กกาารรปปฏิฏิฏิรูรู ฏิ รู ฏิ ฏิ รู ป รู ป รู ปศศาาสสนนาา
คำ นำ หนังนัสือสือิเล็กทอรนิกนิส์ เรื่อรื่งการปฏิรูปศาสนาได้จัด้ดจัทำ ขึ้นขึ้ เพื่อพื่ ใช้ปช้ระกอบการเรียรีนการสอนสำ หรับรัศึกษาตลอดจน บุคคลที่สนใจ โดยผู้พัผู้ ฒพันาได้แด้บ่ง บ่ เนื้อนื้หาอิเล็กทรอนิกนิส์ไส์ว้ ได้แด้ก่ สาเหตุกตุารปฏิรูปรูศาสนา นักนั ปฏิรูปรูศาสนาคนสำ คัญ การเริ่มริ่ต้นปฏิรูปรูศาสนาการปฏิรูปรูศาสนาของคริสริตจักจัร ผลของการปฏิรูปรูการศาสนาหวังวัเป็น ป็ อย่า ย่ งยิ่งยิ่ว่า ว่ เนื้อนื้หา สาระของหนังนัสือสือิเล็กทรอนิสนิก์เล่มนี้ จะเป็น ป็ ประโยชน์แน์ละ ให้คห้วามรู้แรู้ก่ผู้เผู้รียรีนและผูู้สผูู้นใจ ก
สารบัญ คำ นำ สารบัญ การปฏิรูปศาสนา สาเหตุการปฏิรูปศาสนา การเริ่มต้นปฏิรูปศาสนา การปฏิรูปศาสนาของคริสตจักร ผลของการปฏิรูปการศาสนา อ้างอิง ผู้จัดทำ ข ก ข 1 2 3 4 5 6 7
เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีสาเหตุ สำ คัญมาจากความเสื่อม ความนิยมในผู้นำ ทางศาสนาและการเกิดแนวคิดใหม่เกี่ยวกับ ศาสนา เนื่องจากมีการศึกษาคัมภีร์ไบเบิลและแปลออกเป็น ภาษาต่างๆ เช่น ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน ทำ ให้คริสต์ ศาสนิกชนมีความรู้ความเข้าใจใหม่ การปฏิรูปศาสนาจึงเกิดขึ้น ในหลายๆ ประเทศ โดยมีผู้นำ การปฏิรูปหลายคนและใช้ชื่อ แตกต่างกันการปฏิรูปคริสต์ศาสนา หมายถึง ขบวนการในยุโรป ตะวันตกที่ปัจเจกชนและสถาบันต่างๆ แสดงความเห็นคัดค้าน การปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องตามหลักในคัมภีร์ไบเบิล การปฏิรูปเป็น ไปอย่าง ต่อเนื่อง จนในที่สุดคริสต์ศาสนาในยุโรปได้แตกแยก เป็น 2 นิกาย คือโรมันคาทอลิกและ โปรเตสแตนต์ กกาารรปปฏิฏิฏิ ฏิรูฏิรูฏิรูรู ป รู ป รู ปศศาาสสนนาา ((RREELLIIGGIIOOUUSS RREEFFOORRMMAATTIIOONN)) 1
1. ประชาชนไม่พอใจสันตะปาปาที่กรุงโรม พระและบาทหลวงที่มีความเป็น อยู่อย่าง ฟุ่มเฟือย หรูหรา ทั้งยังเรียกเก็บภาษีบำ รุงศาสนาสูงขึ้น เพื่อนำ เงินไปใช้จ่ายในคริสตจักรใน กรุงโรม รวมทั้งการซื้อขายตำ แหน่งของพวก บาทหลวงและความเสื่อมเสียในจริยวัตรของ สันตะปาปาที่ครองอำ นาจใน คริสต์ศตวรรษที่ 15-16 2. เจ้าผู้ครองแคว้นต่างๆ ในยุโรปต้องการเป็นอิสระจากคริสตจักรที่มี สันตะปาปาเป็น ผู้ปกครอง และจากจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอัน ศักดิ์สิทธิ์ เนื่องจากสันตะปาปาเข้าไปยุ่งเกี่ยว และใช้อำ นาจทางการเมือง 3. การศึกษาในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ทำ ให้ชาวยุโรปเห็นว่ามนุษย์ สามารถทำ ความ เข้าใจคัมภีร์ไบเบิลได้ด้วยตนเองมากกว่าที่จะผ่าน พิธีกรรมของศาสนจักร 4. สันตะปาปาจูเลียสที่ 2 (JULIUS II) และสันตะปาปาลีโอที่ 1 ต้องการ หาเงินในการ ก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ที่กรุงโรม จึงส่งคณะสมณทูต มาขาย “ใบไถ่บาป” ในดินแดน เยอรมนี เนื่องจากเป็นแนวคิดของชาว คริสต์ว่า พระเป็นเจ้าส่งพระเยซูคริสต์มาช่วยมนุษย์ให้พ้น จากบาป เรียก ว่า การไถ่บาป (REDEMPTION) ด้วยการเสียสละพระชนม์ชีพ การไถ่บาป จะเป็นการ เปิดทางให้มนุษย์ได้รับการอภัยโทษ และกลับมามีความ สัมพันธ์กับพระเจ้าและเพื่อนมนุษย์ได้ อย่างถูกต้อง สาเหตุการปฏิรู ฏิ รู ปศาสนา มีดั มี สาเหตุตุตุ ก ตุ การปฏิฏิรู ฏิ รู ฏิ รูรู ปศาสนา มีมีดั มี ดั มี งง ดั ดั ดั นี้นี้นี้ นี้ นี้ นี้ นี้ นี้นี้ 2
การปฏิรูปศาสนาเริ่มต้นในดินแดนเยอรมนีใน ค.ศ. 1517 เมื่อมาร์ติน ลูเธอร์ (MARTIN LUTHER : ค.ศ. 1483-1546) นักบวชชาวเยอรมันและเป็นผู้สอนเทววิทยาสายคัมภีร์ (BIBLICAL THEOLOGY) แห่งมหาวิทยาลัยวิทเทนบูร์ก (WITTENBURG) ใน เยอรมนี ได้ เขียนญัตติ 95 ข้อ (NINETY-FIVE THESES) คัดค้าน การขายใบไถ่บาปติดไว้หน้ามหาวิหาร แห่งเมืองวิทเทนบูร์ก ญัตติ ของเขาได้รับการสนับสนุนอย่างกว้างขวางในเยอรมนี แต่ผู้นำ ของคริสตจักรได้ลงโทษเขา โดยประกาศให้เขาเป็นบุคคลนอก ศาสนา (การบัพพาชนียกร รม : EXCOMMUNICATION) แต่เจ้าชาย เฟรเดอริก (FRIEDERICK THE WISE) ผู้ครอง แคว้นแซกโซนีได้ให้ ความอุปถัมภ์เขาไว้ และให้เขาแปลคัมภีร์ไบเบิลเป็นภาษา เยอรมัน ทำ ให้ความรู้ด้านศาสนาแพร่หลายไปทั่ว นอกจากนี้เขา ได้ก่อตั้งนิกายลูเธอร์ (LUTHERANISM) ซึ่งได้แพร่ขยายไปทั่วเยอรมนีและสแกนดิเนเวียในสวิตเซอร์แลนด์ได้เกิด การปฏิรูปศาสนาเช่นกัน โดยเริ่มจากอุลริค ชวิงลี (ULRICH ZWINGLI : ค.ศ. 1484-1531) ชาวเยอรมัน ไฮริช บูลลิงเจอร์ (HEINRICH BULLINGER) และจอห์น คาลวิน หรือกัลแวง (JOHN CALVIN : ค.