The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Saksit Pleesai, 2021-10-24 13:06:58

นิตยสาร

นิตยสาร

กะ เลย ทยู
ภาษาลู กบั การสร้างอตั ลกั ษณข์ องกลุ่มกะเทย
ภภาาษษาากกบับั ววฒัฒั นนธธรรรรมมไไททยย

สารบญั

ความเป็ นมาของการสร้างอัตลักษณ์ในเพศทางเลือก - กะเทยคือใคร หน้า 1
กะเทยกับการไม่ยอมรับทางสังคม - กะเทย กับ ภาษา หนา้ 2-3

อตั ลกั ษณ์ - ประเภทอตั ลกั ษณ์ หนา้ 4

ภาษาพูดของกะเทยกับภาพสะท้อนทางสังคม หนา้ 5

ภาษาลใู นสังคมไทย หนา้ 6

หลกั การสร้างภาษาลู หนา้ 7 - 12

ตัวอย่างภาษาลทู ่ีปรากฏในสื่อโซเชียล หนา้ 13

ประวัติศาสตรแ์ ละการพฒั นาของภาษาลใู นสังคมไทย
- ภาษาลกู ับการแพร่กระจายของภาษา หน้า 14

อัตลักษณ์ทางภาษา ของกล่มุ กะเทยที่ยังคงอยู่ หนา้ 15

ภาพสะท้อนตัวตนและสังคมของกะเทย หนา้ 16
บรรณานกุ รม หนา้ 17

ความเปน็ มาของการสรา้ งอัตลักษณ์ในเพศทางเลือก 1

ในปัจจุบัน สังคมไม่ได้มีเพียงแค่สองเพศ คือเพศชายและเพศหญิง แต่
ยังมีเพศทางเลือกเกิดขึ้นมากมาย เช่น เกย์ กะเทย ทอม ดี้ เลสเบี้ยนเป็นต้น
และกล่มุ เพศทางเลือกเหลา่ น้ไี ด้แสดง
ตวั ตนอย่างชดั เจนมากข้นึ ในสงั คม กลา้ ทีจ่ ะแสดงออกถึงตวั ตนมากกว่าในอดีต
อีกทั้งปัจจุบันที่ความรู้และวิทยาการได้เข้ามามีบทบาทมากข้ึน ทำให้เปิดโลก
ทัศน์ รวมไปถึงความรู้สึกนึกคิดของคนในสังคมมากขึ้นไปด้วย มุมมองต่อเพศ
ทางเลือกจึงได้ค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงไป ทำให้เรื่องราวของเพศทางเลือกได้รับ
การยอมรับจากสังคมมากขึน้ ในระดับหน่ึงแต่ก็ยังคงขาดการยอมรับจากสังคม
กลมุ่ ใหญ่

ด้วยเหตุนี้หลายครัง้ ทีก่ ลุ่มคนเพศทางเลือกพยายามแสดงออกซึ่งตวั ตน
เพ่อื ให้เปน็ ทย่ี อมรบั
ของสงั คม พยายามสรา้ งจุดเดน่ ให้เกิดขึน้ โดยกลุ่มเทศทางเลือก เชน่ กลุ่มเกย์
กลุ่มกะเทยหรือสาวประเภทสอง กลุ่มทอมดี้ และกลุ่มเลสเบี้ยน นั้น แต่ละ
กลุ่มจะมีแบบแผนการดำเนนิ ชีวติ และมี
วฒั นธรรมในกลุ่มท่มี ีลกั ษณะเฉพาะตวั หรือทเ่ี รียกวา่ วฒั นธรรมยอ่ ยของแต่ละ
กลุ่ม อีกทั้งการรวมตวั ของเพศทางเลือกตา่ ง ๆ จึงเกดิ ขนึ้

กะเทยคอื ใคร ?

คำว่า กะเทย คือบุคคลเพศชายที่แสดงลักษณะและพฤติกรรมออกมา
ในลกั ษณะท่าทาง
ใกลเ้ คียงกบั ลกั ษณะของเพศหญิง กลา่ วคือ ตอ้ งการจะเป็นเพศหญิงท้ังในด้าน
กาย วาจา ใจ และต้องการให้คนในสังคมปฏิบัติกับตนเองเหมือนผู้หญิงคน
หนึ่ง (สมภพ เรืองตระกูล, 2551) ได้พยายามสร้างอัตลักษณ์ของตนเองที่
อ้างอิงความเป็นเพศหญิง ทั้งการแต่งกาย ลักษณะท่าทาง กิริยามารยาท การ
พูดจา รวมไปถึงการศัลยกรรมหรือการแปลงเพศเพื่อให้ตนเองคล้ายเพศหญิง
และอัตลักษณ์อย่างหนึ่งที่เห็นได้ชัดเจน คือ “การสร้างภาษาขึ้นไว้ใช้สื่อสาร
กันเองภายในกลุ่ม”

