The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดที่ 3 เรื่องการนำเสนอผลงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2022-10-25 11:25:46

ชุดที่ 3 เรื่องการนำเสนอผลงาน

ชุดที่ 3 เรื่องการนำเสนอผลงาน





คำนำ

ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์หน่วยที่ 3 การนำเสนอผลงาน ตามแนวคดิ แบบโยนโิ ส

มนสิการ จดั ทำเพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิความพงึ พอใจทางการเรียนเคมี

ส่งเสรมิ ความสามารถทางการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ สำหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/1-3

โรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม โดยในทกุ กิจกรรมไดจ้ ดั ลำดบั ข้นั ตอนท่ีเนน้ การเพม่ิ พนู

ประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ นกั เรยี นจะไดร้ บั การทดสอบก่อนเรียน และศึกษาเน้ือหาความรู้ที่

สง่ เสริมให้นกั เรียนศกึ ษาและสืบค้น โดยมีความรูเ้ พิ่มเตมิ นอกเหนอื จากในบทเรยี น การตอบคำถาม

การทำแบบฝกึ หัด และทำกจิ กรรมการทดลองตามข้ันตอนตลอดจนทำแบบทดสอบหลงั เรียน เพื่อ

ประเมินตนเองหลังจากการเรียนรู้ในแตล่ ะกจิ กรรมการเรียนรู้

ผู้จัดทำหวงั เปน็ อยา่ งยิ่งว่า ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ หน่วยท่ี 3 การนำเสนอผลงาน

ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการจะทำให้ผู้เรยี นมคี วามรู้และความสามารถในการสืบค้น การ

จัดระบบส่งิ ท่เี รยี นรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพือ่ สร้างองค์ความรู้ ได้เป็นอยา่ งดี

สามารถนำความรู้ท่ีไดจ้ ากการเรียนรู้ไปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ และเป็นประโยชน์สำหรบั ผู้

ที่สนใจใชเ้ ป็นแนวทาง ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้

ต่อไป

นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรตั น์



สารบัญ

เรอ่ื ง หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
ข้อแนะนำการเรยี นรู้ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ ค
โครงสร้างชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ง
แบบทดสอบกอ่ นเรียน จ
ข้นั ที่ 1 การหาความรู้ ปฏบิ ัติการ ฝกึ อ่าน : ฝกึ คิด 1
1
- หัวขอ้ รายงาน 2
- กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4
- กิจกรรมร่วมกนั คน้ 18
- กจิ กรรม สืบเสาะ คน้ หา 1 เรื่อง สบื คน้ ข้อมลู รูปแบบการเขียนบรรณานุกรม 11
- หัวขอ้ การนำเสนอดว้ ยโปสเตอร์ 11
- กิจกรรม สบื เสาะ ค้นหา 2 เรื่อง การจัดทำและนำเสนอข้อมูลในโปสเตอร์ 14
- ขนั้ ที่ 2 สร้างความรู้ ปฏบิ ัติการ ฝกึ ทำ : ฝกึ สรา้ ง 14
- ฝกึ ทำ : ฝกึ สรา้ งเรื่อง การนำ เสนอผลงานจากกิจกรรมการแกป้ ญั หาโดย 14
16
การบูรณาการความรู้ 16
ข้นั ท่ี 3 ซมึ ซบั ความรู้ ปฏบิ ัติการ คิดดี ผลงานดี มีความสุข 19
23
- นกั วทิ ยฯ์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ
แบบทดสอบหลังเรยี น
บรรณานกุ รม



ขอ้ แนะนำการเรยี นรู้ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์

สำหรบั นักเรียน
จุดประสงค์ของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มุ่งหวังให้นักเรียนเป็นผู้มีความสามารถทางการจัดการความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ 3 ดา้ น ไดแ้ ก่

1. ดา้ นความรู้ ความคิด
2. ดา้ นทกั ษะการจัดการความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์
3. ดา้ นค่านยิ มตอ่ ตนเองเพื่อสังคม
ซ่ึงนักเรียนจะได้เสริมสร้างความสามารถดังกล่าวดังนี้ 1.การหาความรู้ (Operation) จากกิจกรรมการ
สืบเสาะ ค้นหา กิจกรรมร่วมกันคิด และกิจกรรมร่วมกันค้น 2.การสร้างความรู้ (Combination) เป็นข้ันฝึกการ
วิเคราะห์ประกอบด้วยการฝึกคิดแบบสืบสาวปัจจัยเหตุและแบบแยกแยะส่วนประกอบโดยใช้ ข้อความและ
สถานการณ์ เพื่อพัฒนาตนเอง 3. การซึมซับความรู้ (Assimilation) เป็นข้ันที่ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลจาก
แหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น หนังสือ อินเตอร์เน็ต ฝึกคิดอย่างมีวิจารณญาณ ฝึกทักษะการเขียนเพื่อนำเสนอแก้ไข
ปัญหาที่พบ ประกอบการตอบคำถามฝึกการวิเคราะห์จุดเด่น และจุดด้อยของผลงาน ตรวจสอบและปรับปรุงเพ่ือ
สร้างชิ้นงานใหม่ต่อไปได้ และข้อเสนอแนะกับผู้อ่านได้ โดยในทุกกิจกรรมได้จัดลำดับข้ันตอนท่ีเน้นการเพิ่มพูน
ประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อเปน็ ผ้มู คี วามสามารถทางการจดั การความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ดังน้ี
1. อา่ น และทำความเขา้ ใจในทุกขัน้ ตอนของกจิ กรรมการเรยี นรู้
2.รักและสนใจตนเอง สร้างความรู้สึกท่ีดีให้กับตนเอง ว่าตัวเราเป็นผู้มีความสามารถมีศักยภาพอยู่ในตัว
และพร้อมที่จะเรยี นรู้ทกุ สิ่งท่สี ร้างสรรค์
3. รสู้ ึกอิสระและแสดงออกอย่างเตม็ ความสามารถ
4. ฟงั คิด ถาม เขียน ปฏิบัติ อยา่ งรอบคอบในทุกกิจกรรม ใชเ้ นอื้ ที่กระดาษที่จดั ไว้สำหรับเขียนให้เต็ม โดย
ไมป่ ล่อยใหเ้ หลอื เปลา่ เพอ่ื ให้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ กบั ตนเอง
5. ใชเ้ วลาในการเรียนรอู้ ยา่ งคุม้ ค่า ใชท้ ุกๆ นาทที ำใหต้ นเองมีความสามารถเพ่ิมมากขึ้น
6. ตระหนักตนเองอยู่เสมอว่าจะเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ นำมาพฒั นาตนเองและพฒั นาสงั คม

จดุ เดน่ ของการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ คือ การสร้างคุณค่าทีด่ ีให้กบั สังคม
จึงขอเชญิ ชวนนักเรียน มาร่วมกนั เรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
ด้วยใจรกั และ พฒั นาตนให้เต็มขีดความสามารถ

ขอส่งความปรารถนาดีให้แก่นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างมีความสุขพ่ึงตนเองได้ และเป็นผู้มี
ความสามารถทางการจัดการความร้ทู างวทิ ยาศาสตรเ์ พื่อสงั คม ยิ่งๆ ขึ้น สืบไป



โครงสร้างชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ หน่วยท่ี 3 การนำเสนอผลงาน

สาระสำคญั
การนำเสนอผลงานเปน็ การสื่อสารเพื่อสรปุ ให้บุคคลอืน่ ไดร้ ับทราบถึงผลการดำเนินการที่ผูน้ ำเสนอไดศ้ ึกษา

มา การนำเสนอสาระสำคัญของผลงานควรทำให้อยใู่ นรูปแบบท่ีเขา้ ใจง่ายและใช้ส่ือประกอบอยา่ งเหมาะสมและมี
คณุ ภาพ

โดยท่วั ไปการนำเสนอผลงานทางวิทยาศาสตร์อาจอย่ใู นรูปของ รายงาน โปสเตอรก์ ารบรรยาย บทความ
หรอื การแสดงช้ินงาน ซ่ึงการเข้าใจหลักการในการเตรียมการนำเสนอในแต่ละรปู แบบ เปน็ การสง่ เสรมิ ให้การ
นำเสนอนนั้ มีประสิทธภิ าพมากขึ้นในท่นี ี้จะกล่าวถึงหลักการเบอื้ งตน้ ในการเขยี นรายงานการเตรียมโปสเตอร์และการ
เตรยี มการบรรยาย

