรมต่างๆ เช่น งานเลี้ยงสังสรรค์ การประชุม
และกิจกรรมทล่ี ักลอบ เชน่ การพนนั ม่ัวสมุ ทำให้เกดิ การตดิ เชอ้ื ตัวเลข 2 หลกั

“ขณะนี้ยังคงมาตรการที่ ศบค.ชุดใหญ่ประกาศ 4 พื้นที่ควบคุมสูงสุด พื้นที่ควบคุม พื้นที่เฝ้า
ระวังและที่ต้องเร่งดำเนินการเพิ่ม คือ ทางจังหวัด ต้องหารือในจังหวัดให้แบ่งส่วนพื้นที่ต่างๆ ภายใน

14

วันพรุ่งน้ี (30 ธ.ค.) ต้องแบ่งออกมาในระดับอำเภอ เช่น กรณี จ.ระยอง ขณะนี้พื้นที่ควบคุมสูงสุด คือ
อำเภอเมืองระยอง” นพ.ทวีศลิ ป์ กล่าว

ประเภทของขา่ ว ………………………………………………………………………
………………………………………………………………………

……………………………………..

พาดหวั ข่าว ………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
เหตุการณ์ที่ ………………………………………………………………………
เกดิ ขนึ้ ในขา่ ว ………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………

………………

……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
คะแนน…ท…่ไี ด…้………………………….…คะ…แ…น…น……………………

15

แบบทดสอบหลังเรียน

หน่วยท่ี 2 เรื่องการบรู ณาการความรู้ในการแกป้ ัญหา วิชาเคมี

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 10 นาที

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

คำชแ้ี จง

1. แบบทดสอบฉบบั น้ีเปน็ แบบปรนัยเลือกตอบ 4 ตวั เลอื ก จำนวน 10 ข้อใช้เวลาในการสอบ 10 นาที

2. ให้นักเรยี นเลือกคำตอบท่ถี ูกต้องท่สี ดุ เพยี งคำตอบเดยี วแล้วทำเคร่ืองหมาย × ลงในกระดาษคำตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1. กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมหมายถงึ ข้อใด

ก. กระบวนการแกป้ ัญหาอย่างเปน็ ระบบในด้านตา่ งๆ

ข. กระบวนการแกป้ ัญหาอยา่ งถกู ต้องและได้ผลลพั ธ์มากที่สดุ

ค. กระบวนการแก้ปญั หาท่ีดำเนนิ การอยา่ งเป็นระบบและคุ้มค่ามากที่สุด

ง. กระบวนการแก้ปัญหาอยา่ งเป็นระบบภายใต้ทรพั ยากร ข้อจำกดั ต่างๆและความคุม้ ทุน

2. กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมประกอบดว้ ยขนั้ ตอนการทำงานสำคัญคือ

ก. กำหนดปญั หา สรา้ งแนวทางแกป้ ัญหา ลงมอื ปฏบิ ัติ

ข. กำหนดปญั หา ดำเนนิ การแก้ปญั หา ทดสอบ ประเมนิ ผล

ค. กำหนดปัญหา สร้างแนวทางแก้ปัญหา ดำเนนิ การแกป้ ัญหา ประเมินผล

ง. กำหนดปัญหา สรา้ งแนวคิด ดำเนนิ การแก้ปญั หา ประเมนิ ผล นำเสนอผล

3. ขอ้ ใดเป็นประโยชนข์ องกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม

ก. ทำให้มนุษย์สขุ ภาพดขี น้ึ ข. ทำใหม้ นษุ ย์มีความสุขมากขนึ้

ค. ทำใหม้ นุษย์เพ่มิ จำนวนมากขนึ้ ง. ช่วยในการแกป้ ัญหาการดำรงชวี ิตของมนุษย์

4. สมาคมนักเทคโนโลยีและวศิ วกรรมศึกษานานาชาติกำหนดขั้นตอนของแกป้ ัญหาทางเทคโนโลยีไว้

ในมาตรฐานการรเู้ รยี กวา่ อะไร

ก. กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม ข. กระบวนการแก้ปญั หาทางวิศวกรรม

ค. กระบวนการแก้ปัญหาทางเทคโนโลยี

ง. กระบวนการแกป้ ัญหาทางเทคโนโลยแี ละวิศวกรรม

5. พิพธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตร์บอสตนั ขบั เคลอื่ นหลักสูตรใช้กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมกับนกั เรยี น

ในระดบั ใด

ก. ระดับอนบุ าล ข. ระดบั ประถมศึกษา

ค. ระดับมัธยมศึกษา ง. ระดบั อดุ มศึกษา

6. ข้อใดไมไ่ ด้กล่าวถึงความสำคญั ของกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม

ก. เปน็ วิธีการทำงานภายใต้เง่ือนไขและข้อจำ

ข. เปน็ สว่ นหนงึ่ ในกระบวนการวิจัยเพอ่ื สอบสนองความต้องการของมนุษย์

ค. เปน็ เครือ่ งมือทีช่ ่วยเสริมสรา้ งและพัฒนาการเรียนรู้ด้านวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และ

เทคโนโลยีให้กบั ผูเ้ รยี น

ง. เปน็ กระบวนการทเ่ี อาแนวคดิ ทางวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ วศิ วกรรมศาสตร์

มาพัฒนาแนวทางแก้ปญั หาท่ีเหมาะสมท่สี ุด

16

7. ข้อใดกล่าวถึงความสำคัญของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมได้ถกู ที่สดุ

ก. เปน็ เคร่ืองมอื สำหรับนักวศิ วกรรมศกึ ษานานาชาติ

ข. เปน็ เคร่ืองมือการวางแผนเพือ่ หาแนวทางแกป้ ัญหา

ค. เป็นเครือ่ งมือค้นหาปัญหางานภายใต้เง่อื นไขและข้อจำกัด

ง. เป็นเคร่อื งมือทชี่ ่วยเสริมสรา้ งและพัฒนาการเรียนร้ดู ้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ

เทคโนโลยีใหก้ บั ผเู้ รียน

8. ขอ้ ใดหมายถึงกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

ก. Efficient Design Process ข. Education Design Process

ค. Engineering Design Process ง. Elementary Design Process

9. ข้อใดคือส่วนประกอบของการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม

ก. วิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ ข. คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและกำลงั ไฟฟา้

ค. วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี

ง. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสมองกลฟงั ตวั

10. กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมเปน็ การประยุกต์ใช้ศาสตรใ์ ดบ้าง

ก. วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ศิลปะศาสตร์ ข. วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี

ค. คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คมศาสตร์ ง. วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คมศาสตร์

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

17

บรรณานกุ รม

สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). คมู่ ือครู รายวชิ าเพิ่มเตมิ วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี เคมี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 เล่ม 6.พมิ พ์ครั้งที่ 1 ; กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์แหง่
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.

สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). หนงั สอื เรยี นรายวิชาเพ่ิมเติมวิทยา
ศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เคมี เลม่ 1. พิมพ์ครัง้ ท่ี 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย.

ผู้จัดการออนไลน.์ (2563). เปิด 3 ฉากทัศนโ์ ควดิ -19 ระบาดรอบใหม่ กลางเดือน ม.ค.64 อาจตดิ เชอ้ื
ถึงวันละ18,000 ราย หากไม่ทำอะไรเลย. สบื ค้นเม่อื 30 ธนั วาคม 2563,
จาก https://mgronline.com/qol/detail/9630000132918


Click to View FlipBook Version