ในทางการแพทย์ใช้คำว่า กะเทย (Katheoy) เพื่อหมายถึงกะเทยแท้
คือ “คนที่มีอวัยวะเพศของทั้งเพศชายและเพศหญิงในร่างกายเดียวกัน”
(Jackson 1998 อ้างถึงใน สมฤดี สงวนแก้ว, 2546) แต่ต่อมาคำว่ากะเทยถูก
ใช้เพื่ออธิบายชายที่รับเอาบทบาทของเพศหญิง (transgender male) มา
แสดงออกต่อสังคม ซง่ึ รวมถงึ กะเทยผมยาว, กะเทยทีแ่ ต่งกายเป็นผู้หญงิ หรือ
อาจหมายถงึ "ladyboy" และ "ladyman" ในคำภาษาองั กฤษทไ่ี ม่เป็นทางการ
ได้อีกด้วย (winter and Udomsak 2002 : 4 อ้างถึงใน สมฤดี สงวนแก้ว,
2546)

2

กะเทยกับการไมย่ อมรบั ทางสังคม

ไมว่ า่ คำว่า “กะเทย” จะถกู นำมาใช้เรียกบุคคลท่ีมีตวั ตนทางเพศ มอี วัยวะเพศ หรอื มีพฤติกรรมทางเพศ
แบบใดกต็ าม หากสำหรับบคุ คลทถ่ี ูกเรียกวา่ กะเทยแลว้ ในแง่มมุ สว่ นใหญ่คำ ๆ น้ี เป็นคำท่มี ีนยั ในเชิงดูถูก
เหยยี ดหยาม หรอื เป็นคำล้อเลียน ทำให้ผถู้ ูกเรียกได้รับความอับอาย หรือกลายเป็นตวั ตลกในสายตาของ
บคุ คลที่พบเหน็ ซงึ่ ท้ังหมดน้ีเป็นผลมาจากอิทธพิ ลขององคค์ วามรทู้ างดา้ นการแพทย์ จติ วทิ ยา สอ่ื มวลชน
กฎหมาย รวมไปถงึ ความคิดความเช่อื ทางวัฒนธรรมประเพณแี ละศาสนาทม่ี องเห็นและยอมรบั เรือ่ งเพศอยแู่ ต่
เฉพาะในกรอบความสมั พันธร์ ะหว่างชายกบั หญิงภายใต้อุดมการณ์ความรักความสัมพนั ธ์แบบผวั เดียวเมียเดยี ว

กะเทย กับ ภาษา ภาษาลูเป็นภาษาหนึ่งที่ใช้สื่อสารกันภายในกลุ่ม
กะเทยหรอื ในลกั ษณะของชายท่ีมีจรติ เป็น
หญิง กลุ่มเพศทางเลือกเช่นนี้มักจะถูกก่อกำเนิดขึ้นจาก
การรวมกลมุ่ ซึง่ เปน็ การหล่อหลอมตัวตนและรว่ มแสดงอัต
ลักษณ์ ซึ่งตัวตนและอัตลักษณ์ของเพศทางเลือกบางอย่าง
ได้ถูกสร้างความหมาย และหยิบยื่นให้โดยสังคมเอง อีกท้ัง
ตัวตนของคนข้ามเพศถูกมองแบบเหมารวม และมีบทบาท
การแสดงออกตามแบบที่สังคมส่วนใหญ่คุ้นเคย แต่ทว่า
ตัวตนและอัตลักษณ์ของกลุ่มคนเพศทางเลือกก็มีการสร้าง
กันเองขึ้นมาภายในกลุ่ม เพื่อตอบสนองความต้องการ
บางอย่างของกลุ่มคนเหล่านี้ และปรับแต่งให้สอดรับกับ
สถานการณ์และความสัมพันธ์ อีกทั้งยังใช้เป็นยุทธศาสตร์
สำคัญในการสะท้อนความเป็นตัวตนของตนเองออกมา
โดย “ภาษาลู” นี้ก็ตอบสนองด้านความต้องการสื่อสารกนั
อย่างเป็นส่วนตัว สามารถสื่อสารและเข้าใจกันเฉพาะ
ภายในกลุ่ม และมีความไม่เป็นทางการ แต่ทั้งนี้ภาษาลู ซ่ึง
แสดงถึงความเป็นตัวตนและอัตลักษณ์ของกลุ่มเพศ
ทางเลือก กลับมีลักษณะที่ไม่ตายตัวและมีความลื่นไหลอยู่
เสมอ

-------------------

ภาษาทใ่ี ชใ้ นการสอ่ื สารกันของมนุษย์
ไม่ได้มีเพียงภาษาทางการเท่านั้น แต่ยังมี
ภาษาที่ใช้สื่อสารกัน ซึ่งเป็นภาษาพูดของ
กลุ่มคนบางกลุ่มในสังคม นับเป็นวัฒนธรรม
ย่อยของคนกลุ่มนั้น ๆ เช่น ภาษาของเด็ก
แว๊น ภาษาสก๊อย หรือแมแ้ ต่ภาษาลูของกลุ่ม
กะเทย ก็ได้ใช้ภาษาที่ไม่ใช่ภาษาในกระแส
หลัก คือ ภาษากะเทยหรือภาษาลูสนทนา
กันภายในกลุ่ม คนภายนอกกลุ่มจะไม่
สามารถเข้าใจความหมายของภาษาที่ใช้
สื่อสารกันภายในกลุ่มดังกลา่ ว

3

4

กะ

เลย

ทูย

อัตลักษณ์คืออะไร ?