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายจดั ทำรายงานการแก้ปัญหาโดยการบรู ณาการความรู้ (K)
2. นำเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (P)
3. เห็นคุณค่าทางวิทยาศาสตร์ ตัง้ ใจเรยี นรแู้ ละแสวงหาความรู้ (A)

การจัดกระบวนการเรียนรู้ใช้รปู แบบการจัดการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มี 3 ข้ัน คือ
1. การหาความรู้ (Operation)
2. การสร้างความรู้ (Combination)
3. การซึมซบั ความรู้ (Assimilation)
เวลาท่ใี ช้ 12 ชว่ั โมง

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
นักเรยี นประเมินผลตนเองโดยใช้แบบประเมนิ ผลตนเองก่อนเรียน-หลังเรยี น



หนว่ ยที่ 3 เรอ่ื งการนำเสนอผลงาน แบบทดสอบกอ่ นเรยี น วชิ าเคมี
ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 เวลา 20 นาที
ภาคเรยี นที่ 2

คำชี้แจง
1. แบบทดสอบฉบับนี้เปน็ แบบปรนยั เลอื กตอบ 4 ตวั เลอื ก จำนวน 30 ขอ้ ใชเ้ วลาในการสอบ 20 นาที
2. ใหน้ ักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกตอ้ งทสี่ ดุ เพียงคำตอบเดยี ว แล้วทำเครอ่ื งหมาย × ลงในกระดาษคำตอบ

1. ข้อใดคือความหมายของการนำเสนอข้อมูล

ก. การส่อื สารเพื่อเสนอข้อมลู

ข. การแสดงความคิดเหน็

ค. การตดั สินใจในการดำเนินงาน

ง. การแลกเปลย่ี นข้อมูล

2. ข้อใดไมใ่ ชว่ ัตถุประสงค์ในการนำเสนอขอ้ มลู

ก. เพอ่ื ใหผ้ รู้ บั การนำเสนอขอ้ มลู รับทราบความคิดเหน็

ข. เพื่อใหผ้ ู้รับการนำเสนอข้อมลู ไดร้ ับความรจู้ ากข้อมลู ท่นี ำเสนอ

ค. เพ่ือบรรยายข้อมูลทางดา้ นวิชาการ

ง. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์

3. การจัดเรยี งลำดับข้อใดจัดเป็นลำดับแรก

ก. แสดงช่อื เรอื่ ง พรอ้ มชื่อของผ้นู ำเสนอ ข. แสดงวตั ถุประสงค์

ค. แสดงหวั ขอ้ ในการนำเสนอ ง. แสดงเน้ือหาในการนำเสนอ

4. นยิ าม หมายถงึ อะไร

ก. การกำหนด หรือการจำกัดความหมายท่ีแน่นอน ข. ศพั ท์เฉพาะ

ค. ศพั ทป์ กติ

ง. ความหมายของคำที่กำหนดตามพจนานุกรม

5. ข้อใดกล่าวถงึ ประโยชน์ของการ นิยามศัพท์เฉพาะ ได้ถูกตอ้ งที่สดุ

ก. ชว่ ยให้นยิ ามศัพท์ไดถ้ ูกต้องตามแบบพจนานกุ รม

ข. ช่วยใหผ้ ้อู า่ นเขา้ ใจความหมายของศัพท์ได้ตรงกับผู้ศกึ ษาค้นควา้ กำหนด

ค. ช่วยใหผ้ อู้ ่านเขา้ ใจความหมายของศัพท์ได้ตรงกับท่ีสารานกุ รมกำหนด

ง. ช่วยให้ผลการศกึ ษาคน้ คว้าถูกต้อง ชัดเจนตามจุดมุ่งหมาย

6. ขอ้ ใด หมายถึงประชากรในการศกึ ษาค้นคว้า

ก. คน ข. คน สตั ว์

ค. คน สตั ว์ ส่งิ ของ ง. คน สัตว์ สง่ิ ของ และลักษณะทางจิตวทิ ยา

7. การศึกษาค้นคว้าตามข้อใดควรใชก้ ลุ่มตวั อย่างน้อย

ก. การใชแ้ บบสอบถาม ข. การใช้แบบทดสอบ

ค. การทดลอง และการสมั ภาษณ์ ง. การสมั ภาษณ์



8. ข้อใดเป็นการเลือกกลมุ่ ตัวอย่าง โดยการสุม่

ก. มงคล เลอื กแบบบังเอญิ ข. ดนภัทร เจาะจงตามความสะดวก

ค. ปรัชญา ใชว้ ธิ ีจบั ฉลาก ง. มารี ไม่อาศยั ความน่าจะเป็น

9. ข้อใดเปน็ ความหมายของแบบสอบถาม

ก. เครอื่ งมือที่ผู้ศกึ ษาคน้ คว้าใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล

ข. คำถามที่กำหนดให้กลุ่มตวั อยา่ งตอบโดยกาเครอ่ื งหมาย

ค. การเขยี นอธบิ ายตอบคำถามตามทผี่ ถู้ ามกำหนด

ง. ข้อเทจ็ จริง หรอื ความคิดเห็นของบุคคล

10. ข้อใดเป็นคำช้ีแจงในการตอบแบบสอบถาม

ก. เพศ ระดับการศึกษา อายุ อาชพี

ข. แจง้ จดุ มุง่ หมาย อธิบายลักษณะ ตวั อย่างการตอบแบบสอบถาม

ค. ตัง้ คำถามแบบปลายปดิ

ง. ตง้ั คำถามแบบปลายเปิด

11. ข้อใดกล่าวถึง ข้อคำถาม ได้ถูกต้อง

ก. แบบปลายปิด ผเู้ ขยี นอธบิ ายตอบด้วยตนเอง

ข. แบบปลายเปดิ จะมีคำตอบให้เลือกตอบ

ค. ไม่สามารถสรา้ งคำถามแบบปลายเปิด กับปลายปิดให้อยใู่ นแบบสอบถามชุดเดยี วกนั ได้

ง. เปน็ ส่วนสำคญั ทส่ี ดุ ที่จะชว่ ยใหไ้ ด้ข้อมลู เกย่ี วกับเรอื่ งที่ศึกษาค้นคว้า

12. การตั้งคำถามในแบบสอบถาม ควรใหส้ อดคล้องกบั เร่อื งใดมากทส่ี ดุ

ก. นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ ข. บรรณานกุ รม

ค. สมมุตฐิ าน ง. จุดม่งุ หมาย

13. ลักษณะของแบบสอบถาม ข้อใดถกู ตอ้ ง

ก. ใช้คำอธิบาย ขยายความใหม้ ากท่ีสุด

ข. ควรเกบ็ รวบรวมข้อมลู ดว้ ยตนเอง

ค. คำถามครอบคลมุ ประเด็นทัง้ หมดของการศึกษาค้นควา้

ง. เลอื กถามเฉพาะประเดน็ ท่มี ีความสำคัญ

14. แหล่งทม่ี าของข้อมูลทไ่ี ด้จากการศึกษาคน้ ควา้ จะมีความนา่ เชอ่ื ถือไดม้ ากหรือน้อย ขน้ึ อยกู่ ับอะไร

ก. ขอ้ มลู ข. ทฤษฏี

ค. ผ้ศู กึ ษาคน้ ควา้ ง. การตรวจสอบ

15. การตรวจสอบสถานที่เดยี วกนั ผลออกมาเหมือนกนั ควรปฏบิ ัติอย่างไร

ก. ผ้ศู กึ ษาควรตรวจสอบในแหล่งสถานทอ่ี นื่ ดว้ ย ข. ผศู้ ึกษาไมต่ ้องตรวจสอบแหล่งสถานทอี่ ่ืน

ค. ถูกทั้งข้อ ก และข้อ ข ง. ผศู้ ึกษาควรตรวจสอบในชว่ งเวลาทีต่ ่างกนั ดว้ ย

16. เพราะเหตุใดจงึ ต้องมีการตรวจสอบผู้ศกึ ษา

ก. เปน็ หลักการท่ีต้องปฏบิ ตั ใิ นการศกึ ษาคน้ ควา้

ข. สรา้ งความนา่ เช่ือถือไดม้ ากขึ้น



ค. เพอ่ื ใหส้ อดคล้องกบั หลักการตรวจสอบขอ้ มูล

ง. การตรวจสอบทฤษฏตี ้องตรวจสอบผู้ศกึ ษาก่อน

17. ข้อใดเปน็ การตรวจสอบทฤษฏี

ก. การพสิ จู น์วา่ ข้อมลู ที่ผู้ศึกษาค้นคว้ามา ถูกต้องหรอื ไม่

ข. การตรวจสอบในสถานที่เดียวกัน หรอื ตา่ งกัน มผี ลเหมอื นกนั หรอื ไม่

ค. การตรวจสอบว่าผูศ้ ึกษาใชแ้ นวคิดตีความข้อมลู ต่างกันมากนอ้ ยเพียงใด

ง. การตรวจสอบจากบุคคลหลายคน

18. เพราะเหตุใด จึงต้องมีการรวบรวมข้อมลู เร่ืองเดียวกนั ประกอบกบั การซักถาม และศกึ ษาขอ้ มูล เพ่มิ เติมจาก