ศ. 1509-1564) ชาวฝรั่งเศส ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งลัทธิคาลวินส์ (นิกายกัล แวง : CALVINISM) ที่แพร่หลายในสวิตเซอร์แลนด์ ฝรั่งเศส และสกอตแลนด์ในอังกฤษ พระเจ้าเฮนรีที่ 8 ทรงขัดแย้งกับสันตะปาปา เรื่องการหย่าขาดกับพระมเหสี องค์เดิมของ พระองค์ คือ พระนางแคเธอรีนแห่งอารากอน (CATHERINE OF ARAGON) เพื่ออภิเษก สมรสใหม่ พระองค์จึงให้อังกฤษแยกตัวทางศาสนาออกจากศาสนจักรที่กรุงโรม โดยแต่งตั้ง สังฆราชแห่งแคนเทอร์บิวรี (ARCHBISHOP OF CANTERBURY) ขึ้นใหม่ ต่อมาใน ค.ศ. 1563 กษัตริย์ อังกฤษ (สมเด็จพระราชินีนาถ เอลิซาเบทที่ 1) ทรงประกาศตั้งนิกายอังกฤษ หรือนิกายแองกลิคัน (ANGLICAN CHURCH) โดยกษัตริย์อังกฤษเป็นประมุขของศาสนา นิกายนี้มีลักษณะเด่นคือ การ ยอมรับและรักษาพิธีกรรมต่างๆ ของนิกายโรมันคาทอลิก แต่ ไม่ยอมรับนับถือสันตะปาปาที่กรุงโรมในฝรั่งเศส ลัทธิคาลวินได้แพร่หลายในฝรั่งเศสในกลุ่ม ที่เรียกว่า พวกอูเกอโนต์ (HUGUENOT) ซึ่งถูกรัฐบาลปราบปรามอย่างหนักในคริสต์ศตวรรษ ที่ 16การปฏิรูปได้แพร่ขยายจากเยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อังกฤษ ฮอลแลนด์ และกลุ่ม สแกน- ดิเนเวีย ไปยังประเทศอื่นๆ ในยุโรป และมีการต่อต้านทุกแห่ง การต่อต้านอย่าง รุนแรงเกิดขึ้นใน ฝรั่งเศสและสเปน จนกลายเป็นสงครามศาสนานิกายทางศาสนาที่เกิดขึ้น ใหม่ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 นี้ คือ นิกายโปรเตสแตนต์ (PROTESTANTISM) ซึ่งหมายถึงผู้ คัดค้าน ซึ่งต่อมาได้แยกเป็นนิกายต่างๆ มากมาย เช่น นิกาย ลูเธอร์แรน นิกายรีฟอร์ม นิกายเพรสไบทีเรียน นิกายแองกลิคัน เป็นต้น การเริ่ม ริ่ ต้น ต้ การเริ่ม ริ่ ต้ ปฏิรู ฏิ รู ปศาสนา น ต้ การเริ่ม ริ่ ต้ ปฏิรู ฏิ รู ปศาสนา น ต้ ปฏิรู ฏิ รู ปศาสนา 3
เมื่อมีการปฏิรูปศาสนาในดินแดนต่างๆ นักบวชและชาวคริสต์บางคนได้รวมตัว กันต่อต้าน และปฏิรูปตนเอง รวมทั้งชักชวนให้คริสต์ศาสนิกชนอื่นๆ ทำ ตาม บาง ท่านมีผู้เลื่อมใสและยกย่อง ให้เป็นนักบุญ เช่น บริจิตต์แห่งสวีเดน (BRIGITT OF SWEDEN) ฟรังซีสแห่งปาโอลา (FRANCIS OF PAOLA) ในอิตาลี และพวก ปัญญาชนพยายามศึกษาเรื่องศาสนาและเผยแพร่สู่ประชาชน ซึ่งการ ปฏิรูปดัง กล่าวเป็นการปฏิรูปจากคริสต์ศาสนิกชนเบื้องล่าง แต่เมื่อการปฏิรูปศาสนาลุกลาม ไป อย่างรวดเร็ว คริสตจักรจึงได้หาทางยับยั้ง ดังนี้ 1. การประชุมสังคายนาแห่งเทรนต์ (COUNCIL OF TRENT) ในระหว่าง ค.ศ. 1545-1547 และ ค.