ฉลาดชาย รมิตานนท์ (2554 : 155) ได้กล่าวไว้ว่า
อัตลักษณ์มีความสำคัญต่อระบบสังคมกล่าวคือประการแรกทำ
ให้เรารู้สึกวา่ เป็นตวั เราหรือพวกเราท่ีแตกต่างจากคนอนื่ โดยไม่
จำเป็นต้องมีเพียงหนึ่ง แต่อาจมีหลายลักษณ์ที่ประกอบขึ้นมา
อัตลักษณ์ไม่ใช่สิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติที่เกิดขึ้นมาพร้อมกับคน
หรือสิ่งของ แต่เป็นสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นและเปลี่ยนแปลงได้ ซึ่งบ่ง
บอกถึงลักษณะเฉพาะลักษณะพิเศษที่จะบ่งบอกตัวตนของส่ิง
นั้นหรอื บคุ คลนน้ั

ประเภทของอัตลักษณ์

อภิญญา เฟื่องฟูสกุล (2543 : 4) ได้แบ่งอัตลักษณ์เป็น 2 ระดับ ได้แก่ อัตลักษณ์ส่วนบุคคลและอัตลักษณ์ทาง
สังคม ซึ่งอัตลักษณ์ส่วนบุคคล คือลักษณะบุคคลที่นิยามตัวเองว่าคือใคร เป็นสิ่งที่เป็นรูปธรรมจนเกือบจะจับต้องและ
รสู้ ึกได้ เช่น รปู รา่ ง หน้าตา เพศ สถานะ ความรู้ และอตั ลกั ษณท์ างสังคม เปน็ ภาพท่ีบุคคลอืน่ มีต่อบุคคลหน่ึงโดยอาศัย
สัญลักษณ์ที่มีลักษณะเป็นนามธรรม ดังนั้น อัตลักษณ์กับสังคมจึงแยกออกจากกันไม่ได้เนื่องจากการนิยามความเป็น
ตัวตนของอัตลักษณ์นั้นต้องมีการอ้างอิงกับสังคม แม้จะเป็นในระดับตัวบุคคลก็ยังต้องมีการนิยามตนเองว่ามีบทบาท
อยา่ งไรในสงั คมที่บคุ คลอาศัยอยู่

5

ภ า ษ า พู ด ข อ ง ก ะ เ ท ย กั บ ภ า พ
สะท้อนทางสังคม

ภาษาพูดของกะเทย : ภาพสะท้อนการ
เป็นชายขอบ (2549) โดย ภัสรัชญ์ โล่
คุณสมบัติ มาทำความเข้าใจต่อได้ โดยงานชน้ิ
นี้ได้ศกึ ษาทศั นคติของกะเทยหรอื สาวประเภท
สอง พบวา่ ทศั นคตขิ องกะเทยเกอื บทกุ คนรู้สึก
ดีกับการใช้ภาษาพูดหรือใช้คำศัพท์กะเทย ซึ่ง
เป็นสิ่งที่แสดงเอกลักษณ์ส่วนบุคคลว่าเป็น
กะเทย และทำให้คนในกลุ่มที่ใช้ภาษานี้รู้สึก
ว่าตนเป็นพวกเดียวกัน แต่คนส่วนใหญ่ใน
สังคมจะมองภาษาพูดของกะเทยว่าตลกและ
แปลก มคี วามแตกตา่ งจากภาษาพูดปกตทิ ัว่ ไป
โดยไม่ได้รับการยอมรับจากสังคม ซึ่งภาษาก็
เป็นองค์ประกอบสำคัญของมนุษย์อย่างหน่ึง
และเป็นสิ่งที่แสดงใหเ้ ห็นตัวตนและอัตลักษณ์
ของผู้พูดภาษานั้น ๆ กะเทยหรือสาวประเภท
สองถูกคนส่วนใหญ่ในสังคมมองว่าเป็นชาย
ขอบอยู่แล้ว ทำให้ภาษาหรือคำศัพท์ของ
กะเทยนัน้ ถูกมองว่าเป็นภาษาชายขอบไปด้วย
เช่นกัน

6

ภาษาลใู นสังคมไทย

ภาษาลู เป็นภาษาที่ตัดแปลงหรือเป็นการเล่นคำที่มา
จากภาษาไทย ปรากฏคำค้นหาในอินเทอร์เน็ตเก่าที่สุดในปี
2006 (พ.ศ.2549) อาจอนมุ านไดว้ ่าเป็นชว่ งเวลาทภี่ าษานเ้ี กิด
ขนึ้ มา หรอื เป็นชว่ งทกี่ ำลังไดร้ บั ความนิยม

ภาษาลูได้สะท้อนลักษณะที่แตกต่างออกไปจากการ
เล่นคำอน่ื ๆ โดยการแทนเสียงดว้ ยพยญั ชนะลอลิง และพบว่า
ภาษานี้ถูกกะเทยนำมาใช้กันอย่างแพร่หลาย ถือเป็น
วัฒนธรรมที่ส่งผ่านกันภายในกลุ่ม โดยไม่ได้มีลักษณะเป็น
ภาษาวิบัติหรือมีวัตถุประสงค์เพื่อทำลายความสละสลวยของ
ภาษาไทย เนื่องจากหลักการของภาษาดังกล่าวเป็นเพียงการ
เล่นคำและดัดแปลงการสะกดคำของภาษาท่ีใช้ในการสนทนา
ด้วยการพูด โดยมีแบบแผนการตัดแปลงที่เป็นหลักการแบบ
ไม่ตายตัว ซึ่งผู้ใช้ภาษาสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เป็นแบบ
เฉพาะของตนเองได้ และยังคงต้ังอยูบ่ นความเป็นภาษาลู