แหล่งเอกสาร

ก. ใชต้ รวจสอบวา่ ผู้ศึกษาใชแ้ นวคดิ ทฤษฏีใดในการศึกษาค้นควา้

ข. เพอื่ ตรวจสอบผลการศกึ ษาเรือ่ งลักษณะเดียวกนั จากผู้ศึกษาหลายคน

ค. ใช้ประกอบการตรวจสอบความนา่ เชือ่ ถือของแหลง่ ท่ีมาของขอ้ มลู

ง. เพ่ือพิสูจน์วา่ ข้อมูลทีผ่ ศู้ กึ ษาคน้ คว้าได้มาน้ันถูกต้อง หรอื ไม่

19. ภาพประกอบ และตาราง จำเปน็ ต้องมีในรายงาน หรอื ไม่

ก. มี ข. ไมม่ ี

ค. มี หรอื ไม่มกี ็ได้ ง. ยังไมส่ รุป

20. เมอ่ื มีภาพประกอบ และตารางในรายงาน ควรมรี ายการใดประกอบ

ก. ชอ่ื ภาพ ข. ชอ่ื ตาราง

ค. การอา้ งองิ แหล่งทม่ี าของข้อมูล ง. ช่ือภาพ ชือ่ ตาราง และการอ้างอิง

21. ขอ้ ใดเปน็ “ส่วนนำ” ของรายงาน

ก. บทนำ ข. สารบัญ

ค. บรรณานกุ รม ง. ประวตั ยิ ่อผูร้ ายงาน

22. ข้อใดถกู ต้อง

ก. บทท่ี 5 วรรณกรรมท่ีเก่ียวขอ้ ง ข. บทท่ี 4 ผลการศึกษาคน้ คว้า

ค. บทที่ 3 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ง. บทท่ี 2 วิธีการศกึ ษาคน้ คว้า

23. รายการใดท่ตี ้องสอดคล้องกบั การอ้างองิ แทรกในเน้ือหา

ก. บรรณานุกรม ข. ภาคผนวก

ค. อภธิ านศพั ท์ ง. ประวตั ยิ อ่ ผู้ทำรายงาน

24. เพราะเหตุใดจึงต้องเลอื กใช้เคร่ืองมือการเกบ็ รวบรวมข้อมูลทเี่ หมาะสม

ก. เปน็ เทคนคิ สำคัญในการใช้เครือ่ งมือการเกบ็ รวบรวมข้อมลู

ข. เพ่อื ให้ไดข้ ้อมลู ท่ีถูกต้อง และสรปุ ผลไดต้ รงกับจุดประสงค์ของการศกึ ษาคน้ คว้า

ค. เป็นหลักการสำคญั ของการศึกษาค้นควา้ ทต่ี ้องใช้เครื่องมอื การเก็บรวบรวมข้อมูล

ง. เพอ่ื ช่วยใหส้ ามารถวเิ คราะห์ พจิ ารณาเปรียบเทียบข้อมูลไดโ้ ดยสะดวกรวดเร็ว

25. แบบทดสอบใช้ให้กลมุ่ ตัวอยา่ งตอบได้ในรปู แบบใด



ก. เขยี นตอบ การคิด และการพูด ข. การพดู การปฏิบัติ และการคิด

ค. เขยี นตอบ การพูด และการปฏิบัติ ง. เขยี นตอบ การคิด และการปฏบิ ัติ

26. เครอ่ื งมือที่มขี ้อคำถามให้กลุ่มตัวอย่างตอบ โดยกาเครื่องหมาย เขยี นตอบ หรือสมั ภาษณ์ นยิ มถาม เกย่ี วกับ

ขอ้ เท็จจรงิ และความคดิ เหน็ เปน็ ความหมายของอะไร

ก. การสัมภาษณ์ ข. การสังเกต

ค. แบบทดสอบ ง. แบบสอบถาม

27. การสงั เกตการณ์ เปน็ เครอ่ื งมือการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ที่เหมาะสมกับข้อใด

ก. ข้อมลู ส่วนตวั บุคลิกภาพ เจตคติ และความคดิ เหน็

ข. การเก็บรวบรวมข้อมลู ท่ีสามารถสงั เกต หรือวัดใหเ้ ป็นปริมาณได้

ค. การศกึ ษาข้อมลู เกี่ยวกับข้อเทจ็ จรงิ และความคิดเห็นของบุคคล

ง. การศึกษาเหตกุ ารณเ์ พื่อให้เขา้ ใจลักษณะธรรมชาติ

28. การเริ่มต้นสมั ภาษณ์ เพราะเหตใุ ดจึงควรสนทนาเร่อื งท่ีคาดวา่ ผใู้ หส้ มั ภาษณส์ นใจ

ก. สรา้ งความคุ้นเคย ข. มารยาทในการสมั ภาษณ์

ค. มนษุ ยสัมพันธ์ ง. หลกั การสัมภาษณ์

29. วิธดี ำเนนิ การศกึ ษาค้นคว้า ขอ้ ใดถกู ต้องที่สุด

ก. กลุม่ ตัวอยา่ งจะมีเทา่ กับ หรอื มากกวา่ ประชากรก็ได้

ข. กลมุ่ ตัวอย่างจะมเี ท่ากับ หรอื น้อยกวา่ ประชากรกไ็ ด้

ค. ประชากรจะมีน้อยกวา่ กลุ่มตัวอยา่ ง

ง. ประชากรจะมีมากกว่ากลมุ่ ตัวอย่าง

30. สิ่งทค่ี วรกล่าวถึงเคร่ืองมือในการศกึ ษาคน้ คว้า คอื อะไร

ก. ลกั ษณะ เน้อื หา สว่ นประกอบ วิธีใช้ ข. เนอ้ื หา สว่ นประกอบ ประชากร

ค. ส่วนประกอบ วิธใี ช้ กลุ่มตัวอย่าง ง. กระบวนการสร้าง ประชากร กล่มุ ตัวอยา่ ง

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

1

เล่มที่ 3 การนำเสนอผลงาน

เวลา 12 ชวั่ โมง

ขน้ั ท่ี 1 การหาความรู้ ปฏบิ ตั ิการ ฝึกอา่ น : ฝกึ คดิ
Operation

การนำเสนอผลงานเป็นการสื่อสาร เพ่ือสรุปให้บุคคลอื่นได้รับทราบถึงผลการดำเนินการท่ีผู้นำเสนอได้
ศึกษามา การนำเสนอสาระสำคัญของผลงานควรทำให้อยู่ในรูปแบบท่ีเข้าใจง่ายและใช้สื่อประกอบอย่างเหมาะสม
และมีคณุ ภาพ

โดยทั่วไปการนำเสนอผลงานทางวิทยาศาสตร์อาจอยู่ในรูปของ รายงาน โปสเตอร์การบรรยาย บทความ
หรือการแสดงช้ินงาน ซ่ึงการเข้าใจหลักการในการเตรียมการนำเสนอในแต่ละรูปแบบ เป็นการส่งเสริมให้การ
นำเสนอนั้นมปี ระสิทธภิ าพมากขนึ้

ในท่นี ีจ้ ะกล่าวถึงหลกั การเบ้ืองต้น
ในการเขียนรายงานการเตรยี ม
โปสเตอรแ์ ละการเตรียมการบรรยาย

รายงาน

รายงานอาจประกอบด้วยส่วนสำคญั 3 ส่วนคอื ส่วนนำส่วนเน้อื หา และส่วนท้ายซ่ึงมีรายละเอยี ดดังนี้
1) สว่ นนำ