ศ. 1562-1563 เพื่อกำ หนดระเบียบวินัยภายในคริสตจักร ยกเลิกการขายใบไถ่บาป และ ให้ใช้ภาษาพื้นเมืองในการสอนศาสนา 2. การปรับปรุงระเบียบวินัยของนักบวชและตั้งคณะนักบวชเพื่อการปฏิรูป เช่น คณะเยซูอิต ตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1534 เพื่อจัดตั้งโรงเรียนสอนศาสนาและเผยแผ่ ศาสนาไปยังประเทศ ต่างๆ การปฏิรูปศาสนาของคริสตจักรทำ ให้เกิดมิชชันนารี จำ นวนมาก เพื่อเผยแผ่คำ สอนของ โรมันคาทอลิกไปทั่วโลก กกาารรปปฏิฏิฏิรู ฏิ รู ฏิ รู ฏิ รูรู ป รู ปศศาาสสนนาา ขขอองงคคริริริส ริ ส ริ ริ ตตจัจัจักก จั จั จั รร 4
1. คริสตศาสนาแบ่งออกเป็น 2 นิกาย คือ โรมันคาทอลิก มี ศูนย์กลางที่กรุงโรม มี สันตะปาปาเป็นประมุข และนิกาย โปรเตสแตนต์ ซึ่งแยกเป็นนิกายต่างๆ ได้แก่ นิกายลูเธอร์แรน นิ กายคาลวิน นิกายแองกลิคัน เป็นต้น (ส่วนนิกายออร์ทอดอกซ์ แยก ตัวไม่ขึ้นกับสันตะปาปา ใน ค.ศ. 1045 โดยมีสังฆราช ที่เรียกว่า PATRIARCH เป็นประมุข ซึ่งแพร่หลายในกรีซ รัสเซีย เซอร์เบีย โรมาเนีย บัลแกเรีย) ทำ ให้ความเป็นเอกภาพทางศาสนาสิ้นสุดลง 2. เกิดการกระตุ้นให้ศึกษาหลักธรรมทางคริสต์ศาสนามากยิ่งขึ้นใน หมู่สามัญชน มีการ เผยแผ่คริสต์ศาสนาไปยังดินแดนต่างๆ 3. เกิดกระแสชาตินิยมในประเทศต่างๆ เนื่องจากนิกาย โปรเตสแตนต์ส่งเสริมวัฒนธรรม ท้องถิ่น และส่งเสริมให้อำ นาจแก่ผู้ ปกครองในท้องถิ่นเป็นตัวแทนของพระเจ้าในการปกครอง ประเทศ 4. เกิดสงครามศาสนาในยุโรปหลายครั้ง ส่งผลให้สถาบันกษัตริย์มีอำ นาจเหนือคริสตจักร ในที่สุด ผผลลขขอองงกกาารรปปฏิฏิฏิรู ฏิ รู ฏิ รู ฏิ รูรู ป รู ปกกาารรศศาาสสนนาา มีดั มี มีมีดั มี ดั มี งง ดั ดั ดั นี้นี้นี้ นี้ นี้ นี้ นี้ นี้นี้ 5
อ้อ้างอิง อิ อ้ อ้างอิง อิ อ้ างอิง อิ https://suphannigablog.wordpress.com/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B 9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88- 3/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8 %B4%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0% B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2/ 6
จัด จั ทำ โดย นายอลงกรณ์บางยิ้มยิ้เลขที่3 น.ส.จรรยาภรณ์มีแมีก้ว เลขที่14 น.ส.เมขลา พึ่งพึ่สลุดลุเลขที่23 น.ส.กันยาณีสวัสวัดิ์วดิ์งษ์ เลขที่32 เสนอ ครูนาฎอนงค์ เขียขีวพฤกษ์ ชั้นชั้มัธมัยมศึกษาปีที่ 6/4 โรงเรียรีนบางระกำ วิทวิยศึกษา สำ นักงานเขตพื้นพื้การศึกษามัธมัยมศึกษา พิษพิณุโลก อุตรดิตถ์ 7