7

หลักการของภาษาลู

ในภาษาไทยหนึ่งพยางค์น้นั เม่อื แปลงเป็นภาษาลแู ล้วจะไดส้ องพยางค์ คือ มลี อพยางค์ และอุพยางค์ โดยลอพยางค์เป็น
พยางค์ของพยัญชนะต้นและจะอย่ดู า้ นหน้า ส่วนอพุ ยางค์เป็นพยางค์ของสระและจะอยูด่ ้านหลัง (การพูดภาษาลูขั้นพืน้ ฐาน,
2560) ซ่ึงจากการคน้ ควา้ ในอินเทอรเ์ น็ตนัน้ ไม่พบความหมายทแี่ น่ชัด

เนื่องจากภาษาลูไมม่ ีหลักการทแี่ น่ชดั เปน็ ลายลักษณ์อกั ษร จึงได้ทำการรวบรวมหลกั การสรา้ งภาษาลจู ากงานวิจยั ต่าง ๆ
โดยมีหลกั การผสมคำในภาษาลู 4 ขอ้ หลัก ๆ ท่ผี ใู้ ช้ภาษาลูเข้าใจโดยทัว่ กนั ดังต่อไปนี้

1) นำคำวา่ “ลู” ไว้ดา้ นหน้าของคำทีต่ ้องการ หลงั จากนน้ั นำมาผวนกัน โดยตอ้ งนำเสียงของตวั สะกดหรือวรรณยกุ ต์ที่อยู่
ในคำเดิมมาเติมดว้ ยเพ่ือใหเ้ กิดความสวยงามของเสยี ง ตัวอย่างเช่น ตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 แสดงผลผสมคำในภาษาลู
1.1 คำวา่ “อา” นำ “ลู” เดิมขา้ งหนา้ เป็น ลู – อา หลงั จากนน้ั ผวนเป็น ลา – อู
1.2 คำว่า “เสือ้ ” นำ “ลู” เดิมข้างหนา้ เปน็ ลู – เสอ้ื หลงั จากนน้ั ผวนเปน็ เลื่อ – สู้
1.3 คำวา่ “น้ำ” นำ “ลู” เดิมข้างหน้าเป็น ลู – นำ้ หลงั จากนน้ั ผวนเปน็ ล้าม – นูม้
1.4 คำวา่ “มาก” นำ “ลู” เดมิ ข้างหนา้ เป็น ลู – มาก หลังจากนั้นผวนเปน็ ลาก – มูก
1.5 คำวา่ “ดกึ ” นำ “ลู” เดิมข้างหนา้ เป็น ลู – ดกึ หลังจากนน้ั ผวนเปน็ หลึก – ดกุ

8

2) คำท่ีเปน็ รอเรือ หรือ ลอลิง ท่เี ป็นพยญั ชนะต้นอยู่แลว้
ต้องเปล่ียน รอเรือ หรือ ลอลิง นั้นเปน็ สอเส้ือ หรือซอโซ่
แทน เพ่ือไม่ให้เสยี งซ้ำกบั คำว่า “ลู”

ลำดับท่ี คำศัพท์ เติม “ลู” เปล่ยี นเสยี ง ร หรือ ล คำทีใ่ ชใ้ น
ลู – รกั เปน็ ส หรอื ซ ภาษาลู
2.1 รกั
2.2 รบี หลงั จากน้นั จึงผวน ซกั – รุก
2.3 ร้อน
2.4 ลงิ ซู – รัก
2.5 ลอก
ลู – รบี ซกั – รีบ ซบี – รูบ

ลู – รอ้ น ซู – รอ้ น ซ้อน – ลู้น

ลู – ลงิ ซู – ลงิ ซงิ – ลุง

ลู – ลอก ซู – ลอก ซอก – ลูก

ตารางท่ี 2 แสดงการผสมคำในภาษาลู กรณเี ปล่ยี นเสียงพยญั ชนะ
2.1 คำว่า “รัก” นำ “ลู เติมข้างหนา้ เป็น ลู – รกั เปลยี่ น ร เปน็ ซ หลังจากนน้ั นำมาผวนเปน็ ซัก – รกุ
2.2 คำว่า “รบี ” นำ “ลู เตมิ ข้างหน้าเป็น ลู – รบี เปลย่ี น ร เปน็ ซ หลังจากนัน้ นำมาผวนเป็น ซบี – รูบ
2.3 คำว่า “รอ้ น” นำ “ลู เติมขา้ งหน้าเปน็ ลู – รอ้ น เปลี่ยน ร เป็น ซ หลงั จากน้ันนำมาผวนเปน็ ซอ้ น – ลูน้
2.4 คำว่า “ลงิ ” นำ “ลู เติมข้างหนา้ เป็น ลู – ลิงเปลี่ยน ล เปน็ ซ หลงั จากน้ันนำมาผวนเปน็ ซิง – ลงุ
2.5 คำวา่ “ลอก” นำ “ลู เติมขา้ งหนา้ เปน็ ลู – ลอก เปล่ียน ล เป็น ซ หลงั จากนัน้ นำมาผวนเป็น ซอก – ลกู

3) คำที่เป็น สระอู ต้องเปล่ยี นเป็น สระแอ หรือ สระอี แทน เพ่ือ
ไม่ให้เสียงซำ้ กบั คำวา่ “ลู”