ปก ประกอบดว้ ยชอื่ เร่ือง ผู้จัดทำ โรงเรียน ช่วงเวลาหรอื ปที จี่ ดั ทำ
บทคัดย่อ แสดงภาพรวมของงานและเปน็ ส่วนทช่ี ่วยให้ผอู้ ่านสนใจท่ีจะศึกษาเน้ือหาบทคัดยอ่ ระกอบด้วย
ช่อื เรอื่ ง สรปุ ยอ่ ความสำคญั ของปญั หา วตั ถปุ ระสงค์สมมติฐานวธิ กี ารดำเนนิ การและผลการดำเนนิ การรวมทงั้ อาจมี
ข้อเสนอแนะ ตัวอย่างดงั รปู 1

2

บทคัดยอ่

รูป 1 ตัวอย่างบทคัดย่อ

ตรวจสอบความเขา้ ใจ

จากบทคดั ย่อท่ีกำหนดใหจ้ งระบุ ช่ือเรอ่ื ง ความสำคญั ของปญั หา วัตถปุ ระสงค์ สมมตฐิ าน วธิ ดี ำเนนิ การ
ผลการดำเนนิ การ

การศึกษาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นสงั คมศึกษาและความสามารถในการคิดอยางมเี หตุผลของนกั เรียนช้นั
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ท่ีเรียนดวยกิจกรรมการเรียนรูโดยใชเทคนคิ 4 MAT

การวิจยั คร้งั น้ีมีความมุงหมาย เพอ่ื การศกึ ษาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนสงั คมศกึ ษา และความสามารถ
ในการคิดอยางมเี หตุผล ของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 4 ท่ีเรียนดวยกิจกรรมการเรียนรูโดยใชเทคนคิ 4
MATกลุมตัวอยางทใี่ ชในการศกึ ษาคนควาเปนนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2552
โรงเรยี นพระหฤทยั คอนแวนต เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร จาํ นวน 40 คน ไดมาจากการเลอื กตัวอยา
งแบบแบงกลุม (Cluster Random Sampling) ใชเวลาในการทดลอง 12 ช่ัวโมง ดาํ เนินการวจิ ยั โดยใชแบบ
แผนการทดลองแบบ One Group Pretest – Posttest Design การวเิ คราะหขอมลู โดยใชสถิติ t-test
dependent sample

3

ผลของการวิจยั ปรากฏวา
1. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสงั คมศึกษา ของนักเรียนทีเ่ รียนด้วยกิจกรรมการเรียนรูโดยใช้

เทคนคิ 4 MAT หลังเรยี นสงู กวา กอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติทรี่ ะดับ .01
2. ความสามารถในการคดิ อยางมเี หตุผล ของนักเรียนที่เรียนดวยกจิ กรรมการเรียนรูโดยใช

เทคนิค 4 MAT หลังเรยี นสงู กวา กอนเรยี นอยางมนี ัยสาํ คัญทางสถติ ิท่รี ะดับ .01

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………

บทคดั ย่อสว่ นใหญ่มคี วามยาว
ประมาณ 1 หน้า

กิตติกรรมประกาศ แสดงขอ้ ความขอบคุณบคุ คลหนว่ ยงานทมี่ ีสว่ นเก่ียวขอ้ ง ที่ทำใหก้ ารดำเนนิ การสำเร็จ
ลลุ ่วงและแหลง่ ทนุ (ถา้ ม)ี

สารบญั ประกอบดว้ ยสารบัญเน้อื เรื่องซึง่ แสดงช่ือหวั ข้อหลักๆของเนอ้ื หาและเลขหน้าและอาจมีสารบญั
ตารางหรือสารบญั ภาพประกอบดว้ ย

4

ร่วมกนั ค้น

ใหน้ ักเรียนศึกษาบทคดั ย่องานวจิ ยั ที่สนใจมา 1 เรอ่ื ง พร้อมระบุแหลง่ ทีม่ า
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5

2) ส่วนเนือ้ หา โดยทัว่ ไปแบง่ ออกเปน็ บทซ่ึงแตล่ ะบทมีรายละเอียดดังน้ี

บทท่ี 1 บทนำ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ สมมติฐาน(ถ้ามี)
ขอบเขตของการดำเนินการ นิยามเชิงปฏิบัติการ โดยความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาควรระบุถึง
ปัญหาและผลกระทบ รวมท้ังข้อจำกัดของแนวทางการแก้ไขปัญหาที่มีการศึกษาไว้ก่อนแล้ว หรือประเด็นท่ี
ยังไมไ่ ดม้ ีการศึกษา

บทที่ 2 ทฤษฎแี ละงานวจิ ัยที่เก่ียวข้อง ให้ขอ้ มูลเก่ยี วกบั ทฤษฎี หลกั การ หรอื งานวิจัยทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับปัญหา
ซ่ึงขยายความจากบทท่ี 1 โดยมขี ้อมลู และการอา้ งองิ สนับสนนุ พร้อมท้ังวิเคราะห์เปรียบเทียบผลงานวจิ ัยท่ี
ผา่ นมา และแสดงความเห็นของผู้จัดทำ ในการนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ โดยผู้จัดทำควรเขียนเรียบเรียงด้วย
ข้อความของตนเองไม่ให้คัดลอกจากแหล่งอา้ งองิ ซึ่งอาจเขียนแบ่งเป็นหัวข้อตามความเหมาะสมของปริมาณ
และหมวดหมู่ของข้อมูลท่ีจะนำเสนอ

บทที่ 3 วิธีดำเนินการ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับวัสดุและอุปกรณ์ วิธีการทดลองหรือวิธีการแก้ปัญหา และวิธีการ
วเิ คราะห์ข้อมูลร่วมด้วย ซง่ึ ผู้อ่านสามารถทำความเข้าใจและดำเนนิ การตามได้

บทท่ี 4 ผลการดำเนินการและการอภิปรายข้อมูล แสดงผลการทดลองหรือผลการแก้ปัญหาโดยอาจ
นำเสนอในรูปแบบท่ีเหมาะสมเช่นตารางแผนภาพกราฟรวมทั้งวิเคราะห์และอภิปรายความ ความสัมพันธ์
ของข้อมูล แต่ละชุดให้เห็นว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไม่สอดคล้องหรือแตกต่างกับทฤษฎีหรืองานวิจัยท่ี
เกี่ยวข้องอย่างไร

บทท่ี 5 สรุปผลการดำเนินการและข้อเสนอแนะ เป็นการนำผลการดำเนินการท้ังหมดมาสรุปย่อเป็น
ประเด็นตามวัตถุประสงค์ของการดำเนินการ รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการนำผลการศึกษา ไปใช้
ประโยชน์ หรือประเด็นที่ควรศกึ ษาเพม่ิ เตมิ ในอนาคต

6

ในสว่ นเนือ้ หา จำนวนบทในรายงานอาจมีมากกวา่ หรือน้อยกวา่
5 บท ก็ได้ ข้นึ อยู่กับรายละเอียดของเนื้อหา เช่น อาจรวม

ทฤษฎแี ละงานวจิ ัยท่เี กี่ยวข้องไวใ้ นบทนำเปน็ 1 บท ได้ ในส่วน
ของผลการดำเนินการและการอภปิ รายข้อมูล ถา้ มีข้อมูลจาก
การดำเนินการท่มี ปี ระเดน็ แตกตา่ งกนั อาจเขยี นแยกบทได้

3) ส่วนทา้ ย ประกอบดว้ ย
บรรณานุกรม แสดงรายการเอกสารที่ใช้เป็นแหล่งข้อมูลประกอบ เช่น หนังสือเรียน ตำราบทความวิจัย
เว็บไซต์ บรรณานุกรมมีรูปแบบการเขียนเฉพาะซึ่งอาจแตกต่างกันขึ้นอยู่กับข้อกำหนดของแต่ละสถาบันการศึกษา
หรือหน่วยงาน อยา่ งไรก็ตามการเขียนบรรณานุกรมต้องใช้รูปแบบของแต่ละสถาบันการศกึ ษาหรือหน่วยงานอย่างไร
ก็ตามการเขยี นบรรณานุกรมต้องใช้รูปแบบเดยี วกันตลอดทั้งเล่ม และเรยี งลำดับตามตัวอกั ษร โดยเขยี นแยกระหว่าง
บรรณานุกรมภาษาไทยและภาษาองั กฤษตัวอย่างของการเขยี นบรรณานุกรมของ สสวท. ดงั แสดง

เรอ่ื ง สบื ค้นข้อมูลรูปแบบการเขยี นบรรณานกุ รม
จุดประสงคข์ องกจิ กรรม

นำเสนอรปู แบบการเขยี นบรรณานุกรม

ใหน้ กั เรยี นสืบคน้ ข้อมลู ลว่ งหน้า แลว้ นำสงิ่ ท่ีได้จาก
การสืบค้นมาเสนอและรว่ มกันอภิปรายในหอ้ งเรยี น