ลำดบั ที่ คำศัพท์ เติม “ล”ู เปล่ยี นเสยี ง อู เป็น แอ หรือ อี คำทใ่ี ช้ใน
3.1 พดู ลู – พดู หลงั จากนั้นจึงผวน ภาษาลู
ลู – ลูก แลด – พดู ลูด – แพด
3.2 ลกู หรือ
ลู – จบู ลีด – พูด /
3.3 จูบ แลก – ลูก ลดู – พดี
ซกู – แลก
เปล่ียนเสียง ล เปน็ ซ (กรณที ี่2)
แซก – ลกู หรอื /
ซดี – ลกู ซกู – ลกี
แลบ – จูบ
หรือ หลูบ – แจบ
ลีบ – จบู /

หลบู – จบี

3.4 ฝงู ลู – ฝงู แลง – ฝูง หลูง – แฝง

หรอื /

ลีง – ฝูง หลูง – ฝีง

3.5 ปลกู ลู – ปลกู แลก – ปลกู หลกู – แปลก
หรือ /

ลกี – ปลูก หลูก – ปลีบ

9

ตารางท่ี 3 แสดงการผสมคำในภาษาลู กรณเปลย่ี นเสียงสระ 10

3.1 คำวา่ “พดู ” นำ “ลู” เตมิ ขา้ งหน้าเปน็ ลู – พูด เปลีย่ นเสียง เปน็ แอ หรอื อี หลงั จากน้นั นำมา
ผวนเปน็ ลดู – แพด, ลดู – พดี

3.2 คำว่า “ลกู ” นำ “ลู” เติมข้างหนา้ เปน็ ลู – ลกู เปลยี่ นเสยี ง เป็น แอ หรอื อี หลังจากนัน้ นำมาผวนเป็น
ซูก – แลก, ซกู – ลีบ (เปล่ยี นเสียง ล เป็น ซ ตาทกรณที ี่2)

3.3 คำว่า “จูบ” นำ “ลู” เติมข้างหนา้ เปน็ ลู – จูบ เปลย่ี นเสยี ง เป็น แอ หรอื อี หลังจากน้ันนำมาผวนเป็น
หลบู – แจบ, หลูบ – จีบ

3.4 คำว่า “ฝูง” นำ “ลู” เตมิ ขา้ งหนา้ เปน็ ลู – ฝูง เปลีย่ นเสยี ง เป็น แอ หรือ อี หลงั จากนั้นนำมาผวนเป็น
หลูง – แฝง, หลงู – ฝงี

3.5 คำว่า “ปลูก” นำ “ลู” เตมิ ข้างหน้าเป็น ลู – ปลูง เปลีย่ นเสยี ง เป็น แอ หรอื อี หลงั จากน้นั นำมาผวน
เป็น หลกี – แปลก, หลูก – ปลีก เป็นตน้

ลำดบั คำศพั ท์ แยกพยางค์ออก และเติม คำที่ใชใ้ นภาษาลู
ท่ี “ล”ู หลังจากนั้นจงึ ผวน

4.1 กะเทย ลู – กะ ลู – เทย หละ – กุ เลย – ทยู

4.2 ขอ้ ความ ลู – ขอ้ ลู – ความ ลอ่ – ซู้ ลาม – ควมู

4.3 ขอบคุณ ลู – ขอบ ลู – คุณ หลอบ – ขูบ ลนุ – คิน

4.4 คิดถงึ ลู – คดิ ลู – ถึง ลิด – คดุ หลงึ – ถุง

4.5 แดกดนั ลู – แดก ลู – ดนั แหลก – ดกู ลัน – ดนุ

4.6 รำคาญ ลู – รำ ลู – คาญ ซำ – รุม ลาน – คนู

เปลยี่ นเสยี ง ล เปน็ ซ

(กรณีท่ี2)

4.7 สมน้ำหนา้ ลู – สม ลู – นำ้ ลู – หน้า หลม – สุม ลา้ ม – นมู้

ล่า – นู่

11

ตารางที่ 4 แสดงการผสมคำในภาษาลู กรณหี ลายพยางค์

4.1 คำว่า “กะเทย” แยกพยางคอ์ อกเป็น กะ / เทย นำ “ลู” เตมิ ขา้ งหน้าของแต่ละพยางค์เป็น ลู – กะ ลู - เทย
หลงั จากนน้ั นำแต่ละพยางค์มาผวนเป็น หละ – กุ เลย – ทยุ

4.2 คำว่า “ข้อความ” แยกพยางค์ออกเปน็ ข้อ / ความ นำ “ลู” เติมข้างหนา้ ของแตล่ ะพยางคเ์ ปน็ ลู – ข้อ ลู –
ความ หลงั จากนนั้ นำแต่ละพยางคม์ าผวนเป็น ลอ่ – ขู้ ลาม – ควมู

4.3 คำวา่ “ขอบคุณ” แยกพยางค์ออกเปน็ ขอบ / คุณ นำ “ลู” เตมิ ข้างหน้าของแต่ละพยางคเ์ ปน็ ลู – ขอบ ลู –
คุณ หลังจากน้นั นำแตล่ ะพยางค์มาผวนเปน็ หลอบ – ขนู ลุน – คนิ

4.4 คำว่า “คิดถงึ ” แยกพยางคอ์ อกเป็น คดิ / ถงึ นำ “ลู” เติมขา้ งหน้าของแตล่ ะพยางค์เปน็ ลู – คิด ลู – ถึง
หลังจากนั้นนำแตล่ ะพยางคม์ าผวนเป็น ลดิ – คดุ หลงึ – ถงุ

4.5 คำวา่ “แดกดนั ” แยกพยางคอ์ อกเปน็ แดก / ดัน นำ “ลู” เติมขา้ งหนา้ ของแตล่ ะพยางคเ์ ป็น ลู – แดก ลู – ดนั
หลงั จากน้ันนำแตล่ ะพยางคม์ าผวนเป็น แหลก – ดกู ลัน - ดนุ

4.6 คำวา่ “รำคาญ”แยกพยางค์ออกเป็น รำ / คาญ นำ “ลู” เตมิ ข้างหน้าของแตล่ ะพยางคเ์ ปน็ ลู – นำ ลู – คาญ
หลงั จากนน้ั นำแตล่ ะพยางค์มาผวนเป็น ซำ – รุม ลาน – คนู (เปล่ียนเสยี ง ร เปน็ ซ ตามกรณีที่ 2)

4.7 คำว่า “สมน้ำหน้า” แยกพยางค์ออกเปน็ สม / นำ้ / หนา้ นำ “ลู” เติมข้างหน้าของแตล่ ะพยางค์เป็น ลู – สม ลู
– น้ำ ลู – หน้า หลังจากนั้นนำแต่ละพยางค์มาผวนเปน็ หลม – สุม ล้าม – นู้ม ลา่ – นู่

ในการสร้างคำบางคำที่ซับซ้อนหรือมีพยางค์หลายพยางค์นั้น จะสามารถ
ประดิษฐ์คำเพื่อใช้ในรูปแบบใดก็ได้ เนื่องจากภาษาลูเป็นภาษาพูดที่ไม่มีกฎเกณฑ์
ตายตัวและสามารถลื่นไหลไปมาได้ ในแต่ละบุคคลก็มีการประยุกต์ใช้ที่แตกต่างกัน
เช่น การลดทอนคำบางพยางค์ในประโยคที่ยาวๆ อย่างในข้อ 4.1 กะเทย อาจพูดให้
กระชับขึ้นว่า กะเลย – ทยู เปน็ ตน้

12

ตวั อยา่ งการเล่นคำในภาษาลู คำศัพท์ ภาษาลู
กด หลด – กุด
ลำดบั กรอด หลอบ – กบู
1. กลม ลม – กมุ
2. กลว้ ย ล่วย – กู้ย
3. กล่อม หล่อม – กุ่ม
4. กลา้ ลา่ – กู้
5. กวน ลวน – กนู
6. กวาง ลาง – กวูง
7. กา้ ง ล่าง – กู้ง
8. ลาน – กนู ล่าน – บู้น
9. การบา้ น
10.

13

ตัวอย่างภาษาลทู ่ีปรากฏในส่ือโซเชียล

ปี 2557 ใน "Club Friday The Series 5 ตอน ความลบั ของมนิ้ ต์กับมวิ " ทมี่ ี
บทบาทของตัวละครกะเทยพูดภาษาลแู ซวผชู้ ายในลฟิ ต์
https://youtu.be/D6_0KwXywPI นาทที ี่ 29.45 - 30.30 น.

ปี 2558 ปรากฎภาษาลูในเพลง ลามู ลามู - ปราง ปรางทพิ ย์ ทม่ี เี น้ือรอ้ งวา่ "ลู่
พู่ลายชูย ลา่ นู่ลาตลี ีด"ู (ผชู้ าย หน้าตาต)ี https://youtu.be/UNn5ldjqP3k

ปี 2562 รายการสงิ่ ศักดิ์สิทธ์ิ ตอน ลรัง้ ค้งู แซกรูก! โล๋ตเู๋ ซยี นรนู ลาภูลาลาษู
หลับกบุ ล๊อตกดุ๊ ลิจุ ของช่อง Youtube Channel gooddayofficial ได้ทำ
รายการเกีย่ วกับการสอนภาษาลูให้ผ้ชู ายแท้ได้ฝกึ ฝนการใช้ภาษาดังกลา่ ว
https://youtu.be/TqFgq6pxvOs

ปี 2563 มีเพลงของแร็ปเปอร์สาวที่โด่งดังจากรายการ The Rapper 2
ชื่อเพลง พักก่อน - MILl ที่มีท่อนแร็ปท่อนหนึ่งในเพลงเป็นภาษาลูและเป็น
คำหยาบคาย "ลีอูหลอกดูก สักก็แต่พูด พูดนี่พูดโน่น ลีอูเลี้ยหู้ลอตูแซหลู ซัม
คุยลานคนู ปากไมม่ หี รู ดู " https://youtu.be/rUAuEo3t0-o

14

ประวัติศาสตรแ์ ละการพฒั นาของภาษาลใู นสังคมไทย

เรื่องราวของภาษาลูไม่ได้ถูกศึกษาในเชิงวิชาการมากเท่าใด
นัก ส่งผลให้ประวัติศาสตร์ของภาษาดังกล่าวไม่ได้ปรากฏที่มา
อย่างแน่ชัดว่าเกิดขึ้นเมื่อไร โดยใคร และมีมานานเท่าใดแล้ว
ดังนั้น ผู้ศึกษาจึงได้รวบรวมข้อมูลจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความเป็นมาของภาษาลู จุดเริ่มต้นของ
ภาษาลูที่ไม่ปรากฏอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร แต่สามารถ
อนมุ านไดว้ า่ มีการใช้เพ่ือการส่ือสารกนั ภายในกลมุ่ มานามากกว่า
20 ปี จนไดก้ ลายเปน็ สญั ลักษณ์ทคี่ ู่กับกลุ่มคนท่ีใชภ้ าษานี้ไปโดย
ปริยาย ภาษาลเู สมือนเกดิ ขึ้นโดยความไม่ตั้งใจ