7

วิธีทำกิจกรรม
1. สบื ค้นขอ้ มูลรูปแบบการเขียนบรรณานุกรมที่เป็นสากลหรอื ทน่ี ยิ มใชท้ ่วั ไป
2. นำเสนอและอภปิ รายรว่ มกัน

8

9

ขอ้ มูลท่ีได้จากการสืบคน้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

10

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

11

การนำเสนอดว้ ยโปสเตอร์

การนำเสนอด้วยโปสเตอร์ การนำเสนอด้วยโปสเตอร์เป็นการนำเสนอผลงานในรูปแบบท่ีใช้ภาพและ
ข้อความเพื่อดึงความสนใจของผู้ชมซึ่งการนำเสนอโปสเตอร์ในการประชุมวิชาการนิยมเปิดโอกาสให้ผู้ชมได้มีการ
ซักถามด้วยรูปแบบของโปสเตอร์อาจแตกต่างกันข้ึนอยู่กับข้อกำหนดของแต่ละเวทีการนำเสนอการจัดทำและการ
นำเสนอโปสเตอรค์ วรคำนึงถึงสิ่งต่อไปน้ี

1) ศึกษารายละเอียดข้อกำหนดของแต่ละเวทีการนำเสนอ เช่นขนาดโปสเตอร์ รปู แบบระยะเวลาในการ
นำเสนอ

2) แบง่ สัดสว่ นส่วนเนอ้ื หาสาระให้ไดห้ ัวขอ้ ครบถว้ นและเหมาะสมกับพ้นื ท่ีของโปสเตอรเ์ ช่นการนำเสนอ
ผลงานวิจยั อาจประกอบด้วยชอื่ เรอ่ื งงานวิจยั ช่ือผู้วิจัยหน่วยงานท่ีสังกัดบทคดั ย่อวตั ถุประสงคว์ ิธดี ำเนินการ
คน้ การวิจัยสรุปผลและบรรณานุกรม

3) จดั เรยี งเนอ้ื หาสาระใหม้ ลี กั ษณะเป็นการเลา่ เร่ืองตามลำดับเพอ่ื ใหผ้ ู้ชม poster สามารถติดตามอ่านได้งา่ ย
4) ใชภ้ าพแผนภมู ิ แผนภาพหรอื ตาราง ท่ีสอ่ื ความหมายไดถ้ ูกตอ้ งชัดเจนและน่าสนใจ มีขนาดท่ีเหมาะสมไม่

ใหญห่ รือเลก็ จนเกินไป
5) ใชต้ ัวอักษรท่ีเหมาะสมที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนและอ่านได้ง่าย ไม่ควรใช้รูปแบบของตัวอักษรมากเกนิ

กว่า 2 รูปแบบ และหลีกเลยี่ งการใช้ตัวพิมพใ์ หญ่ภาษาองั กฤษทัง้ หมดเพราะทำใหอ้ ่านยาก
6) ใช้โทนสีของพนื้ หลังท่เี สรมิ ให้ตัวอักษรและภาพเด่นชดั
7) ตรวจสอบการสะกดคำการใช้เคร่อื งหมายรวมทัง้ การเว้นวรรคใหถ้ ูกต้อง
8) เตรยี มตัวในการพดู นำเสนอ โปสเตอร์ โดยเตรียมคำอธิบายและตอบคำถามรวมทง้ั ซกั ซ้อมการพูด
9) นำเสนอด้วยทา่ ยืนทีส่ ุภาพและไม่บังโปสเตอร์พูดใหก้ ระชับและพูดเฉพาะประเดน็ หลกั รวมทง้ั สบตาและ

แสดงความสนใจผฟู้ ังตลอดเวลาทน่ี ำเสนอ

กิจกรรม สบื เสาะ คน้ หา 2

เร่อื ง การจดั ทำและนำเสนอข้อมูลในโปสเตอร์
จดุ ประสงคข์ องกิจกรรม

จัดทำและนำเสนอข้อมูลในรูปแบบทีเ่ หมาะสม
วธิ ที ำกจิ กรรม
1. พิจารณาข้อมูลทั้ง 3 ชดุ ตอ่ ไปน้ี และจัดทำข้อมูลแต่ละชุดในรปู แบบท่ีส่ือความหมายไดช้ ัดเจนและนา่ สนใจ
ชดุ ท่ี 1 ข้อมูลการทดลองวัดความเข้มข้นของไอออนจากการแตกตัวของกรด

กรดไฮโดรคลอริกและกรดไฮโดรฟลูออริกความเข้มข้นเริ่มต้น 1 mol/l กรดไฮโดรคลอริกแตกตัวให้
ไฮโดรเจนไอออนและคลอไรด์ไอออนความเข้มข้นอย่างละ 1 mol/l ส่วนกรดไฮโดรฟลูออริกแตกตัวให้
ไฮโดรเจนไอออนและคลอไรด์ไอออนความเข้มขน้ อยา่ งละ 0.04 mol/l

12

ชดุ ท่ี 2 ข้อมูลการทดลองหาปรมิ าตรของแก๊สไฮโดรเจนจำนวน 0.002 โมล ท่อี ณุ หภมู ิต่างๆ ณ ความดัน 1
บรรยากาศ

อุณหภมู ิ (๐c) ปริมาตร (ml)
-100 30
-50 36
0 45
50 55
100 61

ชุดท่ี 3 ข้อมูลวธิ กี ารทดลองเพอ่ื ศึกษาผลของความเข้มขน้ ของสารต่อภาวะสมดุล

วธิ ีทดลอง
1. ใส่น้ำดอกอัญชันในหลอดทดลอง 3 หลอด หลอดละ 1.0 ml จากน้ันเติมไฮโดรคลอริก 0.02
mol/l หลอดละ 5 หยด
2. เตมิ สารละลายลงในหลอดทดลองในขอ้ หนึ่งดังนี้
หลอดท่ี 1 เตมิ นำ้ กลนั่ 5 หยดผสมใหเ้ ขา้ กนั แลว้ บันทึกสี
หลอดที่ 2 เตมิ HCl 0.02 mol/L 5 หยด ผสมให้เข้ากนั แล้วบันทึกสี
หลอดท่ี 3 เตมิ NaOH 0.02 mol/L 5 หยด ผสมใหเ้ ข้ากนั แลว้ บนั ทกึ สี
เปรยี บเทียบสขี องสารละลายหลอดที่ 2 และ 3 กบั หลอดท่ี 1
3. สงั เกตสีของสารละลายทั้ง 3 หลอดอีกครง้ั เม่ือเวลาผ่านไป 1 นาที

2. นำเสนอข้อ4ม.ลู ท่ีจดั ทำข้ึนและอภิปรายรว่ มกนั
ติดภาพชนิ้ งาน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

13

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
คำถามท้ายกจิ กรรม

1. รปู แบบที่นำเสนอของนกั เรียนแตกต่างกนั หรอื ไม่ อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. รปู แบบใดทเี่ หมาะสม เพราะเหตุใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

14

เรอื่ ง การนำ เสนอผลงานจากกจิ กรรมการแก้ปญั หาโดยการบรู ณาการความรู้
จุดประสงค์ของกิจกรรม

1. จัดทำรายงาน
2. จัดทำส่ือประกอบการนำเสนอผลงานหรือชิน้ งานในรปู แบบโปสเตอร์หรอื สไลด์ประกอบการบรรยาย
3. นำเสนอผลงานในรูปแบบของโปสเตอร์หรือการบรรยาย
วิธีทำกิจกรรม
1. จดั ทำรายงานของกิจกรรม การแกป้ ัญหาโดยการบรู ณาการความรู้ และส่งรายงาน
2. จดั ทำโปสเตอร์หรอื สไลดป์ ระกอบการบรรยายของกจิ กรรม การแก้ปัญหาโดยการบรู ณาการความรู้
3. นำเสนอผลงานในรปู แบบของโปสเตอร์หรือการบรรยายและเปิดโอกาสใหม้ ีการซกั ถามเพอื่ แลกเปล่ยี น
ความรู้

ภาพชนิ้ งาน

15

เกณฑ์การให้คะแนนโปสเตอรน์ ำเสนอผลงานจากกจิ กรรมการแกป้ ัญหาโดยการบูรณาการความรู้
(โปสเตอร์นำเสนอผลงานจากกจิ กรรมเปน็ กจิ กรรมท่ีดำเนนิ การในกจิ กรรมที่ 3)

สง่ิ ท่ีต้องการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ระดบั
คุณภาพ
ขนาดและองคป์ ระกอบ ขนาดโปสเตอร์เป็นไปตามที่กำหนดและมีขอ้ มลู ครบตาม
ของโปสเตอร์ หัวข้อท่ีกำหนด ดี
ขนาดโปสเตอรเ์ ป็นไปตามท่ีกำหนด แต่มีข้อมลู ไมค่ รบตาม
เนอ้ื หาในโปสเตอร์ หวั ขอ้ ที่กำหนดหรือมีขอ้ มูลครบตามหวั ขอ้ ท่ีกำหนด แต่ พอใช้
การใชภ้ าษา ขนาดโปสเตอร์ไมเ่ ปน็ ไปตามที่กำหนด
การส่งโปสเตอร์ ขนาดโปสเตอร์ไม่เป็นไปตามทีก่ ำหนดและมีข้อมูลไมค่ รบ ต้องปรบั ปรุง
ตามหัวขอ้ ท่ีกำหนด
เนอ้ื หาสว่ นใหญม่ คี วามถูกตอ้ งและสมบูรณ์ ดี
เน้อื หาส่วนใหญ่ไม่ถกู ตอ้ งและไม่สมบรู ณ์ พอใช้
เนือ้ หาสว่ นใหญ่มีความถูกต้องแตไ่ ม่สมบูรณ์ ต้องปรับปรุง
ใชภ้ าษาทเี่ ข้าใจง่ายและสว่ นใหญส่ ะกดคำได้ถูกต้อง
ใชภ้ าษาท่ีเข้าใจงา่ ยแตส่ ่วนใหญ่สะกดคำไม่ถูกต้อง ดี
ใชภ้ าษาที่เขา้ ใจยาก วกวน และส่วนใหญส่ ะกดคำ ไม่ถกู ต้อง พอใช้
สง่ ทนั ตามกำหนดเวลา ต้องปรบั ปรุง
ส่งไมท่ ันตามกำหนดเวลา
ดี
ต้องปรบั ปรงุ

16

นกั วทิ ยฯ์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ

ขั้นที่ 3 ซึมซับความรู้ ปฏบิ ัตกิ าร คดิ ดี ผลงานดี มีความสุข
Assimlation

คำชีแ้ จง ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่ม อ่านขา่ วท่ีกำหนดให้และเติมขอ้ ความลงในช่องวา่ งใหถ้ ูกต้องและสมบูรณ์

พม่าประทว้ งรฐั ประหารวันท่ี 9 ชาวเมืองจบั กลุ่มลาดตระเวนหลงั ทหารปล่อยตัวนักโทษ
คาดจงใจสร้างความรุนแรง

: ทีม่ า ผู้จดั การออนไลน์ วันที่ 14 กุมภาพนั ธ์ 2564 15:21

รอยเตอร์ - ผชู้ มุ นุมประท้วงชาวพม่าหลายหม่ืนคนตบเทา้ ลงถนนตามเมืองใหญข่ องประเทศเปน็ วนั ที่ 9 เพื่อ
ตอ่ ต้านการรัฐประหารในวันนี้ (14) หลังค่ำคืนท่ีน่าหวาดกลวั ที่ผู้อยู่อาศัยต้องรวมกลุ่มออกลาดตระเวน และกองทัพ
ได้ยกเลกิ กฎหมายท่ีค้มุ ครองเสรภี าพ

นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ร่วมเดินขบวนในเมืองย่างกุ้งถือป้ายเรียกร้องการปล่อยตัวอองซานซูจี ท่ีถูก
ควบคมุ ตัวนบั ตั้งแตท่ หารโคน่ ล้มรฐั บาลที่มาจากการเลอื กต้ังของเธอเมอื่ วันที่ 1 ก.พ.

ส่วนหน่งึ ของการชุมนุมประท้วงบนทอ้ งถนนคร้งั ใหญ่ท่ีสุดในรอบกวา่ ทศวรรษ ยังมีขบวนรถโดยสารเคล่ือน
ตัวชา้ ๆ ไปพรอ้ มกับผู้ชุมนุม และบบี แตรรถเพือ่ แสดงการประท้วง

ที่กรุงเนปีดอ มีทั้งขบวนรถจักรยานยนต์และรถยนต์ร่วมการประท้วง ส่วนท่ีเมืองทวาย เมืองชายฝั่งทาง
ตะวันออกเฉียงใต้ วงดนตรีรวมทีมตีกลองส่งเสียงขณะผู้ชุมนุมประท้วงเดินขบวนภายใต้แสงแดดร้อนระอุ และที่
เมืองวายหมอ่ ทางเหนือสดุ ของรัฐกะฉนิ่ บริเวณรมิ ฝ่ังแม่น้ำอิรวดี ฝงู ชนถอื ธงเดินขบวนและรอ้ งเพลงปฏวิ ัติ

ผู้ชุมนุมประท้วงท่ัวประเทศต่างชูภาพใบหน้าของอองซานซูจี โดยการควบคุมตัวซูจีจากข้อหานำเข้าวิทยุ
สือ่ สารผิดกฎหมาย มกี ำหนดสนิ้ สุดลงในวันจันทรน์ ้ี (15)

ด้านสมาคมช่วยเหลือนักโทษการเมืองระบุว่า นับต้ังแต่เกิดรัฐประหารมีคนถูกจับกุมตัวมากกว่า 384 คน
โดยสว่ นใหญเ่ ปน็ การจบั กมุ ในเวลากลางคืน

“ขณะท่ีประชาคมโลกกำลังประณามรัฐประหาร แต่มิน ออ่ ง หล่าย กำลงั ใช้เครือ่ งมือทกุ อย่างท่มี สี ร้างความ
หวาดกลัวและการไร้ซ่ึงเสถียรภาพ” นักเคลื่อนไหวจากกลุ่มสิทธิมนุษยชน Burma Campaign กล่าวทางทวิตเตอร์
ถึงผู้บญั ชาการทหารสงู สุดของกองทัพพมา่

ผชู้ ุมนมุ ประท้วงจำนวนมากในนครยา่ งกงุ้ ถอื ป้ายเรียกร้องใหท้ างการหยุดลกั พาตวั ผู้คนในเวลากลางคืน

17

ชาวเมืองได้รวมตัวกันในช่วงดึกของวันเสาร์ (13) ออกลาดตระเวนตามถนนสายต่างๆ ในนครย่างกุ้ง และเมือง
มณั ฑะเลย์ ด้วยหวาดกลัวว่าจะมีการบุกจับกุมตัว รวมถึงเหตุอาชญากรรม หลังรฐั บาลทหารส่ังปล่อยตัวผู้ต้องขงั นับ
หม่ืนความวิตกกังวลเก่ียวกับการก่ออาชญากรรมเพิ่มสูงข้ึนนับต้ังแต่วันศุกร์ (12) เมื่อรัฐบาลทหารประกาศว่าจะ
ปล่อยตัวผูต้ ้องขังมากกวา่ 23,000 คน โดยระบุว่า ความเคล่ือนไหวดังกล่าวสอดคลอ้ งกับการสร้างรัฐประชาธิปไตย
ใหม่ท่มี ีสนั ตภิ าพ การพฒั นา และระเบียบวินยั

ภาพถ่ายท่ีปรากฏบนส่ือสังคมออนไลน์ย่ิงทำให้เกิดกระแสข่าวลือหนักขึ้นไปอีกว่าอาชญากรกำลังพยายาม
ก่อความไม่สงบดว้ ยการวางเพลิงหรือวางยาพิษในน้ำ

ติน ม้ีน ผู้อยู่อาศัยในย่านซานชวงของนครย่างกุ้ง เป็นหนึ่งในฝูงชนท่ีเข้าควบคุมตัวกลุ่มคน 4 คนที่ต้อง
สงสัยว่าก่อเหตุโจมตใี นละแวกใกลเ้ คียง

“เราคิดว่าทหารจงใจก่อความรุนแรง โดยให้อาชญากรเหล่านี้แทรกตัวเข้าไปในการชุมนุมประท้วงอย่าง
สนั ต”ิ ตนิ ม้ีน กล่าว

ติน ม้ีน อ้างถึงการชุมนุมประท้วงสนับสนุนประชาธิปไตยในปี 2531 ที่ทหารถูกกล่าวหาอย่างกว้างขวางว่า
ปล่อยตัวอาชญากรเข้ามาในหมู่ประชาชนเพ่ือก่อเหตุโจมตี และอ้างเร่ืองความไม่สงบในเวลาต่อมา เพ่ือสร้าง
ความชอบธรรมในการขยายอำนาจของตน