เริ่มแรกน้นั มีความเชื่อวา่ ภาษาลูเป็นภาษาของคนคุกที่ใช้
พดู คยุ กนั ภายในเรือนจำเพ่ือหลีกเสย่ี งไม่ให้ผคู้ ุมสามารถเข้าใจได้
โดยอาจเป็นเรื่องที่ผิดกฎเร่ืองการหลบหนี และเรื่องไม่ดีอืน่ ๆ ท่ี
จะกระทำในเรือนจำแบบลับ ๆ และเมื่อพันโทษจากเรือนจำ
ออกมาสสู่ ังคมภายนอก กอ็ าจนำภาษาดังกล่าวมาใช้สือ่ สารอย่าง
ที่เคยชิน จนเกิดการเผยแพรว่ ัฒนธรรมภาษานีใ้ ห้แก่คนในสังคม
แต่ความเชื่อนี้ก็ยังคงไม่สามารถพิสูจน์ได้ เนื่องจากไม่มีการ
บันทกึ เป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรทแี่ น่ชัด

ภาษาลกู ับการแพรก่ ระจายของภาษา

ภาษาลูเป็นภาษาพูดทไ่ี ด้มกี ารสืบสานและถา่ ยทอดต่อ ๆ
กันมาผ่านการพูดคุยสือ่ สารกันภายในกลุ่มกะเทยด้วยกนั เอง ทง้ั
เร่อื งของการสนทนาเร่อื งทัว่ ไป และเรอ่ื งทมี่ ีความสนใจรว่ มกนั
ทงั้ การรับเอาภาษาดังกลา่ วจากร่นุ พี่ ร่นุ นอ้ ง หรอื เพอ่ื น และ
นำมาใช้จนได้กลายเป็นอตั ลักษณ์ที่สามารถบ่งบอกตนเอง ด้วย
อทิ ธิพลทางภาษาดงั กล่าวทำให้เกิดการใชจ้ นชำนาญและได้สง่
ต่อวฒั นธรรมนใ้ี หแ้ กผ่ ู้อ่ืน รวมถึงสอื่ โซเชียลมีเดียท่ีได้มอี ิทธพิ ล
ในการแพร่กระจายภาษาลอู อกไปสู่สงั คมทำให้กลายเป็นภาษา
สาธารณะทท่ี ุกคนสามารถเข้าถงึ ได้มากขนึ้

15

ในอตีตภาษาลูจะใช้กันอยเู่ พยี งแค่ในกลุ่มของกะเทยเท่านั้น โดยสว่ นมากจะเปน็ วยั รุ่นท่ีรกั ความสนุกสนาน
และยังมีความต้องการจะมีปฏิสัมพันธ์กับกลุ่มเพื่อน อีกทั้งภาษาลูยังไม่แพร่หลายเท่าใดนักในสังคม เนื่องด้วย
คา่ นยิ มตา่ ง ๆ และมมุ มองทัศนคติของคนในสังคมที่มีต่อเพศทางเลือกยังไม่เปิดกวา้ งมากนัก ทำให้เกิดวัฒนธรรมที่
บุคคลมีความรู้สึกร่วมกัน รับรู้และสนใจในสิ่งเดียวกัน จนได้กลายเป็นอัตลักษณ์ที่บ่งบอกว่าตนเองเหมือนหรือ
แตกต่างกับคนกล่มุ อ่ืน

อัตลักษณ์ทางภาษา ของ
กล่มุ กะเทยท่ียังคงอยู่

ในปัจจุบัน ภาษาลูก็ยังคงเป็นที่รับรู้และเข้าใจกันอยู่ว่าเป็นภาษาที่บ่งบอก
ความเป็นอัตลักษณ์ของกลุ่มกะเทย แต่เกิดการแพร่กระจายของภาษาออกไปในวง
กว้างด้วยอิทธิพลของสื่อโซเชียลมีเดียที่มีความรวดเร็ว ประกอบกับความรู้สึกนึกคดิ
และค่านิยมของคนในสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ส่งผลให้ความอคติที่มีต่อ
เพศทางเลือกลดน้อยลงมากจากในอดีตประกอบกับภาษาลูเป็นภาษาทีม่ ีความแปลก
ใหม่และมีความน่าดึงดูดในตวั เอง จึงกลายเป็นที่สนใจของคนกลุ่มอืน่ ได้ไมย่ าก กลุ่ม
คนเพศอนื่ ๆ จึงได้เรียนรู้ภาษาจากกล่มุ กะเทยและนำมาใชเ้ พ่ือความสนุกสนาน เพ่ิม
อรรถรสในการสนทนา และเพอื่ การเขา้ สังคมกับกลุ่มกะเทยอีกด้วย