นอกจากน้ี ยังมีรายงานว่ามีคนเหน็ โดรนลอยอยู่เหนอื กลมุ่ คน โดยหนึ่งในผู้เห็นเหตุการณ์กล่าวว่า โดรนบิน
ขึน้ ๆ ลงๆ และถ่ายภาพฝงู ชนที่กำลังไล่จับโจร

ทั้งนี้ รอยเตอร์ไมส่ ามารถตดิ ต่อรัฐบาลหรือกองทัพเพ่ือขอความคิดเหน็ ได้
ในคืนวันเสาร์ (13) กองทัพได้ฟื้นกฎหมายที่กำหนดให้ประชาชนต้องรายงานผู้ท่ีมาเย่ียมบ้านในตอน
กลางคืน และอนุญาตให้กองกำลังความม่ันคงเข้าควบคุมตัวผู้ต้องสงสัยและค้นทรัพย์สินส่วนตัวได้โดยไม่ต้องได้รับ
อนุมตั จิ ากศาล และสงั่ ให้จบั กุมตวั ผสู้ นับสนนุ การชมุ นุมประทว้ ง
การรัฐประหารท่ีเกิดขึ้นเรียกเสียงประณามจากชาติตะวันตก โดยสหรัฐฯ ได้ประกาศมาตรการคว่ำบาตร
บางส่วนกบั นายพลท่ีปกครองประเทศ ขณะทป่ี ระเทศต่างๆ กำลงั พจิ ารณามาตรการอยูเ่ ช่นกัน.

ประเภทของข่าว …………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………….

.

พาดหัวข่าว …………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………….

.

18

เหตกุ ารณท์ ่ี …………………………………………………………………………………………
เกิดขนึ้ ในข่าว ……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

คะแนนทไี่ ด้…………….คะแนน

19

หน่วยท่ี 3 เรือ่ งการนำเสนอผลงาน แบบทดสอบหลังเรียน วชิ าเคมี
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 เวลา 20 นาที
ภาคเรยี นท่ี 2

คำชี้แจง
1. แบบทดสอบฉบบั นี้เปน็ แบบปรนัยเลอื กตอบ 4 ตวั เลอื ก จำนวน 30 ข้อใช้เวลาในการสอบ 20 นาที
2. ให้นกั เรยี นเลอื กคำตอบที่ถูกตอ้ งท่สี ุดเพยี งคำตอบเดยี ว แล้วทำเครอื่ งหมาย × ลงในกระดาษคำตอบ

1. ขอ้ ใดคือความหมายของการนำเสนอข้อมูล

ก. การส่อื สารเพ่ือเสนอขอ้ มูล

ข. การแสดงความคิดเหน็

ค. การตดั สนิ ใจในการดำเนินงาน

ง. การแลกเปลยี่ นข้อมลู

2. ขอ้ ใดไม่ใช่วตั ถปุ ระสงค์ในการนำเสนอข้อมูล

ก. เพือ่ ให้ผู้รบั การนำเสนอข้อมูลรบั ทราบความคดิ เห็น

ข. เพื่อให้ผูร้ ับการนำเสนอข้อมลู ได้รับความรจู้ ากข้อมูลทน่ี ำเสนอ

ค. เพอ่ื บรรยายขอ้ มูลทางด้านวิชาการ

ง. เพื่อเผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์

3. การจัดเรียงลำดบั ข้อใดจดั เป็นลำดับแรก

ก. แสดงชอ่ื เร่อื ง พร้อมชื่อของผนู้ ำเสนอ ข. แสดงวัตถุประสงค์

ค. แสดงหัวข้อในการนำเสนอ ง. แสดงเนือ้ หาในการนำเสนอ

4. นิยาม หมายถึงอะไร

ก. การกำหนด หรอื การจำกัดความหมายท่ีแน่นอน

ข. ศัพทเ์ ฉพาะ

ค. ศพั ท์ปกติ

ง. ความหมายของคำทกี่ ำหนดตามพจนานุกรม

5. ข้อใดกล่าวถึงประโยชน์ของการ นิยามศัพท์เฉพาะ ไดถ้ กู ต้องทีส่ ดุ

ก. ชว่ ยให้นิยามศพั ท์ไดถ้ ูกต้องตามแบบพจนานุกรม

ข. ช่วยใหผ้ ู้อา่ นเข้าใจความหมายของศัพท์ไดต้ รงกับผู้ศกึ ษาคน้ ควา้ กำหนด

ค. ช่วยให้ผู้อา่ นเข้าใจความหมายของศัพท์ไดต้ รงกับท่สี ารานุกรมกำหนด

ง. ชว่ ยให้ผลการศึกษาค้นควา้ ถูกต้อง ชัดเจนตามจุดมุ่งหมาย

6. ขอ้ ใด หมายถงึ ประชากรในการศึกษาคน้ ควา้

ก. คน ข. คน สตั ว์

ค. คน สัตว์ ส่ิงของ ง. คน สตั ว์ ส่งิ ของ และลักษณะทางจิตวิทยา

20

7. การศกึ ษาค้นคว้าตามข้อใดควรใชก้ ลุม่ ตัวอย่างน้อย

ก. การใชแ้ บบสอบถาม ข. การใช้แบบทดสอบ

ค. การทดลอง และการสมั ภาษณ์ ง. การสัมภาษณ์

8. ข้อใดเป็นการเลอื กกลุ่มตัวอย่าง โดยการสุม่

ก. มงคล เลอื กแบบบงั เอิญ ข. ดนภัทร เจาะจงตามความสะดวก

ค. ปรชั ญา ใชว้ ิธีจบั ฉลาก ง. มารี ไม่อาศยั ความน่าจะเป็น

9. ขอ้ ใดเป็นความหมายของแบบสอบถาม

ก. เคร่ืองมือท่ีผู้ศกึ ษาคน้ คว้าใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู

ข. คำถามท่ีกำหนดให้กลมุ่ ตัวอย่างตอบโดยกาเครอื่ งหมาย

ค. การเขียนอธิบายตอบคำถามตามทีผ่ ถู้ ามกำหนด

ง. ข้อเท็จจรงิ หรอื ความคดิ เห็นของบุคคล

10. ข้อใดเปน็ คำชี้แจงในการตอบแบบสอบถาม

ก. เพศ ระดบั การศึกษา อายุ อาชพี

ข. แจ้งจดุ มุ่งหมาย อธิบายลักษณะ ตัวอย่างการตอบแบบสอบถาม

ค. ตง้ั คำถามแบบปลายปิด

ง. ตั้งคำถามแบบปลายเปิด

11. ข้อใดกล่าวถงึ ข้อคำถาม ไดถ้ ูกต้อง

ก. แบบปลายปิด ผเู้ ขยี นอธบิ ายตอบด้วยตนเอง

ข. แบบปลายเปดิ จะมีคำตอบใหเ้ ลือกตอบ

ค. ไมส่ ามารถสรา้ งคำถามแบบปลายเปิด กับปลายปิดให้อยู่ในแบบสอบถามชดุ เดยี วกนั ได้

ง. เปน็ สว่ นสำคญั ทส่ี ดุ ทีจ่ ะช่วยให้ได้ข้อมลู เกย่ี วกบั เร่อื งทศ่ี ึกษาค้นควา้

12. การตัง้ คำถามในแบบสอบถาม ควรใหส้ อดคล้องกับเรอื่ งใดมากทีส่ ดุ

ก. นยิ ามศัพท์เฉพาะ ข. บรรณานุกรม

ค. สมมตุ ิฐาน ง. จดุ มุ่งหมาย

13. ลักษณะของแบบสอบถาม ขอ้ ใดถูกต้อง

ก. ใชค้ ำอธบิ าย ขยายความใหม้ ากทสี่ ุด

ข. ควรเก็บรวบรวมขอ้ มูลดว้ ยตนเอง

ค. คำถามครอบคลุมประเดน็ ทัง้ หมดของการศึกษาคน้ คว้า

ง. เลือกถามเฉพาะประเดน็ ทีม่ ีความสำคัญ

14. แหลง่ ท่ีมาของข้อมูลทไ่ี ด้จากการศึกษาคน้ คว้า จะมคี วามนา่ เชอื่ ถือไดม้ ากหรอื น้อย ขน้ึ อยกู่ ับอะไร

ก. ข้อมูล ข. ทฤษฏี

ค. ผ้ศู ึกษาค้นควา้ ง. การตรวจสอบ

15. การตรวจสอบสถานที่เดยี วกัน ผลออกมาเหมือนกนั ควรปฏบิ ัติอย่างไร

ก. ผศู้ กึ ษาควรตรวจสอบในแหล่งสถานทอี่ นื่ ด้วย ข. ผู้ศึกษาไม่ต้องตรวจสอบแหลง่ สถานทอี่ ืน่

ค. ถกู ทัง้ ข้อ ก และข้อ ข ง. ผศู้ ึกษาควรตรวจสอบในช่วงเวลาทต่ี ่างกนั ด้วย

21

16. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการตรวจสอบผศู้ ึกษา

ก. เปน็ หลักการที่ต้องปฏบิ ตั ิในการศกึ ษาค้นควา้ ข. สร้างความน่าเช่ือถือได้มากข้ึน

ค. เพื่อให้สอดคล้องกับหลักการตรวจสอบขอ้ มลู

ง. การตรวจสอบทฤษฏตี ้องตรวจสอบผศู้ ึกษากอ่ น

17. ข้อใดเปน็ การตรวจสอบทฤษฏี

ก. การพสิ ูจนว์ ่าข้อมูลทผ่ี ศู้ ึกษาค้นคว้ามา ถูกต้องหรือไม่

ข. การตรวจสอบในสถานที่เดียวกนั หรอื ต่างกัน มีผลเหมอื นกนั หรอื ไม่

ค. การตรวจสอบวา่ ผู้ศกึ ษาใช้แนวคิดตคี วามข้อมูลตา่ งกันมากนอ้ ยเพยี งใด

ง. การตรวจสอบจากบคุ คลหลายคน

18. เพราะเหตุใด จงึ ต้องมีการรวบรวมขอ้ มูลเร่อื งเดียวกัน ประกอบกับการซักถาม และศึกษาขอ้ มูล เพม่ิ เติมจาก

แหล่งเอกสาร

ก. ใชต้ รวจสอบว่าผู้ศกึ ษาใช้แนวคิด ทฤษฏีใดในการศึกษาค้นคว้า

ข. เพอ่ื ตรวจสอบผลการศึกษาเรอื่ งลกั ษณะเดียวกนั จากผู้ศกึ ษาหลายคน

ค. ใช้ประกอบการตรวจสอบความนา่ เชอื่ ถือของแหล่งท่มี าของขอ้ มลู

ง. เพ่ือพสิ ูจน์วา่ ข้อมูลทผ่ี ู้ศึกษาคน้ ควา้ ได้มาน้นั ถูกต้อง หรือไม่

19. ภาพประกอบ และตาราง จำเป็นต้องมีในรายงาน หรือไม่

ก. มี ข. ไม่มี

ค. มี หรอื ไม่มีก็ได้ ง. ยงั ไม่สรปุ

20. เมื่อมีภาพประกอบ และตารางในรายงาน ควรมรี ายการใดประกอบ

ก. ช่อื ภาพ ข. ชือ่ ตาราง

ค. การอา้ งอิงแหล่งท่มี าของข้อมูล ง. ช่อื ภาพ ช่อื ตาราง และการอ้างองิ

21. ขอ้ ใดเปน็ “ส่วนนำ” ของรายงาน

ก. บทนำ ข. สารบัญ

ค. บรรณานกุ รม ง. ประวัตยิ อ่ ผรู้ ายงาน

22. ขอ้ ใดถูกต้อง

ก. บทท่ี 5 วรรณกรรมที่เกย่ี วขอ้ ง ข. บทท่ี 4 ผลการศึกษาค้นคว้า

ค. บทท่ี 3 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ง. บทท่ี 2 วิธีการศึกษาคน้ คว้า

23. รายการใดท่ีต้องสอดคล้องกบั การอ้างองิ แทรกในเนื้อหา

ก. บรรณานุกรม ข. ภาคผนวก

ค. อภิธานศพั ท์ ง. ประวัติย่อผูท้ ำรายงาน

24. เพราะเหตุใดจึงต้องเลอื กใช้เครอื่ งมือการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ท่เี หมาะสม

ก. เปน็ เทคนิคสำคัญในการใช้เคร่ืองมอื การเก็บรวบรวมข้อมูล

ข. เพ่อื ให้ได้ข้อมูลท่ีถกู ต้อง และสรปุ ผลไดต้ รงกับจดุ ประสงคข์ องการศึกษาคน้ ควา้

ค. เป็นหลักการสำคัญของการศึกษาคน้ คว้าท่ตี ้องใช้เครอื่ งมือการเก็บรวบรวมข้อมูล

ง. เพอื่ ชว่ ยให้สามารถวเิ คราะห์ พิจารณาเปรยี บเทยี บข้อมูลไดโ้ ดยสะดวกรวดเร็ว

22

25. แบบทดสอบใชใ้ หก้ ลุ่มตวั อยา่ งตอบได้ในรปู แบบใด

ก. เขยี นตอบ การคดิ และการพูด ข. การพูด การปฏิบตั ิ และการคดิ

ค. เขยี นตอบ การพูด และการปฏบิ ัติ ง. เขียนตอบ การคิด และการปฏบิ ัติ

26. เครื่องมือที่มีข้อคำถามให้กลมุ่ ตัวอยา่ งตอบ โดยกาเคร่ืองหมาย เขียนตอบ หรือสัมภาษณ์ นิยมถาม เกย่ี วกับ

ขอ้ เทจ็ จริง และความคดิ เหน็ เป็นความหมายของอะไร

ก. การสัมภาษณ์ ข. การสังเกต

ค. แบบทดสอบ ง. แบบสอบถาม

27. การสงั เกตการณ์ เปน็ เครอ่ื งมือการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ทเ่ี หมาะสมกบั ข้อใด

ก. ขอ้ มลู สว่ นตวั บุคลกิ ภาพ เจตคติ และความคดิ เหน็

ข. การเก็บรวบรวมข้อมลู ที่สามารถสงั เกต หรือวัดใหเ้ ป็นปริมาณได้

ค. การศึกษาข้อมลู เกีย่ วกับข้อเทจ็ จริง และความคิดเห็นของบคุ คล

ง. การศึกษาเหตุการณเ์ พื่อให้เข้าใจลกั ษณะธรรมชาติ

28. การเรมิ่ ตน้ สัมภาษณ์ เพราะเหตุใดจึงควรสนทนาเร่ืองที่คาดวา่ ผ้ใู หส้ ัมภาษณ์สนใจ

ก. สรา้ งความคุ้นเคย ข. มารยาทในการสัมภาษณ์

ค. มนษุ ยสัมพันธ์ ง. หลกั การสัมภาษณ์

29. วธิ ดี ำเนินการศึกษาคน้ คว้า ขอ้ ใดถูกต้องท่สี ดุ

ก. กลมุ่ ตัวอยา่ งจะมเี ทา่ กบั หรอื มากกว่าประชากรก็ได้

ข. กลุ่มตัวอย่างจะมเี ท่ากบั หรอื นอ้ ยกว่าประชากรก็ได้

ค. ประชากรจะมีน้อยกวา่ กลุ่มตัวอย่าง

ง. ประชากรจะมีมากกว่ากลมุ่ ตวั อย่าง

30. ส่งิ ท่คี วรกลา่ วถึงเครื่องมือในการศกึ ษาค้นคว้า คืออะไร

ก. ลกั ษณะ เนอื้ หา ส่วนประกอบ วธิ ใี ช้ ข. เนอ้ื หา ส่วนประกอบ ประชากร

ค. สว่ นประกอบ วิธใี ช้ กลมุ่ ตัวอย่าง ง. กระบวนการสรา้ ง ประชากร กลุ่มตวั อยา่ ง

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

23

บรรณานกุ รม

สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). คู่มอื ครู รายวชิ าเพิ่มเตมิ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เคมี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 เล่ม 6.พิมพ์คร้ังที่ 1 ; กรงุ เทพฯ : โรงพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.

สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2562). หนังสือเรียนรายวชิ าเพิม่ เติมวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี เคมี เลม่ 1. พมิ พ์ครั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

ผู้จัดการออนไลน์. (2564). พม่าประทว้ งรัฐประหารวนั ท่ี 9 ชาวเมอื งจบั กลุ่มลาดตระเวนหลงั ทหารปลอ่ ยตัว
นักโทษ คาดจงใจสร้างความรุนแรง. สบื ค้นเมอ่ื 15 กุมภาพนั ธ์ 2564, จาก
https://mgronline.com/indochina/detail/9640000014670


Click to View FlipBook Version