16

ภาพสะท้อนตัวตนและสังคมของกะเทย

การเลือกใชภ้ าษาลใู นการพดู คยุ กนั ของกลุ่มกะเทยน้ัน ต่างมเี หตุผลในการเลือกใช้ทัง้ ท่ี
แตกต่างและเหมือนกันหลายเหตผุ ลดว้ ยกนั โดยจะนำเสนอตามลำดับความนิยมในการใช้
ดงั ตอ่ ไปน้ี
ไม่ต้องการให้คนนอกฟั งรเู้ รือ่ ง

เหตผุ ลแรกในการใช้ภาษาลูคือไม่ต้องการใหผ้ ู้อื่นรู้ในสิง่ ทตี่ ้องการจะพูด เป็นการปิดการสนทนา
ให้อย่ภู ายในกลุ่มของผูใ้ ชภ้ าษาน้ีเทา่ นนั้ เนือ่ งจากต้องการความเปน็ สว่ นตวั ในการพดู คยุ

นินทา

เน่ืองจากภาษาลูไม่ใชภ่ าษาในกระแสหลัก ทำให้มีผู้ทเี่ ข้าใจภาษานเ้ี ป็นจำนวนน้อยและหวั
เร่อื งในการท่จี ะใช้ภาษานีไ้ มไ่ ด้กวา้ งมากนกั จงึ หลีกไม่พ้นการนินทาหรอื หยอกลอ้ ผู้ชาย
ของกลุ่มกะเทย

พูดเร่อื งทะล่ึง คาหยาบคาย

การพดู เร่ืองทะล่ึงหรือใช้แทนคำหยาบคายด้วยภาษาลู จะพบเห็นไดบ้ ่อยในผู้ที่ใช้ภาษาน้ี
เน่อื งจากการพูดในแบบดงั กล่าวเป็นเรือ่ งที่ไมส่ ามารถพดู ได้ในสังคมปกติ หรอื อาจจะถกู
มองในแง่ลบหากพูดออกไปสู่สาธารณะ

สนกุ สนาน สีสัน ดรามา่
เพอื่ เปน็ การสร้างความสนุกสนานและเพิ่มอรรถรสใหก้ บั บทสนทนา ภาษาลชู ว่ ยเพิ่มสสี ัน
และความสนุกสนานใหก้ บั บทสนทนา เนอ่ื งจากภาษาลูจะเป็นการเลน่ ทางภาษาท่ีเพมิ่
พยางค์เขา้ มา ทำใหป้ ระโยคดูมคี วามแปลกใหม่ เมื่อฟังแลว้ จะรสู้ ึกไมค่ นุ้ หู

ภาษาลนู นั้ มาจากกะเทยและแพรก่ ระจายโดยกะเทยผ่านการสนทนา จนอาจ
กลา่ วได้ว่า "ภาษาลูเปน็ ภาษาของกะเทย " เพราะกะเทยอยู่ในทุกกระบวนการของภาษา
ท้ังจดุ เริ่มต้น การประยุกต์ การนำไปใช้ ไปจนถึงการเผยแพรภ่ าษาออกไปสสู่ าธารณะ
และไม่ไดร้ ้สู กึ ต่อตนเองและภาษาเฉพาะกลมุ่ ของตนเองไปในด้านลบ แต่ยงั คงร้สู ึกวา่
ตนเองมีพน้ื ท่ีในสังคมมากขน้ึ กลา่ วคอื มีพื้นท่ีให้ได้แสดงออกทางความคิด การกระทำ
และการเขา้ สังคมของกลุม่ กะเทยเองอกี ดว้ ย

17

บรรณานุกรม

อมรา ประสิทธ์ิรัฐสนิ ธุ.(2542). ภาษาในสังคมไทย ความหลากหลาย การเปล่ียนแปลง และการพัฒนา.
กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อภญิ ญา เฟื่องฟูสกุล.(2547). การทบทวนทฤษฎีและกรอบแนวคดิ เกยี่ วกบั อตั ลักษณ.์ คณะกรรมการการวจิ ยั
แหง่ ชาติ สาขาสังคมวิทยา สำนักงานคณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาติ.

ภสั รชั ญ์ โลค่ ณุ สมบัติ. (2549). "ภาษาพดู ของกะเทย : ภาพสะท้อนการเปน็ ชายขอบ." วทิ ยานิพนธ์
ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต ภาควิชามานษุ ยวทิ ยา คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

พิมพวลั ย์ บญุ มงคล และคณะ. (2551). ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สทิ ธิ แลสุขภาวะทางเพศ.
กรงุ เทพฯ : เจริญดีม่ันคงการพิมพ์.

สอ่ื อิเล็กทรอนิกส์
การพูดภาษาลขู ้นั พ้นื ฐาน. (ออนไลน์). เขา้ ถงึ เมื่อ 10 ตลุ าคม 2564. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก

https://www.youtube.com/watch?v=-CW2750wPB4

จัดทาโดย

นางสาวธพิ าวรรณ โพธพิ นั ธ์ 62131109005
62131109006
นายธนภมู ิ สมวงศ์ 62131109016
62131109021
นายปารเมศ คาแสง 62131109024

นางสาวฐติ ริ ตั น์ ฉตั ร์มงคล

นายสนั ตกิ ร วรรณโชติ

นกั ศกึ ษาชนั้ ปีท่ี 3 สาขาวชิ าภาษาไทย คณะครุศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสุนนั ทา


Click to View FlipBook Version